แผนการ สอน อักษร 3 หมู่ ป. 3

แผนการ สอน อักษร 3 หมู่ ป. 3

ฟรีสื่อการเรียนการสอน ใบงานพยัญชนะไทย “อักษรสามหมู่”
ไตรยางศ์ หรืออักษรสามหมู่ คือ ระบบการจัดหมวดหมู่อักษรไทย เฉพาะรูปพยัญชนะตามลักษณะการผันวรรณยุกต์ เนื่องจากพยัญชนะไทย เมื่อกำกับด้วยวรรณยุกต์หนึ่งๆ แล้วจะมีเสียงวรรณยุกต์ที่แตกต่างกัน

พยัญชนะไทยแบ่งออกเป็น 3 หมู่มีระดับเสียง สูง กลาง ต่ำ เรียกว่า ไตรยางค์ ได้แก่

อักษรสูง

มี11 ตัว ได้แก่ ผ ฝ ถ ฐ ข ฃ ส ศ ษ ห ฉ หลักการท่องจำ คือ ผีฝากถุงข้าวสารให้ฉัน

อักษรกลาง

มี 9 ตัว ได้แก่ ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ หลักการท่องจำ คือ ไก่จิกเด็กตายบนปากโอ่ง

อักษรต่ำ

มี 24 ตัว แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ อักษรคู่ อักษรเดี่ยว

แผนการ สอน อักษร 3 หมู่ ป. 3

แผนการ สอน อักษร 3 หมู่ ป. 3

แผนการ สอน อักษร 3 หมู่ ป. 3

ดาวน์โหลดไฟล์คลิกที่นี่

ขอบคุณที่มาจาก ใบงานภาษาไทยพาสนุก

เว็บไซต์ ครูยุคใหม่ เป็นเว็บไซต์เกี่ยวกับครู นำเสนอข่าวสารทางการศึกษา สอบครูผู้ช่วย บทความทางการศึกษา งานราชการ เรียกบรรจุครู แจกข้อสอบ สื่อการสอน แผนการสอน ฟรีสื่อการเรียนการสอน ใบงาน ใบความรู้ แบบฝึกหัด สื่อการสอน ข้อสอบ ฟรีสื่อการเรียนการสอน รวมสื่อการสอน

3.3 คณุ ลักษณะอังพงึ ประสงค์ : Attitude (A) ซือ่ สัตย์สจุ ริต มวี นิ ยั ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่าง
พอเพียง ม่งุ มั่นในการทางาน รกั ความเป็นไทย มจี ิตสาธารณะ

6. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ :

การประเมิน วิธกี าร เครอื่ งมอื
- คาถาม
ด้านความรู้ (K) - การตอบคาถาม - แบบฝึกหัด
- แบบประเมินการอ่านในใจ
- ทาแบบฝึกหดั - แบบประเมินการอ่านออกเสียง
- แบบประเมินการคดั ลายมือ
ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ (P) - ทกั ษะการอา่ นในใจ - แบบสงั เกตพฤติกรรม

- ทกั ษะการอา่ นออกเสียง

- ทักษะการเขียน

ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรมและ - สงั เกตพฤติกรรมในการร่วม

คา่ นิยม (A) กิจกรรม การทางานกลุ่ม

7. สอื่ /แหล่งการเรยี นรู้ 2. ไม้เรียกชื่อ 3. หนงั สอื เรียนภาษาไทยชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3
7.1 สือ่ การเรยี นรู้ 5. รปู ภาพ 6. ตัวอย่างการเขียนจดหมายลาครู
1. แบบฝกึ หดั
4. คาถาม
7.บัตรคา

8. กจิ กรรมเสนอแนะ
................................................................................................................................................................................
................................................................................ ............................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ............................................ครผู ู้สอน ลงช่ือ...................................................ฝ่ายวชิ าการ

(...........................................................) (...........................................................)

ลงชือ่ ................................................... ผบู้ ริหาร
(...........................................................)

สปั ดาหท์ ่ี 4

โรงเรยี นขจรเกยี รตพิ ฒั นา
แผนการจัดการเรียนรู้

ภาคเรยี นท่ี 1/……………….. ชื่อผู้สอน ….………………………………………………..……...
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 3 จานวน 6 คาบ

เรอ่ื ง แตเ่ ด็กซื่อไว้

1. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวชีว้ ัด
มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรูแ้ ละความคดิ เพือ่ นาไปใชต้ ัดสนิ ใจ แก้ปัญหาในการ

ดาเนินชีวิตและมนี สิ ยั รกั การอา่ น
ตวั ชว้ี ัดท่ี ป 3/1 อ่านออกเสียงคา ข้อความ เรอ่ื งสัน้ ๆ และบทร้อยกรองง่าย ๆ ไดถ้ ูกตอ้ ง คล่องแคล่ว
ตวั ชี้วดั ท่ี ป 3/2 อธบิ าย ความหมายของคา และขอ้ ความที่อ่าน
มาตรฐานที่ ท 2.1 ใชก้ ระบวนการเขียนเขยี นสอื่ สาร เขยี นเรยี งความ ยอ่ ความ และเขียนเร่อื งราวใน

รูปแบบตา่ งๆ เขียนรายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสทิ ธิภาพ
ตัวชี้วดั ท่ี ป 3/1 คัดลายมอื ตวั บรรจงเตม็ บรรทัด
ตัวชี้วดั ท่ี ป 3/6 มมี ารยาทในการเขยี น

มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลยี่ นแปลงของภาษาและพลงั ของ
ภาษา ภมู ิปัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ขิ องชาติ

ตวั ชวี้ ดั ท่ี ป 3/1 เขยี นสะกดคาและบอกความหมายของคา
มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคดิ เห็น วจิ ารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคณุ คา่
และนามาประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตจรงิ
ตวั ช้วี ัดที่ ป 3/1 ระบขุ ้อคิดทีไ่ ด้จากการอา่ นวรรณกรรมเพ่ือนาไปใช้ในชวี ติ ประจาวัน
ตัวชี้วัดท่ี ป 3/3 แสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกับวรรณคดีท่ีอ่าน

2. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
การอ่านจับใจความสาคัญ คือ การอา่ นเพือ่ จับใจความหรอื ข้อคิด ความคิดสาคัญหลักของขอ้ ความ

หรือเร่ืองท่ีอ่าน การอา่ นจบั ใจความสาคญั ถอื เป็นทักษะสาคญั ทีใ่ ชใ้ นการอา่ นเพื่อการสอ่ื สารมากทีส่ ดุ เพราะ
เปน็ พน้ื ฐานสาคญั ในการศึกษาหาความรู้ จึงควรฝกึ ฝนให้เกดิ ความชานาญ

3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อธิบายความหมาย และหลักการอา่ นจับใจความสาคญั (K)
2. อธิบายวิธกี ารคดั ลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทดั (K)
3. อธิบายอักษร 3 หมู่ได้ (K)
4. อ่านเรอื่ งไดค้ ลอ่ งแคลว่ รวดเร็วและถูกตอ้ งตามอกั ขรวิธี (P)
5. แยกข้อเทจ็ จริงและขอ้ คิดเหน็ จากเรอื่ งท่อี า่ น (P)
6. คดั ลายมือไดถ้ ูกต้อง (P)
7. อา่ นและเขยี นอักษร 3 หมู่ได้ถกู ตอ้ ง (P)
8. เห็นความสาคัญของการอ่านมารยาทในการอ่านและ เห็นคุณค่าของวรรณคดีไทย (A)
9. มคี วามตั้งใจในการคัดลายมอื (A)
10. มีความตัง้ ใจและกระตอื รือรน้ และเห็นคุณคา่ ของการคัดลายมอื (A)

4. สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ท้องถ่นิ
สาระการเรียนรู้แกนกลาง พจิ ารณาตามหลักสูตรของสถานศกึ ษา

การอา่ นจบั ใจความกระตา่ ยไมต่ ื่นตูม การคัด
ลายมอื พยัญชนะและอกั ษรสามหมู่

5. กิจกรรมการเรียนรู้

คาบท่ี กิจกรรมการเรียนการสอน

คาบท่ี 1-2 ขั้นท่ี 1 ขัน้ รวบรวมขอ้ มลู

1.นักเรียนดแู ผนภมู เิ พลง “อ่านในใจ” แลว้ อ่านออกเสียงพรอ้ มกัน ร้องเปน็ เพลง

การอา่ นจบั ตามครู 1 เท่ียว แลว้ ให้นักเรยี นรอ้ งเอง 2 เท่ยี ว ครูและนกั เรยี นรว่ มกันสนทนาเก่ียวกบั

ใจความ กระตา่ ย เน้ือหาของเพลง โดยครูถามนาเพือ่ โยงเข้าสู่สาระการเรยี นรูแ้ ละกระตุ้นความสนใจของ

ไม่ต่นื ตมู ผเู้ รียนโดยครูถามคาถามดังน้ี

-การอ่านสรุปใจความคอื อะไร

-นักเรยี นใช้ทักษะอะไรบ้างในการอา่ นสรปุ ใจความ

-นักเรยี นจะนาหลกั การอ่านสรุปความไปใช้ในชวี ิตประจาวันได้อย่างไร

*ในการตอบคาถามใหค้ รใู ช้ไมเ้ รยี กเลขที่ เพอ่ื ใหน้ กั เรียนตอบทีละคน โดยถามคาถาม

กอ่ นจะเรยี กเลขที่เพื่อให้ทุกคนไดค้ ดิ ในแต่ละคาถามควรให้นกั เรยี นนาเสนอ 4-5 คน

2. นกั เรยี นศกึ ษาวธิ ีการอ่านจับใจความสาคัญจากใบความรู้ และสนทนาเกย่ี วกับการ

อ่านจบั ใจความสาคญั โดยครูใช้คาถามดังนี้

-การอ่านจบั ใจความสาคญั คืออะไร
*ในการตอบคาถามใหค้ รูใชไ้ ม้เรยี กเลขที่ เพือ่ ใหน้ ักเรียนตอบทีละคน โดยถามคาถาม
ก่อนจะเรยี กเลขที่เพื่อให้ทุกคนไดค้ ดิ ในแตล่ ะคาถามควรให้นักเรยี นนาเสนอ 4-5 ค
ข้นั ท่ี 2 ขั้นคิดวเิ คราะห์และสรุปความ
2. นักเรียนแบง่ กล่มุ ให้แตล่ ะกล่มุ อ่านในใจเรื่องกระต่ายไมต่ ืน่ ตมู จากหนงั สอื วรรณคดี
ลานาชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 3
โดยนาหลกั การอา่ นในใจมาใช้ ครสู งั เกตการอา่ นของนกั เรียนแต่ละคนว่าปฏิบตั ไิ ด้ถูกตอ้ ง
ตามหลกั การอา่ นหรอื ไม่
3. นกั เรียนแต่ละกลุ่มรว่ มกันสรปุ ใจความสาคัญของเรื่องกระต่ายไมต่ ืน่ ตมู
4.นักเรียนแตล่ ะกลุ่มคิดประเมนิ เพื่อเพม่ิ คุณค่าโดยครูใชค้ าถามดังต่อไปน้ี

-นักเรยี นสามารถนาสิ่งที่เรียนไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวติ ประจาวนั ไดอ้ ยา่ งไร
ขัน้ ท่ี 3 ขน้ั ปฏบิ ัตแิ ละสรปุ ความร้หู ลังการปฏิบตั ิ

5.นกั เรียนทากจิ กรรมการถามตอบจากเรื่องทศ่ี ึกษา
6.นักเรียนร่วมกันสรุปหลักการอ่านจบั ใจความดังน้ี

หลกั การจับใจความสาคัญ
1. ตัง้ จุดมงุ่ หมายในการอ่านใหช้ ัดเจน

2. อ่านเรอ่ื งราวอย่างครา่ วๆ พอเข้าใจ และเกบ็ ใจความสาคัญของแตล่ ะยอ่

หนา้

3. เม่อื อา่ นจบให้ต้ังคาถามตนเองว่า เรื่องท่อี า่ น มีใคร ทาอะไร ท่ีไหน

เม่ือไหร่ อย่างไร

4. นาส่งิ ที่สรปุ ไดม้ าเรียบเรียงใจความสาคัญใหมด่ ้วยสานวนของตนเอง

เพ่ือให้เกดิ ความสละสลวย

ข้นั ที่ 4 ขัน้ สื่อสารและนาเสนอ
7. แตล่ ะกลุ่มออกมานาเสนอผลของการทากิจกรรม การระดมสมองใหเ้ พอื่ นฟัง โดย

ใชว้ ธิ จี ับสลาก
*ขณะทีน่ กั เรียนนาเสนอ ครูพยายามสังเกตพฤตกิ รรมท้ังของผฟู้ งั และผู้

นาเสนอ เพ่ือเกบ็ ไปเปน็ ข้อมลู ในการพฒั นาปรับปรงุ ตอ่ ไป
พฤติกรรมทนี่ าไปเปน็ เงอ่ื นไขพฒั นา เชน่
- มารยาทในการพูดและฟงั
- ความสนใจ ให้เกียรติ
- การซักถาม เสนอแนวคิดแยง้ หรือคล้อยตามอยา่ งมีเหตผุ ล
- การใช้ทักษะทางภาษาเพ่ือการส่ือสาร

คาบท่ี 3-4 8. เปิดโอกาสให้นักเรยี นแสดงความคิดเหน็ วิพากษ์วิจารณ์ผลงานของเพอื่ น ลกั ษณะ
การนาเสนอของเพือ่ น อยา่ งอิสระ นาจดุ เดน่ จุดดอ้ ย จดุ ควรพฒั นา ส่งิ ท่เี หมือนกัน และ
การเขียนคัด แตกต่างกนั ของแตล่ ะกลมุ่ มาแสดงให้นกั เรยี นเห็นถึงความหลากหลายของความคิด ซ่งึ
ลายมือ ขน้ึ อยกู่ บั เหตุผล
ขั้นที่ 5 ขน้ั ประเมินเพ่ือเพม่ิ คณุ ค่าบรกิ ารสงั คมและจิตสาธารณะ

9. นักเรียนชว่ ยกนั สรปุ บทเรียน ครสู รุปเพมิ่ เติมด้วยการสุ่มถามนกั เรียนบางคน เพือ่
เปน็ การประเมนิ ความเขา้ ใจไปในตัวด้วย

10.นักเรียนนาความรู้เรื่อง การอา่ นจับใจความ ทีไ่ ดเ้ รียนรไู้ ปใช้เพ่อื การฝกึ ทกั ษะ
การอา่ นสอื่ สารและแนะนาเพือ่ นๆ นอ้ ง ๆ หรอื คนใกลช้ ิด
ขน้ั ท่ี 1 ขัน้ รวบรวมขอ้ มลู

1. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกย่ี วกับข้อควรปฏิบัติในการคัดลายมือให้

เขา้ ใจและครนู าแบบตวั อักษรและบตั รคาท่ีถกู ต้องตดิ บนกระดานดา

นักเรียนอา่ นออกเสียงแบบอักษรและคาบนกระดานพร้อมๆ กัน

2. นักเรียนรว่ มกันสนทนา โดยครูใช้คาถามดังนี้

- การเขียนตวั พยัญชนะท่ีมหี ัว เร่ิมตน้ เขียนอย่างไร

- ถ้าตวั พยัญชนะทไ่ี ม่มหี ัว เชน่ ก ธ เร่ิมต้นเขียนอยา่ งไร

ขัน้ ที่ 2 ขั้นคดิ วิเคราะห์และสรุปความ
3.ครนู าแบบการคัดลายมือ มาให้นักเรียนรว่ มกันวิเคราะห์ แล้วสนทนาโดยครูถาม

คาถามดงั นี้
-การคดั ลายมือท้งั สองแบบแตกต่างกันอยา่ งไร
-จากการอ่านขอ้ ความทงั้ สองแบบนกั เรยี นคดิ ว่าแบบใดท่ีอา่ นไดง้ ่าย และ

เขา้ ใจสิ่งทสี่ ื่อสารได้เรว็
4.นกั เรียนเข้ากลมุ่ ทากจิ กรรมการจาแนกรปู แบบการคดั ลายมอื แตล่ ะประเภทภายใน

เวลาที่กาหนด จากน้ันครูและนกั เรียนช่วยกนั ตรวจสอบความถูกต้อง
5.นักเรียนคดิ ประเมินเพือ่ เพิม่ คณุ ค่าโดยครูถามคาถามดงั นี้
-การเรียนรู้เกีย่ วกับเรื่องการคัดลายมอื มีประโยชน์ในการสอื่ สารอย่างไร
-นกั เรียนสามารถนาสงิ่ ที่เรียนไปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาวันอยา่ งไร

ขั้นที่ 3 ข้ันปฏบิ ตั แิ ละสรปุ ความรู้หลงั การปฏบิ ตั ิ
6.นกั เรยี นฝกึ คดั ลายมอื ตัวบรรจงเตม็ บรรทัด
7.นกั เรียนร่วมกันสรุปประโยชน์ของการคัดลายมอื และคุณครอู ธิบายเพม่ิ เตมิ ดงั น้ี
การคัดลายมือ นอกจากเพื่อความสวยงาม ความเปน็ ระเบียบเรียบร้อยแลว้
ยังช่วยในการฝกึ สมาธไิ ดเ้ ปน็ อย่างดี และทส่ี าคญั ยังเปน็ การช่วยอนรุ ักษม์ รดกทาง

คาบท่ี 5-6 วัฒนธรรมไทยใหค้ งไวด้ ้วย
ขนั้ ที่ 4 ขนั้ ส่อื สารและนาเสนอ
พยัญชนะและ
อกั ษรสามหมู่ 8.นกั เรียนนาเสนอผลการคัดลายมือโดยการจัดป้ายนเิ ทศแสดงผลงานของแต่ละคน
ขั้นท่ี 5 ขน้ั ประเมนิ เพอ่ื เพ่มิ คุณค่าบริการสงั คมและจติ สาธารณะ

9.นกั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเหน็ โดยครูใชค้ าถามดังนี้
- นักเรียนสามารถนาความรเู้ กี่ยวกับเร่ืองท่ีเรียนไปใช้ประโยชน์ในสังคมได้
อยา่ งไร

ขน้ั ที่ 1 ขั้นรวบรวมขอ้ มลู
1. นกั เรียนอา่ นและสังเกตบทกลอนตอ่ ไปน้ี

ไตรเอ๋ยไตรยางศ์ อกั ษรกลางมีเกา้ ตวั
อกั ษรสูงนบั ถว้ นทวั่ สิบเอด็ ตวั ครบพอดี
เด็กเดก็ จ๋าจงจดจา อกั ษรต่ายสี่ ิบส่ี
รวมสามหมู่ใหเ้ ขา้ ท่ี สี่สิบส่ีพยญั ชนะเอย

หลงั จากนัน้ ครูถามนาเพ่ือโยงเขา้ สสู่ าระการเรียนรแู้ ละกระตนุ้ ความสนใจผู้เรยี น โดย
ครูใชค้ าถามดังนี้

- นักเรยี นเคยได้ยนิ คาวา่ ไตรยางคห์ รืออกั ษรสามหมู่หรอื ไม่ แล้วสงิ่ น้นั คือ
อะไร

- นักเรียนใชห้ ลักเกณฑ์อะไรในการแบ่งหมวดหมขู่ องไตรยางศ์ หรอื อักษร
สามหมู่
ขนั้ ที่ 2 ขน้ั คิดวเิ คราะหแ์ ละสรปุ ความ

2. นกั เรียนเข้ากลมุ่ อ่านสานวนต่อไปน้ี ไก่งามเพราะขนคนงานเพราะแตง่ แล้วให้

นกั เรียนแยกคาแลว้ ร่วมกนั

สนทนาโดยครใู ชค้ าถามดังนี้
-นกั เรยี นใชเ้ กณฑ์อะไรในการแบง่ คา

3. นกั เรียนคิดประเมินเพอ่ื เพ่ิมคณุ ค่าโดยครูใช้คาถามดังน้ี

- ทาไมเราต้องเรียนเร่ืองพยญั ชนะและอกั ษรสามหมู่
- นักเรียนสามารถนาสงิ่ ทเ่ี รียนไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจาวันได้อยา่ งไร
ขั้นท่ี 3 ขั้นปฏิบตั แิ ละสรปุ ความรู้หลังปฏิบัติ
4. นกั เรยี นเลน่ เกมอักษรสามหมู่ ครูติดบตั รคาบนกระดานทลี ะคา (คาจาก

แบบฝึกหดั ) แลว้ ใชไ้ ม้เรียกเลขท่ีเรียก

นักเรียนตอบคาถาม
5. นักเรียนรว่ มกนั สรุปเร่ืองที่เรยี นดงั นี้

ไตรยางค์ หรือ อกั ษรสามหมู่ คือ การแบ่งพยญั ชนะไทยท้ัง 44 ตัว ออกเปน็
3 สว่ น ซงึ่ เรยี กว่า “ อักษรสาม
หมู่” โดยอกั ษรสามหมู่ประกอบดว้ ย อกั ษรสงู อักษรกลาง และอักษรต่า

อกั ษรสงู มี 11 ตัว คือ ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ส ษ ห
อักษรกลาง มี 9 ตวั คือ ก จ ด ต ฎ ฏ บ ป อ
อักษรต่า มี 24 ตัว คอื ค ฅ ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ น พ ฟ ภ ม ย ร ล
วฬฮ
ขน้ั ที่ 4 ข้ันสอื่ สารและนาเสนอ
6. นกั เรียนนาเสนอเกี่ยวกับคาไตรยางค์ โดยให้ยกตัวอย่างคาท่ีเปน็ อักษรกลาง

อักษรสงู และอักษรตา่ ในการ

นาเสนอให้ใช้ไม้เรียกเลขที่
ขนั้ ท่ี 5 ขน้ั ประเมินเพื่อเพิม่ พูนคณุ ค่าบริการสังคมและจิตสาธารณะ

7. นักเรียนร่วมกันแสดงความคดิ เห็น โดยครใู ชค้ าถามดงั น้ี
- นักเรียนสามารถนาความรู้เก่ียวกับเรอ่ื งที่เรียนไปใช้ประโยชน์ในสังคมได้
อยา่ งไร

3.3 คุณลักษณะองั พึงประสงค์ : Attitude (A) ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อยา่ ง
พอเพยี ง มุ่งม่นั ในการทางาน รกั ความเป็นไทย มจี ิตสาธารณะ

6. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ :

การประเมนิ วธิ ีการ เครอื่ งมือ
- คาถาม
ด้านความรู้ (K) - การตอบคาถาม - แบบฝกึ หดั
- แบบประเมนิ การอ่าน
- ทาแบบฝึกหัด - แบบฝกึ หดั
- แบบสงั เกตพฤติกรรม
ด้านทกั ษะและกระบวนการ (P) - ทักษะการอา่ น

- ทักษะการเขียน

ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและ - สังเกตพฤตกิ รรมในการร่วม

คา่ นยิ ม (A) กิจกรรม การทางานกลมุ่

7. สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้

7.1 สื่อการเรียนรู้

1. แบบฝกึ หดั 2. ไม้เรยี กชอ่ื 3. หนังสอื เรยี นภาษาไทยชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 3
6. ตัวอยา่ งการเขยี นประโยคจากภาพ
4. คาถาม 5. รูปภาพ

7.ตวั อยา่ งการคัดไทย 8.เกม

8. กจิ กรรมเสนอแนะ
................................................................................................................................................................................
................................................................................ ............................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

ลงชือ่ ............................................ครผู ูส้ อน ลงชื่อ...................................................ฝ่ายวชิ าการ

(...........................................................) (...........................................................)

ลงชอ่ื ................................................... ผบู้ ริหาร
(...........................................................)

สัปดาห์ท่ี 5

โรงเรยี นขจรเกยี รตพิ ัฒนา
แผนการจัดการเรยี นรู้

ภาคเรยี นท่ี 1/……………….. ชอ่ื ผสู้ อน ….………………………………………………..……...
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 3 จานวน 6 คาบ
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3 เร่อื ง ปา่ น้มี คี ณุ

1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชีว้ ัด
มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพอ่ื นาไปใช้ตดั สนิ ใจ แกป้ ญั หาในการ

ดาเนนิ ชีวิตและมีนสิ ยั รกั การอ่าน
ตัวชว้ี ัดที่ ป 3/1 อา่ นออกเสียงคา ขอ้ ความ เร่ืองส้ัน ๆ และบทร้อยกรองงา่ ย ๆ ได้ถูกตอ้ ง คล่องแคลว่
ตวั ชี้วัดที่ ป 3/2 อธบิ าย ความหมายของคา และข้อความท่อี ่าน
ตัวช้วี ัดท่ี ป 3/3 ตง้ั คาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผล เกีย่ วกบั เรื่องที่อ่าน
ตัวช้วี ัดท่ี ป 3/4 ลาดับเหตกุ ารณแ์ ละคาดคะเนเหตกุ ารณจ์ ากเรือ่ งที่อา่ นโดยระบเุ หตุผลประกอบ
ตวั ชว้ี ัดที่ ป 3/5 สรุปความรู้และขอ้ คิดจากเร่ืองที่อ่านเพอื่ นาไปใชใ้ นชีวิตประจาวัน
ตัวช้ีวัดที่ ป 3/9 มีมารยาทในการอา่ น
มาตรฐานท่ี ท 2.1 ใช้กระบวนการเขยี นเขยี นสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอ่ ความ และเขียนเร่อื งราวใน

รปู แบบตา่ งๆ เขยี นรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ คว้าอย่างมีประสทิ ธภิ าพ
ตัวชีว้ ดั ที่ ป 3/3 เขียนบนั ทึกประจาวนั
ตัวชวี้ ัดท่ี ป 3/6 มมี ารยาทในการเขียน

มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลย่ี นแปลงของภาษาและพลังของ
ภาษา ภูมปิ ญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบตั ขิ องชาติ

ตัวช้ีวัดที่ ป 3/1 เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา

2. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด
การอา่ นจับใจความสาคญั คือ การอ่านเพือ่ จับใจความหรอื ขอ้ คิด ความคิดสาคัญหลักของข้อความ

หรอื เร่อื งที่อา่ น การอ่านจบั ใจความสาคัญ ถือเป็นทกั ษะสาคญั ท่ีใช้ในการอา่ นเพอื่ การสื่อสารมากทส่ี ุด เพราะ
เปน็ พ้ืนฐานสาคญั ในการศึกษาหาความรู้ จงึ ควรฝกึ ฝนให้เกดิ ความชานาญ

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. อธิบายความหมาย และหลักการอา่ นจับใจความสาคัญ (K)

2. อธิบายหลักการเขยี นบันทึกประจาวัน (K)
3. อธบิ ายความหมายของคาได(้ K)
4. อา่ นเรือ่ งไดค้ ล่องแคล่ว รวดเรว็ และถูกตอ้ งตามอกั ขรวิธี (P)
5. แยกข้อเท็จจริงและขอ้ คิดเห็นจากเรือ่ งที่อ่าน (P)
6. เขียนบันทกึ ประจาวัน (P)
7. นาคาไปใชไ้ ดถ้ ูกต้องตรงความหมาย (P)
8. เห็นความสาคญั ของการอ่านและมารยาทในการอ่าน (A)
9. มีความสนใจในการเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ (A)
10. มีความตัง้ ใจในการพูดและเขียน (A)

4. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถิน่
สาระการเรียนรแู้ กนกลาง พิจารณาตามหลักสตู รของสถานศึกษา

การอา่ นจบั ใจความปา่ นม้ี ีคณุ การเขยี นบนั ทึก
ประจาวนั ความหมายของคา

5. กิจกรรมการเรยี นรู้

คาบท่ี กจิ กรรมการเรียนการสอน

คาบที่ 1-2 ขั้นท่ี 1 ขัน้ รวบรวมข้อมลู

ขนั้ ที่ 1 ขั้นรวบรวมขอ้ มลู

การอา่ นจบั 1.นกั เรียนทบทวนเก่ยี วกับการอา่ นสรปุ ใจความ โดยใชค้ าถามดังต่อไปนี้

ใจความป่านีม้ ี - การอ่านสรุปใจความคอื อะไร

คุณ - นกั เรียนใช้ทกั ษะอะไรบา้ งในการอ่านสรปุ ใจความ

*ในการตอบคาถามให้ครใู ช้ไมเ้ รียกเลขท่ี เพ่ือให้นักเรยี นตอบทีละคน โดย

ถามคาถามกอ่ นจะเรยี กเลขที่

เพอื่ ใหท้ กุ คนได้คิด ในแตล่ ะคาถามควรให้นักเรยี นนาเสนอ 4-5 คน

2.นักเรียนอา่ นในใจเรอื่ งป่าน้ีมีคณุ ก่อน 1 รอบ โดยให้เวลานักเรยี นในการอ่าน 10 -15

นาที (เวลาอาจเปลี่ยนแปลงไดต้ ามความเหมาะสมเพราะนกั เรียนบางคนอ่านเร็วบางคนอ่าน

ช้า)

คาบท่ี 3-4 ขั้นท่ี 2 ขั้นคิดวเิ คราะหแ์ ละสรุปความ
3.นกั เรียนร่วมกนั สนทนาเกี่ยวกับส่งิ ท่ีอ่านโดยใช้คาถามดังนี้
การเขยี นบนั ทกึ - ตัวละครในเรอ่ื งมใี ครบา้ ง มีเหตกุ ารณ์อะไรเกิดขึน้ บา้ ง
ประจาวนั
- เหตกุ ารณ์ท่ีเกดิ ข้นึ เกิดที่ใด เมื่อไหร่

- นกั เรียนรสู้ กึ อย่างไรกับเรอื่ งทอ่ี ่าน
4.นักเรียนแตล่ ะกลุม่ คดิ ประเมินเพ่อื เพ่มิ คุณค่าโดยครใู ช้คาถามดงั ตอ่ ไปน้ี

- นกั เรียนสามารถนาความรู้ไปใชใ้ นชีวิตประจาวันได้อย่างไร

ขน้ั ท่ี 3 ขั้นปฏิบตั แิ ละสรปุ ความร้หู ลังการปฏิบตั ิ
5. นักเรยี นเขา้ กล่มุ ทากิจกรรมแยกขอ้ คิดจากเร่ืองทอี่ ่าน
6. นกั เรยี นรว่ มกนั สรปุ เกยี่ วกบั ข้อคดิ

ขั้นท่ี 4 ขัน้ ส่ือสารและนาเสนอ
7. สมุ่ ตวั แทนออกมานาเสนอขอ้ เท็จจริงหนา้ ชั้นเรียน โดยใชไ้ ม้เรียกเลขทเ่ี พ่ือเป็น

การทบทวนสิง่ ที่เรยี น
ขั้นที่ 5 ข้ันประเมนิ เพ่อื เพิม่ คุณค่าบรกิ ารสังคมและจิตสาธารณะ

8.นกั เรียนรว่ มกันแสดงความคิดเหน็ โดยครูใช้คาถามดงั น้ี
-นักเรียนสามารถนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์ในสงั คมไดอ้ ยา่ งไร

ขั้นที่ 1 ขั้นรวบรวมข้อมลู
1.นกั เรียนร่วมกันแสดงความคดิ เหน็ โดยครูใช้คาถามดงั นี้
- นักเรียนจะจาเหตุการณ์ในแต่ละวันได้อยา่ งไร
- นักเรียนจาเหตุการณ์ท่เี กิดขน้ึ ในแต่ละวนั ได้ครบหรือไม่ เพราะอะไร
*ในการตอบคาถามให้ครใู ช้ไม้เรียกเลขที่ เพือ่ ใหน้ กั เรยี นตอบทีละคน โดย
ถามคาถามกอ่ นจะเรียกเลขที่เพอ่ื ให้ทกุ คนไดค้ ิด ในแต่ละคาถามควรให้นักเรียน
นาเสนอ 4-5 คน
2.นกั เรียนศึกษาเรื่องการเขียนบันทึกประจาวัน

ข้ันท่ี 2 ขั้นคิดวิเคราะห์และสรุปความ
3.นักเรียนศกึ ษาตวั อย่างการเขียนบนั ทึกประจาวัน แลว้ ร่วมกันวิเคราะห์โดย
ครูใชค้ าถามดังน้ี
-บนั ทึกประจาวันท่ีนกั เรียนอา่ นเปน็ ของใคร
-จากบันทึกประจาวันท่ีอา่ นบันทึกเกยี่ วกับเรื่องราวอะไรบา้ ง
-บันทึกประจาวนั มีประโยชน์อยา่ งไรกับผู้บนั ทึก
4. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มคิดประมูลเพ่ือเพิ่มคุณค่าโดยครใู ชค้ าถามดังต่อไปน้ี

คาบท่ี 5 - นกั เรียนสามารถนาความรู้ท่ีได้รบั ไปใช้ในชีวิตประจาวนั ได้อยา่ งไร
* ในการตอบคาถามให้ครใู ช้ไม้เรยี กเลขที่ เพอ่ื ให้นกั เรยี นตอบทลี ะคน โดยถาม
ความหมาย คาถามก่อนจะ
ของคา เรียกเลขท่เี พ่ือให้ทุกคนได้คิด
ขั้นที่ 3 ข้ันปฏิบัติและสรุปความรู้หลังปฏิบัติ
5.นกั เรียนทากจิ กรรมฝึกเขียนบนั ทึกประจาวนั
6.นกั เรียนและครรู ว่ มกันสรุปความรู้ ดงั น้ี

*การเขียนบันทึกประจาวันเป็นการเขียนเร่ืองราวหรอื เหตุการณ์ตา่ งๆ
ที่เกิดขึน้ กับตนเองในแต่ละวนั ซึ่งอาจจะเปน็ เรื่องใดเร่ืองหน่ึงทีป่ ระทับใจ
แล้วนามาเขียนบนั ทึกเพ่ือเตือนความจาหรือเก็บไว้เป็นความทรงจา
ขั้นที่ 4 ข้ันส่ือสารและการนาเสนอ
7.นักเรียนนาเสนอการเขียนบนั ทกึ ประจาวันหนา้ ชั้นเรยี น โดยครูใชไ้ ม้เรียกเลขท่ี
เรียกนกั เรยี นออกมานาเสนอเปน็ ตัวอยา่ งหน้าชน้ั เรียนประมาณ 4-5 คน
ขั้นท่ี 5 ข้ันประเมินผลเพ่ือคุณค่าบริการสังคมละจิตสาธารณะ
8.นกั เรียนรว่ มกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามดงั นี้

- นักเรียนสามารถนาความรเู้ กยี่ วกบั เร่ืองทีเ่ รียนไปใชป้ ระโยชนใ์ นสังคมได้
อยา่ งไร
ข้นั ท่ี 1 ขั้นรวบรวมข้อมลู
1. นักเรยี นร่วมกนั อ่านคาจากบัตรคาทค่ี รูเตรยี มมา

บุญคุณ ริหรี่ สูญสิ้น บนั ดาล

สญั ญาณ มหึมา อนุรักษ์ โขยกเขยก

ศึกษา ปัญญา ฉุกเฉิน ถิ่นฐาน

2. ครูถามนาเพ่อื โยงเข้าสู่สาระการเรียนรู้และกระตุ้นความสนใจผู้เรียน โดยครถู าม
คาถามดังน้ี
- นักเรยี นเคยเขียนหรืออ่านคาดังกล่าวหรือไม่
- นักเรยี นรูค้ วามหมายของคาทุกคาท่อี ่านหรอื ไม่
- หากนกั เรียนไมร่ ้คู วามหมายของคาควรทาอย่างไร เพราะเหตใุ ด

ขน้ั ท่ี 2 ข้นั คิดวิเคราะหแ์ ละสรุปความ
3. นักเรยี นแบง่ กลมุ่ ศกึ ษาและสนทนาเกีย่ วกับเร่ืองความหมายของคารว่ มกนั
หลงั จากน้นั สรปุ ความรคู้ วามเขา้ ใจในเรอ่ื งทีศ่ ึกษาออกมาเป็นภาษาท่ีสมาชกิ กล่มุ
เข้าใจง่ายตามแบบฉบับของกลุม่ ตนเอง (ทงั้ นี้อาจจะสรปุ ออกมาในรปู แบบของ
แผนผังมโนทัศนเ์ พราะจะทาให้เข้าใจง่าย เกิดการจดจาและสามารถตกแตง่ ให้
ผลงานออกมาอย่างสวยงาม สรา้ งสรรค์)
4. นกั เรียนคิดประเมินเพือ่ เพิ่มคณุ คา่ โดยครูถามคาถามดังน้ี
- ทาไมเราต้องเรยี นเรื่องความหมายของคา
- นักเรยี นสามารถนาสิ่งทีเ่ รยี นไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ประจาวันไดอ้ ยา่ งไร

ขน้ั ที่ 3 ข้ันปฏบิ ัติและสรปุ ความรู้หลังปฏิบัติ
5. นักเรียนทากจิ กรรมหาความหมายของคา โดยครูตดิ บตั รคาบนกระดานดา แล้ว
ให้นกั เรียนแขง่ ขนั เปิดหาความหมายของคาจากพจนานกุ รมกล่มุ ไหนหาไดก้ อ่ น
ใหย้ กมือและออกมานาเสนอหนา้ ช้ันเรียน
6. นักเรยี นร่วมกันสรปุ ความหมายของคา ครอู ธบิ ายเพิ่มเตมิ ดังนี้
*คาหมายถึงเสียงที่เปล่งออกมาครั้งหนึง่ ๆ เสียงพดู หรือลายลกั ษณอ์ ักษรท่ี

เขยี นหรือพิมพข์ ้ึนเพอื่ แสดงความคิด โดยปรกติถือว่าเปน็ หนว่ ยท่ีเลก็ ที่สดุ ซึ่งมี

ความหมายในตัว ดงั นั้นการรู้ความหมายของคาจะช่วยให้สามารถเขา้ ใจสง่ิ ท่จี ะ

สื่อสารหรือการรับสารซ่งึ ถือเปน็ ส่ิงสาคญั ในการเรยี นรใู้ นทุกภาษา

7. นักเรียนทาแบบฝกึ หดั เร่อื งความหมายของคา
ขน้ั ท่ี 4 ขั้นสือ่ สารและนาเสนอ

8.นักเรียนนาเสนอประโยชน์ของการรคู้ วามหมายของคาหนา้ ช้ันเรียน โดยครใู ชไ้ ม้
เรยี กเลขที่ เรียกนักเรยี นออกมานาเสนอหน้าชนั้ เรียนประมาณ 4-5 คน
ขั้นที่ 5 ข้นั ประเมินเพอ่ื เพ่มิ พูนคณุ ค่าบริการสงั คมและจิตสาธารณะ

9.นกั เรียนรว่ มกันแสดงความคดิ เหน็ โดยครูใชค้ าถามดงั น้ี
- นักเรียนสามารถนาความรู้เกย่ี วกับเร่อื งที่เรียนไปใชป้ ระโยชน์ในสงั คมได้

อยา่ งไร
3.3 คณุ ลกั ษณะองั พึงประสงค์ : Attitude (A) ซ่อื สัตยส์ ุจริต มวี ินยั ใฝ่เรียนรู้ อย่อู ย่าง
พอเพยี ง มงุ่ มัน่ ในการทางานรักความเป็นไทย มจี ติ สาธารณะ

6. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ :

การประเมนิ วิธีการ เครอื่ งมือ
- คาถาม
ด้านความรู้ (K) - การตอบคาถาม - แบบฝกึ หดั
- แบบประเมนิ การอ่าน
- ทาแบบฝกึ หัด - บันทกึ ประจาวัน
- แบบสังเกตพฤตกิ รรม
ด้านทักษะและกระบวนการ (P) - ทกั ษะการอ่าน

- ทกั ษะการเขยี น

ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรมและ - สังเกตพฤตกิ รรมในการร่วม

ค่านยิ ม (A) กิจกรรม การทางานกลมุ่

7. ส่ือ/แหลง่ การเรียนรู้ 2. ไม้เรยี กชื่อ 3. หนงั สือเรยี นภาษาไทยช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 3
7.1 ส่อื การเรยี นรู้ 5. รปู ภาพ 6. ตัวอยา่ งการเขียนบันทึกประจาวนั
1. แบบฝึกหดั
4. คาถาม
7. พจนานุกรม

8. กิจกรรมเสนอแนะ
................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...............................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ............................................ครูผ้สู อน ลงชอื่ ...................................................ฝ่ายวชิ าการ

(...........................................................) (...........................................................)

ลงชอ่ื ................................................... ผูบ้ ริหาร
(...........................................................)

สปั ดาห์ท่ี 6

โรงเรียนขจรเกยี รตพิ ฒั นา
แผนการจดั การเรียนรู้

ภาคเรียนท่ี 1/……………….. ชือ่ ผู้สอน ….………………………………………………..……...
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 3 จานวน 6 คาบ
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3 เรื่อง ป่านีม้ คี ุณ

1. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตวั ช้ีวัด
มาตรฐาน ท 1.1 ใชก้ ระบวนการอ่านสรา้ งความรู้และความคดิ เพื่อนาไปใชต้ ดั สนิ ใจ แก้ปญั หาในการ

ดาเนินชีวิตและมนี สิ ยั รกั การอ่าน
ตัวช้ีวัดที่ ป 3/1 อ่านออกเสยี งคา ขอ้ ความ เร่ืองสน้ั ๆ และบทรอ้ ยกรองง่าย ๆ ได้ถูกตอ้ ง คล่องแคล่ว
ตวั ชี้วดั ที่ ป 3/2 อธิบาย ความหมายของคา และข้อความที่อา่ น
ตวั ชี้วัดท่ี ป 3/9 มมี ารยาทในการอ่าน
มาตรฐานท่ี ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียนเขียนสอื่ สาร เขยี นเรยี งความ ยอ่ ความ และเขยี นเรื่องราวใน

รูปแบบต่างๆ เขยี นรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นควา้ อย่างมปี ระสิทธิภาพ
ตัวชว้ี ัดที่ ป 3/2 เขียนบรรยายเก่ยี วกับสง่ิ ใดสง่ิ หนง่ึ ได้อยา่ งชัดเจน
ตัวชว้ี ดั ท่ี ป 3/6 มีมารยาทในการเขียน

มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษาและพลงั ของ
ภาษา ภมู ิปญั ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัตขิ องชาติ

ตัวชว้ี ัดท่ี ป 3/1 เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา
มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น พิจารณาวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณคา่
และนามาประยกุ ต์ใช้ในชีวติ จรงิ

ตัวชีว้ ดั ที่ ป 3/1 ระบุขอ้ คิดทีไ่ ดจ้ ากการอ่านวรรณกรรมเพื่อนาไปใช้ในชีวติ ประจาวนั
ตัวชี้วดั ที่ ป 3/3 แสดงความ คดิ เห็นเก่ยี วกบั วรรณคดที อ่ี ่าน

2. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด
การอ่านจบั ใจความสาคัญ คือ การอ่านเพอ่ื จับใจความหรอื ขอ้ คดิ ความคิดสาคัญหลักของข้อความ

หรอื เรือ่ งทอี่ า่ น การอ่านจบั ใจความสาคญั ถือเปน็ ทกั ษะสาคญั ท่ีใชใ้ นการอา่ นเพอื่ การส่ือสารมากที่สดุ เพราะ
เป็นพ้นื ฐานสาคัญในการศึกษาหาความรู้ จงึ ควรฝึกฝนใหเ้ กิดความชานาญ

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้

1. อธิบายความหมาย และหลกั การอา่ นจบั ใจความสาคญั (K)

2. รแู้ ละเข้าใจหลักการเขียนเรียงความ (K)

3. บอกความหมายของวรรณยุกต์ (K)

4. อ่านเร่ืองได้คลอ่ งแคล่ว รวดเร็วและถกู ตอ้ งตามอักขรวิธี (P)

5. แยกขอ้ เท็จจรงิ และขอ้ คดิ เห็นจากเรอ่ื งท่ีอ่าน (P)

6. เขียนเรียงความได้ถกู ต้อง(P)

7. จาแนกรูปวรรณยุกต์ และเสียงวรรณยกุ ตไ์ ด้ (P)

8. เห็นความสาคญั ของการอ่านมารยาทในการอ่านและ เห็นคณุ ค่าของวรรณคดีไทย (A)

9. กระตือรือร้นในการเขา้ ร่วมกิจกรรมการเขียนเรียงความ (A)

10. กระตอื รอื ร้นในการร่วมกิจกรรม (A)

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรทู้ ้องถิน่

การอา่ นจับใจความแม่ไกอ่ ยใู่ นตะกรา้ การเขยี น พิจารณาตามหลกั สูตรของสถานศกึ ษา

เรียงความ วรรณยกุ ต์

5. กิจกรรมการเรยี นรู้

คาบท่ี กจิ กรรมการเรยี นการสอน

คาบท่ี 1-2 ขัน้ ท่ี 1 ข้นั รวบรวมขอ้ มลู

1.นกั เรียนทบทวนเก่ียวกบั การอา่ นสรปุ ใจความ โดยใชค้ าถามดงั ตอ่ ไปนี้

การอ่านจบั - การอา่ นสรุปใจความคืออะไร

ใจความแม่ไก่อยู่ - นักเรียนใชท้ ักษะอะไรบา้ งในการอ่านสรปุ ใจความ

ในตะกรา้ 2.นักเรียนเขา้ กลมุ่ และอ่านในใจเรื่อง แม่ไกอ่ ยู่ในตะกรา้ จากหนงั สือวรรณคดีลานาช้ัน

ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 โดยนาหลักการอ่านในใจมาใช้ ครูสังเกตการอ่านของนักเรียนแตล่ ะคน

ว่าปฏิบัตไิ ด้ถกู ตอ้ งตามหลกั การอ่านหรือไม่

ขั้นท่ี 2 ขนั้ คิดวเิ คราะหแ์ ละสรปุ ความ

3.นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปใจความสาคญั ของเร่ืองแม่ไกอ่ ยู่ในตะกรา้

4.นกั เรียนแต่ละกลุ่มคิดประเมินเพื่อเพม่ิ คุณค่าโดยครูใช้คาถามดงั ต่อไปน้ี

-นักเรยี นสามารถนาสงิ่ ท่ีเรียนไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวติ ประจาวันไดอ้ ย่างไร

ขั้นที่ 3 ปฏบิ ตั ิและสรุปความรหู้ ลังการปฏบิ ัติ
5.นกั เรียนเขา้ กลุม่ ทากิจกรรมการถามตอบจากเรอื่ งทศ่ี ึกษากลุ่มละ 10 ขอ้

คาบท่ี 3-4 6.นักเรียนรว่ มกนั สรุปข้อคดิ ทีไ่ ด้จากการอ่านเรอื่ งแม่ไกอ่ ย่ใู นตะกรา้
ขน้ั ที่ 4 ขัน้ สอ่ื สารและนาเสนอ
การเขียน
เรียงความ 7.นักเรียนนาเสนอคาถาม โดยครูใชไ้ ม้เรยี กเลขท่ี เรียกนกั เรยี นออกมานาเสนอหนา้
ช้นั เรยี นทีละกลุ่ม
ขั้นที่ 5 ขัน้ ประเมินเพ่อื เพม่ิ คณุ ค่าบรกิ ารสังคมและจิตสาธารณะ

8.นักเรียนรว่ มกนั แสดงความคิดเห็น โดยครใู ช้คาถามดังน้ี
- นกั เรยี นสามารถนาความรู้เกยี่ วกบั เรอ่ื งทเ่ี รียนไปใช้ประโยชนใ์ นสังคมได้
อย่างไร

ขนั้ ท่ี 1 ขน้ั รวบรวมขอ้ มลู
1.ครอู า่ นเรยี งความให้นักเรยี นฟัง แล้วสนทนากับนักเรียน โดยใชค้ าถามดงั นี้
- จากเรยี งความทค่ี รอู า่ นให้นักเรยี นฟงั นกั เรียนรู้สกึ อยา่ งไร
- นักเรยี นเคยเขียนเรียงความหรอื ไม่ และมีวิธกี ารเขยี นอย่างไร
2.นกั เรียนศึกษาวธิ ีการเขียนเรียงความจากวดี ที ศั น์ดงั นี้

การเขียนเรยี งความ

ความหมายของเรยี งความ

เรียงความ เป็นงานเขียน ร้อยแก้ว ชนิดหนึ่งท่ีผู้เขียนมุ่งถ่ายทอดเร่ืองราว ความรู้ ความคิด
และทัศนคตใิ นเร่ืองใดเร่อื งหน่งึ ดว้ ยถอ้ ยคาสานวนทเี่ รียบเรยี งอย่างมีลาดับข้ันและสละสลวย

องค์ประกอบของเรียงความ มี 3 ส่วนใหญ่ ๆ คอื

คานา เป็นสว่ นแรกของเรียงความ ทาหน้าที่เปิดประเด็น ดึงดูดความสนใจ พิถีพิถัน คานึงถึงเร่ืองที่
ตนจะเขียน เนน้ ศิลปะในการใช้ภาษา

เนื้อเรื่อง เป็นส่วนสาคัญและยาวที่สุดของเรียงความ ประกอบด้วย ความรู้ ความคิด และข้อมูลที่
ผเู้ ขียนค้นคว้า และเรียบเรยี งอยา่ งเปน็ ระบบ ระเบยี บ การเขยี นเนอ้ื เรื่องเป็นการขยายความในประเด็น
ต่าง ๆ ตามโครงเร่ืองท่ีวางไว้ล่วงหน้าแล้ว ในการเขียนอาจมีการยกตัวอย่าง การอธิบาย การ
พรรณนา หรือยกโวหารตา่ งๆมาประกอบด้วยโดยอาจจะมยี อ่ หน้าหลายยอ่ หนา้ ก็ได้

สรุป เปน็ ส่วนสุดท้าย หรอื ย่อหนา้ สดุ ท้ายในเรียงความแต่ละเรอื่ ง ผ้เู ขียนจะทิ้งท้ายใหผ้ ู้อ่านเกิดความ
ประทับใจ สอดคล้องกับเร่ืองที่เขียน กระชับรัดกุม ซึ่งการเขียนสรุปมีหลายวิธี เช่น ฝากข้อคิด และ
ความประทับใจให้ผู้อา่ นยา้ ความคิดสาคญั ของเรอ่ื ง ชักชวนใหป้ ฏิบตั ติ าม ใหก้ าลังใจแก่ผู้อ่าน ต้ังคาถาม
ทีช่ วนให้ผู้อา่ นคดิ หาคาตอบ และยกคาพดู คาคม สุภาษติ หรอื บทกวีท่นี ่าประทบั ใจ เป็นต้น

1. ให้นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มคดิ ประเมนิ เพ่ือเพม่ิ คุณค่าโดยครใู ช้คาถามดงั ต่อไปนี้
- การเขยี นเรียงความหมายถงึ อะไร
- การเขยี นเรียงความทีด่ นี ้ันมีสว่ นประกอบกสี่ ่วน อะไรบา้ ง
- ภาษาทใ่ี ช้ในการเขียนเรียงควรเปน็ อย่างไร

ขน้ั ท่ี 2 ข้นั คดิ วิเคราะหแ์ ละสรุปความ
3.นกั เรียนเข้ากลมุ่ ให้แต่ละกลมุ่ ร่วมกันวเิ คราะห์เรื่อง “การเขียนเรียงความ” โดยครู

ใช้คาถามดงั น้ี
- ส่วนประกอบทั้ง 3 ไดแ้ ก่ คานา เนอื้ เรอ่ื ง สรปุ ส่วนใดสาคญั ท่ีสุด เพราะ

เหตใุ ด
4.นักเรียนแตล่ ะกลุ่มคดิ ประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่าโดยครูใช้คาถามดงั ตอ่ ไปน้ี

-นักเรยี นสามารถนาสิง่ ท่ีเรียนไปใชป้ ระโยชน์ในชีวิตประจาวนั ไดอ้ ยา่ งไร

ข้ันที่ 3 ข้นั ปฏิบตั แิ ละสรปุ ความรูห้ ลังปฏิบตั ิ
5.นักเรียนเขียนเรียงความ
6.นักเรียนร่วมกนั สรปุ หลักการเขยี นเรียงความดงั น้ี
- การเขียน เรยี งความ เป็นงานเขยี น ร้อยแก้ว ชนดิ หน่งึ ท่ีผู้เขยี นมุ่งถ่ายทอด
เรือ่ งราว ความรู้ ความคิด และ
ทัศนคติในเร่ืองใดเรือ่ งหน่ึง ดว้ ยถอ้ ยคาสานวนที่เรียบเรียงอย่างมีลาดบั ขัน้
และสละสลวย
- การเขยี นเรยี งความมี 3 สว่ นใหญ่ ๆ คือ คานา เนอื้ เรอื่ ง สรุป
- ลักษณะของเรียงความท่ีดี นอกจากมีองคป์ ระกอบครบท้ัง 3 สว่ น คอื คา

นา เนื้อเร่ือง และสรุป แล้วยังต้องมี
ลกั ษณะดังน้ีอีกด้วย

ข้ันที่ 4 ขัน้ สื่อสารและนาเสนอ
7.นกั เรียนนาเสนอผลงานหนา้ ชั้นเรียน โดยครูใช้ไม้เรียกเลขท่ี เรยี กนกั เรยี นออกมา

นาเสนอหน้าชัน้ เรียนประมาณ 4-5 คน

คาบที่ 5-6 ขั้นที่ 5 ขน้ั ประเมินเพอื่ เพ่มิ พูนคุณค่าบริการสังคมและจติ สาธารณะ
8.นกั เรียนรว่ มกนั แสดงความคิดเหน็ โดยครใู ชค้ าถามดังนี้
วรรณยุกต์ - นกั เรียนสามารถนาความรเู้ ก่ยี วกบั เร่ืองที่เรียนไปใชป้ ระโยชน์ในสังคมได้
อยา่ งไร

ขนั้ ที่ 1 ข้ันรวบรวมข้อมลู
1. นักเรียนชว่ ยกนั ทายปริศนาคาทาย ดงั น้ี

1) ตัวฉนั นนั้ หรือ ลือชอ่ื ดุร้าย หน้าตาดูคลา้ ย แมวลายแสนเชอื่ ง (เสอื )

2) ใชป้ นู ่ังนอน พักผ่อนทุกที่ มว้ นได้งา่ ยดี เดมิ ทีเป็นหญ้า (เสอื่ )

3) ตัดเย็บจากผา้ นามาสวมใส่ หญิงชายใช้ได้ บอกใบม้ ีแขน (เสื้อ)

เมื่อนกั เรยี นทายถูก ครูเขียนคาบนกระดานใหน้ ักเรียนอ่านออกเสียงพร้อมกัน
2. นักเรยี นอา่ นคาบนกระดาน และพจิ ารณาคาทลี ะคาวา่ มอี ะไรเหมือนกันและ

ต่างกนั โดยครูใชค้ าถาม ดังน้ี
- คาว่า “เสือ เสอ่ื เสื้อ” มีอะไรทเี่ หมือนกัน (พยัญชนะต้น สระ ตวั สะกด)
- คาว่า “เสอื เส่อื เสื้อ” มอี ะไรท่ีเขยี นแตกตา่ งกัน (วรรณยุกต์)
- คาทั้ง 3 คา อา่ นออกเสียงเหมอื นกนั หรอื ไม่ (ไม่เหมอื นกัน)
- คาทง้ั 3 คา มีความหมายเหมือนกนั หรือไม่ (ไม่เหมือนกนั )
- ส่ิงที่ทาให้คาทง้ั 3 คา มีเสียงและความหมายตา่ งกันคืออะไร (วรรณยุกต์)

3. นักเรยี นศึกษาเรือ่ งวรรณยุกต์

ข้นั ที่ 2 ขน้ั คดิ วเิ คราะห์และสรุปความ

4. นักเรยี นเขา้ กล่มุ เลน่ เกมคาใหม่ โดยมีวิธีเล่น ดงั นี้

- แบง่ กระดานออกเปน็ 4 ส่วนเท่า ๆ กัน เพอื่ ให้นกั เรยี นเขียนคาจากรปู และ

เสยี งวรรณยกุ ตท์ ีก่ าหนดให้

- กาหนดรูปและเสียงวรรณยุกตใ์ หน้ ักเรียนจับฉลากเพ่ือนาไปคิดคารอบละ 1 คู่

มี 2 รอบ ดังนี้

๐ รูปเอก เสียงเอก (รอบท่ี 1) ๐ รปู โท เสียงโท (รอบที่ 2)

๐ รปู เอก เสยี งโท (รอบที่ 3) ๐ รปู โท เสียงตรี (รอบท่ี 4)

- ให้เวลา 2 นาทใี นการคิดคาจากรปู และเสียงวรรณยุกตท์ ่กี าหนดให้ จากนน้ั ใน

แต่ละรอบ ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ สง่ ตวั แทนออกมาเขียนคาท่ีรว่ มกนั คดิ ขนึ้ บนกระดาน 1 นาที
ตัวแทนแต่ละรอบไมซ่ า้ กนั

- ในแตล่ ะรอบตอ้ งมกี ารพิจารณาตรวจสอบความถูกต้องร่วมกัน เมอ่ื เล่นเกมคา
ใหม่ ในรอบที่ 4 เสร็จแลว้ กลมุ่ ใดไดค้ ะแนนมากทส่ี ุดเป็นฝา่ ยชนะ
5. นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มคิดประเมินเพอ่ื เพม่ิ คุณค่าโดยครใู ช้คาถามดงั ตอ่ ไปนี้

-นักเรยี นสามารถนาส่งิ ท่ีเรียนไปใชป้ ระโยชน์ในชีวติ ประจาวันได้อยา่ งไร
ขน้ั ที่ 3 ขน้ั ปฏิบัตแิ ละสรปุ ความรู้หลงั ปฏบิ ตั ิ

6. นักเรียนจับคกู่ ับเพื่อน คิดคาท่มี ีรูปวรรณยุกต์มา 1 คา จากนัน้ ใหม้ าเขียนคาน้ัน
บนกระดาน โดยไม่มีรปู วรรณยกุ ตป์ รากฏ นกั เรยี นคู่ทอี่ อกมาเขยี นบนกระดาน
เลอื กเพ่อื นคอู่ ่นื มา 1 คู่ ให้มาชว่ ยเตมิ วรรณยุกตใ์ หถ้ ูกต้อง ถา้ ตอบถกู คูน่ ั้นจะได้
1 คะแนน ถ้าตอบผดิ ได้ 0 คะแนน ชว่ ยกนั ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง แลว้ ใหค้ ่ทู ่ีมา
เติมวรรณยุกตเ์ ขียนคาต่อไป แลว้ เลือกคอู่ น่ื มาเตมิ วรรณยุกต์ โดยไม่ซ้าคูเ่ ดิมจน
ครบทุกคู่

7. นักเรยี นฝึกอ่านคาท่มี ีเสียงวรรณยกุ ต์แตกตา่ งกัน โดยให้นักเรียนอา่ นในใจ 1
เที่ยว โดยครูขออาสาสมัครนกั เรยี นออกมาอา่ นนาให้เพ่อื นอา่ นตาม

พู่กนั 8. อ้อยควน่ั ผา้ ซิน่ จจู้ ี้ กล้วยปิ้ง นา้ อบ กลางแจง้ ถา่ ยเท ว่ิงเปีย้ ว

พเี่ ลย้ี ง ลิ้นไก่ คกุ กี้ ขผ้ี ้งึ คุยฟงุ้ เฉากว๊ ย ลูกข่า เกก๊ ฮวย อีโต้

8. ครูและนกั เรยี นร่วมกันสนทนาถงึ ความรู้เดิมเก่ียวกับวรรณยุกต์ โดยใชค้ าถาม
ดงั น้ี
- วรรณยกุ ต์ คอื อะไร (เคร่ืองหมายกาหนดเสยี งของคา ทาใหร้ ะดบั เสียงของคา

และความหมายแตกต่างกนั )

- วรรณยกุ ต์มกี ร่ี ูปอะไรบ้าง (มี 4 รปู คอื - - - -

- วรรณยุกต์มกี ี่เสียงอะไรบ้าง (มี 5 เสียง คอื เสยี งสามัญ เสยี งเอก เสียงโท

เสียงตรี เสียงจัตวา)

9. นกั เรยี นช่วยกนั สรุปวา่ วรรณยุกต์เปน็ เคร่ืองหมายกาหนดเสยี งของคา
ข้ันที่ 4 ขน้ั สือ่ สารและนาเสนอ

10. นกั เรียนนาเสนอเร่ืองวรรณยกุ ต์ โดยครใู ช้ไม้เรยี กเลขทเ่ี รียกนักเรยี นออกมาเติม
วรรณยกุ ตจ์ ากคาท่ีครตู ิดบนกระดานประมาณ 4-5 คน

ขน้ั ที่ 5 ขน้ั ประเมนิ เพอ่ื เพ่มิ พนู คณุ ค่าบรกิ ารสังคมและจติ สาธารณะ
11. นักเรียนรว่ มกนั แสดงความคิดเห็น โดยครใู ชค้ าถามดังน้ี

- นกั เรียนสามารถนาความร้เู กย่ี วกบั เรื่องทเ่ี รียนไปใชป้ ระโยชน์ในสงั คมได้
อย่างไร
3.3 คุณลักษณะอังพึงประสงค์ : Attitude (A) ซ่อื สตั ยส์ จุ ริต มวี นิ ยั ใฝเ่ รยี นรู้ อยอู่ ยา่ ง
พอเพียง ม่งุ ม่นั ในการทางานรกั ความเปน็ ไทย มจี ติ สาธารณะ

6. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ :

การประเมิน วธิ กี าร เครอื่ งมือ
- คาถาม
ด้านความรู้ (K) - การตอบคาถาม - แบบฝึกหดั
- แบบประเมินการอ่าน
- ทาแบบฝกึ หดั - บนั ทึกประจาวนั
- แบบสงั เกตพฤติกรรม
ด้านทกั ษะและกระบวนการ (P) - ทักษะการอ่าน

- ทักษะการเขยี น

ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและ - สังเกตพฤติกรรมในการร่วม

ค่านิยม (A) กิจกรรม การทางานกลุม่

7. สื่อ/แหล่งการเรยี นรู้ 2. ไมเ้ รยี กช่ือ 3. หนังสอื เรยี นภาษาไทยช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 3
7.1 สอ่ื การเรียนรู้ 5. รูปภาพ 6. ตัวอยา่ งการเขียนบนั ทึกประจาวัน
1. แบบฝึกหัด
4. คาถาม
7. พจนานกุ รม

8. กิจกรรมเสนอแนะ
................................................................................................................................................................................
................................................................................ ............................................................................
......................................................................................................................................................................

ลงชื่อ............................................ครผู ้สู อน ลงชือ่ ...................................................ฝ่ายวชิ าการ

(...........................................................) (...........................................................)

ลงชือ่ ................................................... ผู้บริหาร
(...........................................................)

สปั ดาห์ท่ี 7

โรงเรยี นขจรเกยี รตพิ ฒั นา
แผนการจดั การเรียนรู้

ภาคเรียนที่ 1/……………….. ชื่อผู้สอน ….………………………………………………..……...
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 3 จานวน 6 คาบ
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 4 เร่อื ง อาหารดชี ีวมี สี ุข

1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวช้วี ดั
มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสรา้ งความรู้และความคดิ เพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการ

ดาเนินชวี ิตและมนี ิสัยรกั การอา่ น
ตวั ชว้ี ัดที่ ป 3/1 อ่านออกเสียงคา ข้อความ เรอ่ื งสั้น ๆ และบทรอ้ ยกรองงา่ ย ๆ ไดถ้ กู ต้อง คลอ่ งแคลว่
ตวั ชี้วดั ที่ ป 3/2 อธิบาย ความหมายของคา และข้อความทีอ่ ่าน
ตวั ชี้วัดท่ี ป 3/3 ตงั้ คาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผล เกีย่ วกบั เรือ่ งทอี่ ่าน
ตัวช้ีวดั ท่ี ป 3/4 ลาดับเหตกุ ารณ์และคาดคะเนเหตกุ ารณ์จากเร่ืองท่ีอ่านโดยระบุเหตผุ ลประกอบ
ตวั ชว้ี ดั ที่ ป 3/5 สรุปความรแู้ ละข้อคิดจากเรื่องท่ีอา่ นเพอ่ื นาไปใช้ในชวี ิตประจาวัน
ตวั ชี้วัดท่ี ป 3/9 มีมารยาทในการอา่ น
มาตรฐานที่ ท 2.1 ใชก้ ระบวนการเขยี นเขียนส่อื สาร เขยี นเรียงความ ยอ่ ความ และเขียนเร่อื งราวใน

รปู แบบตา่ งๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นคว้าอย่างมปี ระสิทธิภาพ
ตัวชี้วัดที่ ป 3/2 เขียนบรรยายเก่ยี วกับสิ่งใดสง่ิ หนงึ่ ไดอ้ ยา่ งชดั เจน
ตวั ช้วี ัดที่ ป 3/6 มีมารยาทในการเขียน

มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลยี่ นแปลงของภาษาและพลงั ของ
ภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบตั ิของชาติ

ตวั ชวี้ ดั ที่ ป 3/1 เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา

2. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด
การอ่านจบั ใจความสาคัญ คือ การอา่ นเพ่อื จบั ใจความหรอื ข้อคิด ความคิดสาคัญหลกั ของขอ้ ความ

หรอื เรอื่ งทอี่ า่ น การอ่านจบั ใจความสาคัญ ถอื เป็นทกั ษะสาคัญทใ่ี ชใ้ นการอา่ นเพอื่ การสื่อสารมากท่ีสดุ เพราะ
เป็นพน้ื ฐานสาคญั ในการศึกษาหาความรู้ จงึ ควรฝึกฝนใหเ้ กิดความชานาญ

3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

1. อธบิ ายความหมาย และหลกั การอา่ นจับใจความสาคัญ (K)

2. อธิบายเรื่องที่พบเห็นให้ผู้อน่ื เข้าใจไดอ้ ยา่ งชัดเจน (K)

3. อธบิ ายการผนั อกั ษร 3 หม่ไู ด้ (K)

4. อา่ นเรอื่ งไดค้ ล่องแคล่ว รวดเร็วและถกู ตอ้ งตามอักขรวธิ ี (P)

5. แยกข้อเทจ็ จรงิ และข้อคิดเห็นจากเรอื่ งที่อ่าน (P)

6. เขียนบรรยายส่ิงท่ีพบเห็น (P)

7. ผันอักษร 3 หมูแ่ ละวิเคราะหเ์ สียงวรรณยุกต์ของคาได้ (P)

8. เห็นความสาคัญของการอ่านและมารยาทในการอา่ น (A)

9. มีความสนใจในการเข้าร่วมกจิ กรรมการเรียนรู้ (A)

10. เหน็ ความสาคัญของการผันอกั ษร 3 หมู่ (A)

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

การอา่ นจับใจความ การเขยี นบรรยายส่งิ ท่พี บเห็น พิจารณาตามหลกั สตู รของสถานศึกษา

การผันอกั ษรสามหมู่

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้

คาบท่ี กิจกรรมการเรียนการสอน

คาบที่ 1-2 ขนั้ ที่ 1 ข้นั รวบรวมข้อมลู

1.นักเรียนทบทวนเกยี่ วกบั การอ่านสรปุ ใจความ โดยใช้คาถามดงั ตอ่ ไปนี้

การอา่ นจบั - การอ่านสรปุ ใจความคอื อะไร

ใจความอาหารดี - นกั เรียนใช้ทกั ษะอะไรบา้ งในการอ่านสรุปใจความ

ชวี ีมีสขุ 2.นักเรยี นแต่ละกลุม่ อา่ นในใจเรื่อง อาหารดชี ีวีมสี ุข จากหนังสอื เรยี นภาษาพาทีชัน้

ประถมศึกษาปีท่ี 3 โดยนาหลกั การอ่านในใจมาใช้ ครูสังเกตการอ่านของนกั เรียนแตล่ ะคน

ว่าปฏบิ ัติได้ถูกต้องตามหลกั การอา่ นหรอื ไม่

ขั้นที่ 2 ขั้นคิดวิเคราะหแ์ ละสรปุ ความ

3.นักเรียนแต่ละกลุ่มรว่ มวิเคราะหเ์ กย่ี วกับเร่ืองทอี่ ่าน โดยครใู ชค้ าถามดังน้ี

-อาหารทีด่ ีมีลักษณะอย่างไร

-อาหารที่ไม่ดีมีลักษณะอย่างไร

-หากเรารับประทานอาหารไมด่ ีเข้าไปจะเกดิ ผลอย่างไร

-นักเรียนคิดว่าการรับประทานอาหารท่มี ปี ระโยชน์นั้นมีความสาคญั อย่างไร

4.นกั เรียนแตล่ ะกล่มุ คดิ ประเมนิ เพ่อื เพมิ่ คุณคา่ โดยครใู ช้คาถามดงั ต่อไปน้ี

คาบท่ี 3-4 -นกั เรียนสามารถนาสิ่งที่เรียนไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวติ ประจาวันไดอ้ ย่างไร
ขน้ั ท่ี 3 ขนั้ ปฏิบตั ิและสรปุ ความรหู้ ลังการปฏิบตั ิ
การเขียน
บรรยายสิง่ ทีพ่ บ 5.นักเรียนเข้ากลุม่ ทากิจกรรมการถามตอบจากเรื่องทศ่ี กึ ษา กลมุ่ ละ 5 ขอ้ และสรุป
เหน็ 6.นกั เรียนเข้ากล่มุ ทากิจกรรมสรปุ ขอ้ คิดทไ่ี ด้จากการอา่ นเรอื่ ง อาหารดีชีวีมีสุข
ข้ันที่ 4 ขั้นสือ่ สารและนาเสนอ
7.แต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลของการทากจิ กรรม การระดมสมองให้เพื่อนฟัง โดย
ใชว้ ธิ ีจับสลาก

*ขณะทน่ี ักเรยี นนาเสนอ ครพู ยายามสงั เกตพฤตกิ รรมทัง้ ของผู้ฟังและผู้
นาเสนอ เพอื่ เกบ็ ไปเป็นข้อมลู ในการพัฒนาปรบั ปรงุ ต่อไป

พฤติกรรมทน่ี าไปเป็นเงือ่ นไขพัฒนา เช่น
- มารยาทในการพดู และฟงั
- ความสนใจ ให้เกียรติ
- การซกั ถาม เสนอแนวคดิ แยง้ หรอื คล้อยตามอย่างมีเหตุผล
- การใช้ทักษะทางภาษาเพอื่ การส่อื สาร

ขั้นที่ 5 ขั้นประเมนิ เพื่อเพมิ่ คณุ ค่าบริการสังคมและจิตสาธารณะ
8.นักเรียนรว่ มกนั แสดงความคดิ เห็น โดยครใู ชค้ าถามดงั น้ี
- นกั เรียนสามารถนาความรเู้ กี่ยวกบั เร่ืองทเ่ี รียนไปใช้ประโยชนใ์ นสงั คมได้
อยา่ งไร

ขั้นท่ี 1 ข้นั รวบรวมขอ้ มลู
1. นกั เรียนรว่ มกันแสดงความคดิ เห็น โดยครูใช้คาถามทา้ ทาย ดงั น้ี

๏ ถ้านักเรียนไปเดินซ้ือของที่ตลาด นักเรียนจะเล่าหรือเขียนบรรยายสิ่ง
ท่ีพบเห็นอย่างไร
2. นักเรียนศึกษาวธิ ีการเขียนบรรยายส่ิงท่ีพบเห็น แล้วร่วมสนทนาซักถาม โดย

ครูใช้คาถามดังนี้

-การเขยี นบรรยายสง่ิ ที่พบเห็นมคี วามสาคญั อย่างไร
ขัน้ ท่ี 2 ขน้ั คิดวเิ คราะหแ์ ละสรุปความ

3. นักเรียนดภู าพ ประเพณีการเลน่ น้าสงกรานต์ แลว้ รว่ มกันคิดวิเคราะหโ์ ดยครูใช้

คาถามดงั นี้

- จากรปู ทนี่ ักเรยี นเห็นคดิ ว่าเป็นรูปเกย่ี วกับอะไร
- ภาพที่นกั เรียนเห็นมอี งคป์ ระกอบอะไรบ้าง
- จากเหตุการณ์ทีน่ ักเรยี นเหน็ ในภาพสามารถเขียนบรรยายไดอ้ ยา่ งไร (นกั เรยี น

พูดบรรยาย)

4. นกั เรียนแต่ละกลุ่มคดิ ประเมนิ เพอ่ื เพ่มิ คุณค่าโดยครใู ช้คาถามดังตอ่ ไปน้ี

-นักเรียนสามารถนาสิ่งท่ีเรียนไปใช้ประโยชนใ์ นชีวิตประจาวนั ได้อย่างไร

ขั้นที่ 3 ขัน้ ปฏิบัติและสรปุ ความรหู้ ลังปฏบิ ัติ

5. แบ่งนักเรยี นเป็น 4 กลุ่มตามความเหมาะสม ให้จับฉลากเพื่อไปหาข้อมูล

มาเขียนบรรยาย และวาดภาพระบายสีประกอบ ดงั นี้

กลุ่มที่ 1 รา้ นขายข้าวราดแกง กลุ่มท่ี 2 ร้านขายของทอด

กลุ่มที่ 3 รา้ นขายผลไม้ กลุ่มที่ 4 ร้านขายกว๋ ยเตย๋ี ว

6. นกั เรียนแต่ละกลุ่มช่วยกนั เขียนบรรยายจากสิ่งทไี่ ด้พบเห็น พร้อมวาด

ภาพประกอบให้สวยงาม และ

7. นักเรียนร่วมกนั สรุปหลกั การบรรยายสง่ิ ทพ่ี บเหน็ และครูอธบิ ายเพม่ิ เติมดังน้ี

*การบรรยายสงิ่ ทพ่ี บเหน็ คือ การเล่าเร่อื ง การกล่าวถงึ เหตกุ ารณ์ทต่ี ่อเนอื่ งกัน

โดยช้ใี ห้เห็นฉาก สถานท่ี เวลา

เหตุการณ์สาเหตุที่ก่อให้เกิด สภาพแวดล้อม บุคคลท่ีเกี่ยวขอ้ งตลอดจนผลท่ีเกิดจาก

เหตกุ ารณน์ ั้นๆ เนื้อหาในการบรรยายอาจเป็นเร่ืองจรงิ เช่น ประวัตบิ ุคคล เร่ืองเล่าจาก

ประสบการณ์หรอื เปน็ เรือ่ งสมมตุ ทิ ีเ่ คยไดย้ ินไดฟ้ ังมา เช่น นิทาน นิยาย เรอ่ื งสั้นทมี่ ีการเล่า

เรอ่ื ง

ขน้ั ที่ 4 ขนั้ สอื่ สารและนาเสนอ

8. นักเรียนจดั แสดงผลงานของแต่ละกลมุ่ ทปี่ ้ายนิเทศ

ขน้ั ที่ 5 ขัน้ ประเมนิ เพอ่ื เพิ่มพูนคณุ ค่าบรกิ ารสงั คมและจิตสาธารณะ

9.นักเรียนรว่ มกนั แสดงความคิดเหน็ โดยครใู ช้คาถามดังนี้

- นกั เรยี นสามารถนาความรเู้ กีย่ วกบั เรอ่ื งท่เี รียนไปใช้ประโยชน์ในสังคมได้

อย่างไร

คาบท่ี 5-6 ขนั้ ท่ี 1 ข้นั รวบรวมข้อมลู

การผันอักษร 1. นกั เรียนอ่านแผนภูมิต่อไปนี้ ดังน้ี
สามหมู่
ไตรเอย๋ ไตรยางศ์ อกั ษรกลางมีเก้าตวั
อกั ษรสงู นบั ถ้วนทวั่ สิบเอ็ดตวั ครบพอดี
เดก็ เด็กจา๋ จงจดจา อกั ษรตา่ ยี่สิบส่ี
รวมสามหมใู่ ห้เข้าที่ สี่สิบส่ีพยญั ชนะเอย

แลว้ รว่ มสนทนาโดยครูใช้คาถามดังนี้
- แผนภูมทิ น่ี ักเรยี นอ่านเกีย่ วกบั เร่ืองอะไร

- อักษร 3 หมู่ ถา้ ต้องการผันไหค้ รบทั้ง 5 เสียงจะเกดิ ขน้ึ ได้หรอื ไม่ เพราะอะไร
2. นักเรียนศึกษาเร่ืองการผันวรรณยุกต์อักษรสามหมู่
ข้นั ท่ี 2 ขน้ั คิดวเิ คราะหแ์ ละสรปุ ความ
3. นกั เรียนร่วมกันวเิ คราะห์คาตอ่ ไปนี้ แลว้ รว่ มกนั สนทนา

ปู

- คานี้สามารถผันวรรณยุกตไ์ ด้อยา่ งไร (ปู ปู่ ปู้ ปู๊ ป)ู๋
- คาน้ีผนั วรรณยุกต์ไดก้ เ่ี สียง เพราะอะไร ( ผนั วรรณยุกต์ได้ 5 เสยี ง
เพราะเป็นอักษรกลาง)
- นกั เรียนรู้ความหมายของคาใดบา้ ง (ปู ปู)่

ไก่

- คานีส้ ามารถผันวรรณยุกตไ์ ดอ้ ยา่ งไร (ไก ไก่ ไก้ ไก๊ ไก)๋
- คานผี้ นั วรรณยุกต์ได้กเ่ี สียง เพราะอะไร ( ผนั วรรณยกุ ตไ์ ด้ 5 เสียง
เพราะเป็นอกั ษรกลาง)
- นกั เรียนรคู้ วามหมายของคาใดบา้ ง (ไก ไก่)
*นักเรียนและครชู ว่ ยกันสรปุ การผนั อักษรกลางผันได้ครบ 5 เสยี ง รปู และ
เสียงวรรณยกุ ต์ตรงกัน ถา้ คาทไ่ี ม่มีรปู วรรณยกุ ต์ประสมด้วยสระเสยี งสนั้ ไม่มี
ตัวสะกดหรอื คาทมี่ ีตัวสะกดในมาตรา กก กด กบ จะเปน็ เสยี งเอก เช่น จบ

ฝา

- คานี้สามารถผันวรรณยกุ ต์ได้อยา่ งไร (ฝา ฝ่า ฝ้า)
- คานผี้ นั วรรณยกุ ตไ์ ด้กเ่ี สยี ง เพราะอะไร (ผนั วรรณยุกตไ์ ด้ 3 เสียง คอื
เสยี งเอก เสียงโท เสียงจตั วา เพราะเปน็ อกั ษรสูง)
- คาท่ีไม่มรี ปู วรรณยุกต์เป็นเสยี งอะไร (เสยี งจัตวา)
- นักเรียนรคู้ วามหมายของคาใดบ้าง (ฝา ฝา่ ฝ้า)
*นกั เรียนและครูช่วยกันสรุปการผนั อกั ษรสูง ผนั ได้ 3 เสียง รปู และเสยี ง
วรรณยุกตต์ รงกันคอื คาท่ีมีไม้เอก ่-่ ) เปน็ เสียงเอก คาทีม่ ไี ม้โท (่- ้) เป็นเสียง
โท คาทไ่ี มม่ ีรูปวรรณยกุ ต์เปน็ เสียงจตั วา

นา

- คานสี้ ามารถผันวรรณยุกต์ไดอ้ ย่างไร (นา นา่ น้า)
- คานผี้ ันวรรณยกุ ต์ได้กเี่ สียง เพราะอะไร (ผนั วรรณยุกตไ์ ด้ 3 เสียง คือ

เสียงสามัญ เสียงโท เสียงตรี เพราะเป็นอกั ษรต่า)
- คาทไี่ มม่ ีรปู วรรณยุกตเ์ ป็นเสียงอะไร (เสียงสามัญ)

- นักเรียนร้คู วามหมายของคาใดบ้าง (นา นา่ น้า)

*นักเรยี นและครูช่วยกนั สรุปการผนั อักษรต่า ผันได้ 3 เสยี ง รปู และเสียง
วรรณยุกต่์ไ่ม่ตรงกนั คือ คาทมี่ ีไมเ้ อก่้ ( - ) เป็นเสียงโท คาทมี่ ไี ม้โท ( - ) เปน็

เสียงตรี คาท่ีไม่มีรูปวรรณยกุ ตถ์ ้าประสมสระเสียงสัน้ เป็นเสียงตรี ถ้าประสมสระ

เสียงยาวเปน็ เสยี งสามญั

4. นักเรียนแต่ละกลมุ่ คิดประเมินเพ่ือเพ่มิ คุณคา่ โดยครูใช้คาถามดังตอ่ ไปนี้

-นกั เรยี นสามารถนาสง่ิ ท่ีเรียนไปใชป้ ระโยชน์ในชวี ติ ประจาวันไดอ้ ย่างไร
ข้ันที่ 3 ขน้ั ปฏบิ ัตแิ ละสรปุ ความรูห้ ลงั ปฏบิ ตั ิ

5. นกั เรียนเข้ากล่มุ ทากจิ กรรมจาแนกคาท่ีมีรูปวรรณยกุ ต์ และไมม่ รี ปู วรรณยุกตล์ ง

ในตาราง ดงั น้ี

คา รูปวรรณยุกต์ เสียง อักษร ๓ หมู่
วรรณยุกต์

เจ็ด ไมม่ ี เอก อกั ษรกลาง

กลอง

รอง

ส้ม

นักเรยี นร่วมกนั สนทนาถึงความรเู้ กี่ยวกับวรรณยกุ ต์ โดยใช้คาถาม ดงั นี้

- วรรณยุกต์ คอื อะไร (เคร่ืองหมายกาหนดเสียงของคา ทาให้ระดับเสียง
ของคาและความหมายแตกต่างกนั )

- วรรณยุกตม์ กี ีร่ ปู อะไรบ้าง (มี 4 รูป คือ - - - -
- วรรณยกุ ตม์ ีก่ีเสียงอะไรบ้าง (มี 5 เสยี ง คอื เสยี งสามัญ เสยี งเอก เสียง
โท เสียงตรี เสียงจัตวา)

6. นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ เขยี นแผนภมู ิการผนั อักษร 3 หมู่ (อักษรสูง 1 คา อกั ษรกลาง
1 คา อกั ษรตา่ 1 คา ) จากเอกสารที่ครูแจกใหด้ งั นี้

อกั ษร 3 หมู่ เสียงสามญั เสียงเอก เสียงโท เสยี งตรี เสยี งจตั วา
อกั ษรสงู
อกั ษรกลาง
อกั ษรต่า

7. นกั เรยี นร่วมกันสรุปเก่ียวกับการผันวรรณยุกต์ และทาแบบฝกึ หดั
ขน้ั ท่ี 4 ข้ันสื่อสารและนาเสนอ

8. นักเรียนจัดแสดงผลงานจากการทากจิ กรรมข้อท่ี 5 ที่ปา้ ยนิเทศหน้าห้อง
ขั้นท่ี 5 ข้นั ประเมินเพอ่ื เพิ่มพนู คุณค่าบริการสังคมและจติ สาธารณะ

9. นักเรยี นร่วมกันแสดงความคิดเหน็ โดยครูใชค้ าถามดงั น้ี
- นกั เรียนสามารถนาความรเู้ กี่ยวกบั เรือ่ งทีเ่ รียนไปใชป้ ระโยชนใ์ นสังคมได้

อยา่ งไร
3.3 คุณลักษณะอังพึงประสงค์ : Attitude (A) ซื่อสตั ยส์ ุจรติ มีวินยั ใฝเ่ รยี นรู้ อยู่อยา่ ง
พอเพียง มงุ่ ม่นั ในการทางานรักความเป็นไทย มีจติ สาธารณะ

6. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ :

การประเมิน วธิ กี าร เครื่องมือ
- คาถาม
ดา้ นความรู้ (K) - การตอบคาถาม - แบบฝกึ หัด
- แบบประเมินการอ่าน
- ทาแบบฝึกหดั - แบบฝึกหัด
- แบบสงั เกตพฤตกิ รรม
ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ (P) - ทกั ษะการอา่ น

- ทกั ษะการเขยี น

ด้านคุณธรรม จริยธรรมและ - สงั เกตพฤติกรรมในการร่วม

ค่านยิ ม (A) กจิ กรรม การทางานกล่มุ

7. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้ 2. ไม้เรียกชื่อ 3. หนังสือเรยี นภาษาไทยชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3
7.1 ส่ือการเรียนรู้ 5. รูปภาพ 6. ตวั อยา่ งการเขยี นประโยคจากภาพ
1. แบบฝึกหดั
4. คาถาม

8. กจิ กรรมเสนอแนะ
................................................................................................................................................................................
................................................................................ ............................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

ลงชื่อ............................................ครูผู้สอน ลงช่ือ...................................................ฝา่ ยวชิ าการ

(...........................................................) (...........................................................)

ลงชือ่ ................................................... ผู้บริหาร
(...........................................................)

สปั ดาหท์ ่ี 8

โรงเรียนขจรเกียรตพิ ฒั นา
แผนการจดั การเรียนรู้

ภาคเรียนท่ี 1/……………….. ชอื่ ผู้สอน ….………………………………………………..……...
กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 4 ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 จานวน 6 คาบ

เร่อื ง อาหารดชี ีวมี ีสุข

1. มาตรฐานการเรียนรู/้ ตวั ชี้วดั
มาตรฐาน ท 1.1 ใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความรแู้ ละความคดิ เพอื่ นาไปใชต้ ดั สนิ ใจ แกป้ ญั หาในการ

ดาเนินชวี ิตและมนี สิ ยั รกั การอ่าน
ตัวชว้ี ัดที่ ป 3/1 อ่านออกเสียงคา ขอ้ ความ เร่อื งส้นั ๆ และบทรอ้ ยกรองงา่ ย ๆ ได้ถกู ต้อง คลอ่ งแคลว่
ตัวช้ีวัดท่ี ป 3/2 อธิบาย ความหมายของคา และขอ้ ความท่ีอา่ น
ตวั ชี้วัดท่ี ป 3/9 มมี ารยาทในการอ่าน
มาตรฐานท่ี ท 2.1 ใช้กระบวนการเขยี นเขยี นสอ่ื สาร เขียนเรยี งความ ยอ่ ความ และเขยี นเรอื่ งราวใน

รูปแบบต่างๆ เขยี นรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธภิ าพ
ตัวช้ีวดั ท่ี ป 3/5 เขียนเร่ืองตามจินตนาการ
ตัวช้ีวัดท่ี ป 3/6 มมี ารยาทในการเขียน
มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลย่ี นแปลงของภาษาและพลงั ของ

ภาษา ภูมิปญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ขิ องชาติ
ตัวช้วี ดั ที่ ป 3/1 เขยี นสะกดคาและบอกความหมายของคา
มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเหน็ พิจารณาวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็น

คณุ ค่าและนามาประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตจรงิ
ตัวชี้วัดท่ี ป 3/1 ระบขุ อ้ คิดท่ีได้จากการอา่ นวรรณกรรมเพอ่ื นาไปใช้ในชวี ติ ประจาวนั
ตัวชว้ี ัดที่ ป 3/3 แสดงความคดิ เหน็ เกีย่ วกบั วรรณคดที ่ีอ่าน

2. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด
การอ่านจบั ใจความสาคัญ คอื การอ่านเพอ่ื จบั ใจความหรอื ข้อคิด ความคิดสาคญั หลกั ของขอ้ ความ

หรอื เร่อื งทอ่ี ่าน การอา่ นจบั ใจความสาคญั ถอื เปน็ ทกั ษะสาคญั ทใ่ี ช้ในการอ่านเพอ่ื การส่ือสารมากท่ีสดุ เพราะ
เปน็ พ้ืนฐานสาคัญในการศึกษาหาความรู้ จงึ ควรฝึกฝนใหเ้ กิดความชานาญ

3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

1. อธบิ ายความหมาย และหลักการอ่านจับใจความสาคญั (K)

2. อธิบายหลักการเขยี นเรื่องตามจินตนาการจากภาพได้ (K)

3. อธิบายความหมายของพยางค์และคาได้ (K)

4. อ่านเร่อื งได้คลอ่ งแคล่ว รวดเร็วและถูกต้องตามอักขรวิธี (P)

5. แยกขอ้ เทจ็ จรงิ และข้อคิดเหน็ จากเรอื่ งที่อ่าน (P)

6. เขียนเรื่องตามจนิ ตนาการจากภาพได้อย่างเหมาะสม (P)

7. อา่ นและเขียนบอกจานวนพยางค์ของคาได้ถูกต้อง (P)

8. เห็นความสาคัญของการอ่านมารยาทในการอ่านและ เหน็ คุณค่าของวรรณคดไี ทย (A)

9. กระตือรือร้นในการทากิจกรรม (A)

10. กระตือรือรน้ ในการเขา้ ร่วมกิจกรรม (A)

4. สาระการเรียนรู้

สาระการเรียนร้แู กนกลาง สาระการเรยี นรู้ท้องถ่ิน

การอ่านจับใจความเด็กเอ๋ยเด็กนอ้ ย การเขยี นเร่ือง พจิ ารณาตามหลกั สูตรของสถานศึกษา

ตามจนิ ตนาการจากภาพ พยางค์และคา

5. กิจกรรมการเรยี นรู้

คาบท่ี กจิ กรรมการเรยี นการสอน

คาบท่ี 1-2 ขัน้ ที่ 1 ข้ันรวบรวมข้อมลู

1.นกั เรียนทบทวนเกี่ยวกบั การอ่านสรุปใจความ โดยใช้คาถามดงั ตอ่ ไปนี้

การอา่ นจับ - การอา่ นสรปุ ใจความคืออะไร

ใจความเด็กเอ๋ย - นกั เรยี นใชท้ ักษะอะไรบา้ งในการอ่านสรปุ ใจความ

เดก็ นอ้ ย 2.นักเรียนแตล่ ะกลุม่ อา่ นในใจเรอื่ ง เดก็ เอ๋ยเดก็ นอ้ ย โดยนาหลกั การอ่านในใจมาใช้

ครสู งั เกตการอ่านของนกั เรยี นแตล่ ะคนวา่ ปฏิบัติได้ถกู ตอ้ งตามหลกั การอ่านหรือไม่

ขน้ั ท่ี 2 ขนั้ คดิ วเิ คราะห์และสรุปความ

3.นกั เรียนแต่ละกลุ่มรว่ มวิเคราะห์เกีย่ วกับเรอื่ งท่ีอ่าน โดยครใู ชค้ าถามดังนี้

-เดก็ ท่ดี ีควรมีลักษณะอย่างไร

4.นักเรียนแตล่ ะกลุ่มคดิ ประเมินเพื่อเพม่ิ คุณคา่ โดยครใู ชค้ าถามดังตอ่ ไปนี้

-นกั เรียนสามารถนาส่ิงที่เรียนไปใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ิตประจาวันไดอ้ ยา่ งไร

ข้ันที่ 3 ขนั้ ปฏบิ ัติและสรปุ ความร้หู ลังการปฏบิ ตั ิ

คาบท่ี 3-4 5.นกั เรียนเข้ากลุม่ ทากจิ กรรมถามตอบจากเรือ่ งท่ศี ึกษา กลมุ่ ละ 5 ข้อ
6.นกั เรียนเขา้ กล่มุ ทากิจกรรมสรปุ ข้อคดิ ทไี่ ด้จากการอา่ นเร่ือง เด็กเอ๋ยเดก็
การเขยี นเร่อื ง ขัน้ ท่ี 4 ข้นั ส่ือสารและนาเสนอ
ตามจนิ ตนาการ 7.นกั เรียนแต่ละกลุม่ นาเสนอคาถาม โดยครูใช้ไมเ้ รียกเลขท่ี เรยี กนักเรยี นออกมา
จากภาพ นาเสนอหน้าชั้นเรียน แล้วให้เพื่อนในชัน้ เรยี นตอบ
ขั้นที่ 5 ขั้นประเมินเพอื่ เพ่ิมคุณค่าบริการสังคมและจิตสาธารณะ
8.นักเรียนร่วมกันแสดงความคดิ เห็น โดยครใู ชค้ าถามดงั นี้

- นกั เรยี นสามารถนาความรเู้ กยี่ วกบั เรอ่ื งท่เี รียนไปใช้ประโยชน์ในสงั คมได้
อย่างไร
ขน้ั ที่ 1 ขน้ั รวบรวมข้อมลู
1. ครูสนทนาร่วมกับนักเรียนเก่ียวกับความหมายของจนิ ตนาการ โดยครูถาม
คาถามเพ่ือโยงเขา้ สู่สาระการเรียนรู้และกระตุน้ ความสนใจของผเู้ รียน
โดยครูถามคาถามดังนี้
- นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับการเขียนตามจนิ ตนาการวา่ อยา่ งไร

- นกั เรียนเคยเขียนเรื่องตามจนิ ตนาการหรือไม่ และทเ่ี คยเขียนนน้ั คือ

เร่ืองอะไร

(ใหน้ ักเรียนเลา่ สน้ั ๆให้เพอ่ื นฟัง)

- นักเรียนมีวิธีการเขยี นเรื่องตามจินตนาการอย่างไร ลองบอกวิธกี ารตาม

แบบฉบับของตนเองให้เพ่ือนฟัง

2. นักเรียนศึกษาเรอื่ งการเขียนตามจินตนาการ แล้วร่วมกันสนทนาโดยครูใช้
คาถามดังน้ี
-การเขียนตามจิตนาการมีลักษณะอยา่ งไร

ขั้นที่ 2 ขั้นคดิ วิเคราะห์และสรุปความ
3. นกั เรียนดูตัวอยา่ งการเขียนเร่ืองตามจนิ ตนาการ แล้วรว่ มกันสนทนาโดย
ครูใชค้ าถามดังน้ี
-การเขียนตามจินตนาการทีน่ ักเรียนอา่ นเปน็ เรื่องราวเกยี่ วกับอะไร

-เรือ่ งที่นักเรียนอา่ นมีลักษณะอยา่ งไร

4. นักเรียนคิดประเมนิ เพอ่ื เพิ่มคุณค่าโดยครถู ามคาถามดงั นี้
- นกั เรยี นสามารถนาส่งิ ทเ่ี รียนไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตประจาวันได้อย่างไร

ขั้นท่ี 3 ขน้ั ปฏิบตั แิ ละสรปุ ความร้หู ลงั ปฏิบตั ิ

5. นักเรียนดูภาพเดก็ กาลงั เล่นว่าว และกาหนดคาให้นกั เรียน ดงั น้ี

วา่ ว หมบู่ ้าน กลาง แขง่ ขนั สายลม
เวหา

จากนัน้ ให้นกั เรียนเขยี นเร่ืองตามจินตนาการจากภาพ โดยใชค้ าทกี่ าหนดให้
6. นกั เรียนสรุปความรู้เกย่ี วกับการเขยี นตามจนิ ตนาการ ดงั น้ี

การเขียนเรื่องตามจินตนาการจากภาพเปน็ การเขียนบรรยาย

ความรู้สึกนึกคิด และอารมณ์ โดยนาสิง่ ท่ีเหน็ ในภาพมาเช่ือมโยงกบั

จินตนาการของเรา

ขน้ั ที่ 4 ขน้ั ส่ือสารและนาเสนอ
7.นักเรียนนาเสนอการเขียนเรื่องตามจินตนาการ โดยครใู ชไ้ ม้เรียกเลขท่ี เรียก

นกั เรียนออกมานาเสนอหน้าชั้นเรียนประมาณ 4-5 คน

คาบท่ี 5-6 ข้นั ที่ 5 ขั้นประเมินเพ่อื เพ่ิมพูนคุณค่าบริการสงั คมและจิตสาธารณะ
8.นกั เรียนรว่ มกันแสดงความคดิ เห็น โดยครใู ชค้ าถามดังนี้
พยางคแ์ ละคา - นักเรียนสามารถนาความร้เู กีย่ วกับเรื่องทีเ่ รียนไปใชป้ ระโยชน์ในสงั คมได้
อยา่ งไร

ขน้ั ที่ 1 ขั้นรวบรวมข้อมลู
1. นกั เรยี นอา่ นออกเสยี งคาต่อไปน้ี กระดาน โตะ๊ ธรรมชาติ อุตสาหกรรม แล้ว

สังเกตการอ่านออกเสยี ง โดยครูใชค้ าถามดงั น้ี
- คาทีน่ กั เรียนอา่ นแตกต่างกันอย่างไร

2. นักเรยี นศึกษาเรอ่ื ง พยางค์ และคา
ข้นั ท่ี 2 ข้ันคดิ วเิ คราะห์และสรปุ ความ

3. นกั เรียนร่วมกนั คดิ วิเคราะหโ์ ดยครูใช้คาถามดงั ตอ่ ไปนี้
- พยางคห์ มายถึงอะไร
- คาหมายถึงอะไร
- พยางค์และคาแตกต่างกนั อย่างไร

4. ตวั แทนนักเรยี นแตล่ ะกล่มุ จับสลากเลือกนิทานทีค่ รเู ตรยี มมากลุ่มละ 1 เรอ่ื ง ให้
นกั เรียน
แตล่ ะกลุม่ ปฏิบตั ิดังน้ี

- เลอื กคาจากในเนอ้ื เรือ่ งมาเขยี น และจัดประเภทคาพยางค์เดียว คาสอง
พยางค์ คาสามพยางค์ คาสพี่ ยางค์ คาหา้ พยางค์ ฯลฯ เม่อื ทาเสรจ็ แลว้ ใหว้ าด
ภาพประกอบ

5.นกั เรียนแต่ละกล่มุ คดิ ประเมนิ เพ่อื เพมิ่ คุณค่าโดยครใู ช้คาถามดังตอ่ ไปนี้
- นกั เรียนสามารถนาเรอ่ื งทเ่ี รียนไปใช้ประโยชนใ์ นชีวิตประจาวันได้อยา่ งไร

ขน้ั ที่ 3 ข้นั ปฏิบัตแิ ละสรปุ ความรหู้ ลังการปฏิบัติ
6. ครตู ดิ แผนภูมคิ าขวัญจงั หวดั ภเู ก็ตบนกระดานดา ใหน้ กั เรียนช่วยกนั จาแนก

ประเภท ดงั นี้
1.1 คาพยางค์เดยี ว
1.2 คาสองพยางค์
1.3 คาสามพยางค์
1.4 คาสีพ่ ยางค์

โดยใหน้ ักเรียนเขียนบนกระดานดา ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั ตรวจสอบความถูกต้องแล้ว อ่าน
ออกเสียงพร้อมกนั

7. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันสรปุ เรอ่ื งพยางคแ์ ละคาดังน้ี “จานวนคร้ังทอ่ี อกเสยี ง
เรยี กว่า พยางค์ จะมคี วามหมายหรือไม่มีความหมายก็ได้ แต่หากออกเสยี งแลว้ มคี วามหมาย
เรยี กว่า คา คา 1 คา อาจมีหลายพยางค์ได้

8. นกั เรยี นทาแบบฝึกหดั เรือ่ ง จาแนกพยางค์และคา
ข้นั ท่ี 4 ข้นั สื่อสารและนาเสนอ

9. นักเรียนนาเสนอพยางค์และคาหน้าชั้นเรียน โดยครูใชไ้ ม้เรียกเลขที่เรยี ก
นกั เรียนออกมานาเสนอ 4-5 คน
ข้นั ท่ี 5 ข้ันประเมินเพือ่ เพิม่ คณุ ค่าบริการสังคมและจิตสาธารณะ

10. นักเรยี นร่วมกนั แสดงความคดิ เหน็ โดยครใู ชค้ าถามดงั น้ี
-นกั เรยี นสามารถนาความรเู้ กี่ยวกับเรอื่ งท่เี รียนไปใช้ประโยชน์ในสังคมได้

อยา่ งไร
3.3 คณุ ลกั ษณะองั พึงประสงค์ : Attitude (A) ซื่อสตั ยส์ ุจรติ มีวินยั ใฝ่เรียนรู้ อยูอ่ ย่าง
พอเพียง มงุ่ ม่นั ในการทางาน รักความเป็นไทย มจี ิตสาธารณะ

6. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ :

การประเมนิ วธิ กี าร เคร่ืองมือ
ดา้ นความรู้ (K) - การตอบคาถาม - คาถาม
- ทาแบบฝึกหัด - แบบฝกึ หดั
ด้านทักษะและกระบวนการ (P) - ทกั ษะการอ่าน - แบบประเมินการอ่าน
- ทกั ษะการเขียน - แบบฝกึ หดั
ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรมและ - สงั เกตพฤติกรรมในการร่วม - แบบสงั เกตพฤติกรรม
ค่านิยม (A) กิจกรรม การทางานกลุม่

7. สอื่ /แหล่งการเรยี นรู้ 2. ไม้เรยี กช่อื 3. หนงั สือเรยี นภาษาไทยชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3
7.1 ส่อื การเรยี นรู้ 5. รูปภาพ 6. ตวั อย่างการเขยี นประโยคจากภาพ
1. แบบฝกึ หัด
4. คาถาม

8. กจิ กรรมเสนอแนะ
................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...............................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ............................................ครูผู้สอน ลงชอื่ ...................................................ฝ่ายวชิ าการ

(...........................................................) (...........................................................)

ลงชอ่ื ................................................... ผ้บู ริหาร
(...........................................................)

สัปดาห์ที่ 11

โรงเรยี นขจรเกยี รตพิ ฒั นา
แผนการจัดการเรยี นรู้

ภาคเรียนท่ี 1/……………….. ชอื่ ผู้สอน ….………………………………………………..……...
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย
หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 5 ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 3 จานวน 6 คาบ

เรอ่ื ง ทำดีอยำ่ หว่นั ไหว

1. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตวั ชว้ี ดั
มาตรฐาน ท 1.1 ใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความรแู้ ละความคิดเพ่ือนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการ

ดาเนินชวี ิตและมนี ิสัยรกั การอ่าน
ตัวชีว้ ดั ที่ ป 3/1 อ่านออกเสียงคา ขอ้ ความ เรือ่ งสั้น ๆ และบทร้อยกรองงา่ ย ๆ ได้ถูกต้อง คลอ่ งแคล่ว
ตัวช้ีวดั ท่ี ป 3/2 อธบิ าย ความหมายของคา และขอ้ ความที่อ่าน
ตัวชว้ี ดั ท่ี ป 3/3 ต้ังคาถามและตอบคาถามเชงิ เหตุผล เกยี่ วกับเร่ืองทอี่ ่าน
ตวั ชี้วัดที่ ป 3/4 ลาดบั เหตกุ ารณแ์ ละคาดคะเนเหตุการณ์จากเรอ่ื งท่ีอา่ นโดยระบเุ หตผุ ลประกอบ
ตวั ชว้ี ดั ท่ี ป 3/5 สรปุ ความรแู้ ละข้อคดิ จากเรื่องที่อ่านเพอ่ื นาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั
ตัวชี้วดั ที่ ป 3/9 มมี ารยาทในการอ่าน
มาตรฐานที่ ท 2.1 ใชก้ ระบวนการเขียนเขยี นสอ่ื สาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขยี นเร่อื งราวใน

รูปแบบต่างๆ เขยี นรายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ อย่างมีประสิทธภิ าพ
ตัวช้ีวดั ที่ ป 3/2 เขียนบรรยายเกี่ยวกบั สงิ่ ใดส่ิงหน่ึงไดอ้ ย่างชัดเจน
ตัวชีว้ ัดท่ี ป 3/6 มีมารยาทในการเขยี น
มาตรฐาน ท 4.1 เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปลยี่ นแปลงของภาษาและพลังของ

ภาษา ภูมปิ ญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบัตขิ องชาติ
ตัวชว้ี ดั ที่ ป 3/6 แตง่ คาคลอ้ งจองและคาขวญั

2. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด
การอา่ นจับใจความสาคัญ คือ การอา่ นเพอื่ จับใจความหรอื ข้อคิด ความคิดสาคญั หลกั ของขอ้ ความ

หรอื เรอ่ื งท่ีอ่าน การอ่านจบั ใจความสาคัญ ถือเปน็ ทกั ษะสาคญั ทใี่ ช้ในการอา่ นเพอื่ การสื่อสารมากท่ีสดุ เพราะ
เป็นพ้ืนฐานสาคญั ในการศึกษาหาความรู้ จึงควรฝกึ ฝนใหเ้ กิดความชานาญ

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. อธบิ ายความหมาย และหลักการอ่านจับใจความสาคญั (K)
2. เข้าใจลักษณะการเขียนบรรยายและสามารถอธิบายได้ (K)
3. บอกความหมายและลักษณะของคาคลอ้ งจอง (K)
4. อ่านเรื่องไดค้ ลอ่ งแคล่ว รวดเร็วและถกู ต้องตามอักขรวธิ ี (P)
5. แยกข้อเทจ็ จรงิ และขอ้ คดิ เห็นจากเรื่องทีอ่ า่ น (P)
6. เขียนบรรยายส่ิงแวดล้อมในโรงเรียน (P)
7. แตง่ คาคลอ้ งจอง (P)
8. เห็นความสาคัญของการอ่านและมารยาทในการอ่าน (A)
9. มีความตั้งใจในการเขียนบรรยาย (A)
10. กระตอื รอื รน้ ในการร่วมกจิ กรรม (A)

4. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรูท้ ้องถิน่
สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง พจิ ารณาตามหลกั สตู รของสถานศกึ ษา

การอา่ นจับใจความ การเขยี นบรรยายเกี่ยวกับ
โรงเรยี น คาคล้องจอง

5. กจิ กรรมการเรียนรู้

คาบท่ี กจิ กรรมการเรยี นการสอน

คำบท่ี 1-2 ขน้ั ท่ี 1 ขั้นรวบรวมขอ้ มลู

1. นักเรียนรว่ มกนั แสดงความคิดเหน็ เพือ่ เช่อื โยงเข้าสู่การอา่ นจับใจความเรอื่ งทาดี

การอ่านจบั อยา่ หวน่ั ไหว โดยครใู ชค้ าถามดังนี้

ใจความทาดี ๏ คนดตี ้องมีลกั ษณะอยา่ งไร (ตอบปากเปล่า)

อยา่ หวัน่ ไหว เมอื่ นกั เรียนนาเสนอให้ครูเขยี นเปน็ แผนภาพความคิดบนกระดานดังตวั อยา่ ง

พดู จาไพเราะ มีความเสียสละ

คนดี

ไมล่ กั ขโมย มีความซื่อสตั ย์

ไมพ่ ดู ปด

คำบท่ี 3-4 2. ใหน้ ักเรียนอ่านจับใจความเรือ่ ง ทาดีอย่าหวัน่ ไหว (อ่านในใจ ใชเ้ วลา 15 นาที)

การเขียน กอ่ นจะนาเข้าสกู่ จิ กรรมกลุม่
บรรยาย
เก่ียวกบั *ก่อนอ่านจบั ใจความครูควรทบทวนหลกั การอา่ นจับใจความสาคญั ให้นกั เรยี นและตั้ง
โรงเรยี น คาถามเพื่อให้นกั เรียนฝึกการสังเกต และมีกรอบในการอา่ นจบั ใจความ ดงั นี้

- ใคร ทาอะไร ทไ่ี หน อยา่ งไร เมอ่ื ไร เพราะเหตใุ ด
ข้อคิดท่ไี ดจ้ ากเร่อื งคอื อะไร
ขน้ั ท่ี 2 ขั้นคดิ วเิ คราะหแ์ ละสรุปความ

3. นักเรยี นแต่ละกลุม่ รว่ มกนั วิเคราะหเ์ กีย่ วกับเร่ืองท่ีอ่าน โดยครูใช้คาถามดงั น้ี
- ตัวละครสาคญั ในเรื่องมีใครบา้ ง แตล่ ะคนมีนสิ ยั หรอื ลักษณะเฉพาะอยา่ งไร
- จากเร่ืองท่ีอา่ นนกั เรยี นได้ข้อคดิ อะไรบา้ ง

4. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มคดิ ประเมนิ เพ่อื เพิ่มคุณค่าโดยครูใชค้ าถามดงั ต่อไปนี้
- นักเรียนสามารถนาความรทู้ ีไ่ ด้รบั ไปใช้ในชวี ติ ประจาวันได้อยา่ งไร

ข้นั ท่ี 3 ขน้ั ปฏิบัตแิ ละสรุปความรู้หลังปฏบิ ัติ
5. นกั เรียนเข้ากลมุ่ ทากจิ กรรมการตัง้ คาถามและตอบคาถามจากเรื่องท่ีอา่ น กล่มุ ละ 5

ขอ้
กติกาในการต้งั คาถาม คุณครแู บ่งจานวนหน้าทแี่ ต่ละกลมุ่ จะตอ้ งรบั ผิดชอบในการต้งั

คาถาม เพื่อป้องกนั ไมใ่ ห้การต้ังคาถามของแต่ละกลุ่มไมใ่ ห้ซ้ากนั
6. นักเรยี นรว่ มกันสรุปขอ้ คดิ ที่ได้จากการอา่ น

ขน้ั ที่ 4 ข้ันสอ่ื สารและนาเสนอ
7. นกั เรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอคาถามหน้าช้ันเรียน แล้วให้เพ่อื นตอบคาถาม

ขน้ั ที่ 5 ข้ันประเมินเพ่อื เพ่ิมคุณค่าบรกิ ารสงั คมและจติ สาธารณะ
8. นกั เรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครใู ชค้ าถามดงั น้ี
- นกั เรียนสามารถนาความรู้เกี่ยวกบั เร่ืองท่เี รียนไปใชป้ ระโยชนใ์ นสังคมไดอ้ ยา่ งไร

ข้นั ที่ 1 ขั้นรวบรวมข้อมลู
1. นกั เรียนร่วมกันแสดงความคดิ เหน็ เพือ่ เช่ือมโยงเขา้ สู่บทเรียน โดยครูใช้

คาถามดังนี้

๏ นักเรียนคิดวา่ ส่ิงใดบ้างท่ีทาให้โรงเรียนนา่ อยู่
๏ สถานที่ในโรงเรยี นที่นกั เรียนชอบมากท่ีสดุ คอื เพราะอะไร
2 นักเรียนศึกษาเรอ่ื งการเขยี นบรรยาย แลว้ ร่วมสนทนาโดยครูใช้คาถามดังน้ี
๏ การเขียนบรรยายหมายถึงอะไร
๏ ในการเขยี นบรรยายต้องคานงึ ถึงอะไรบา้ ง

คำบที่ 5-7 ๏ การเขียนบรรยายมีข้นั ตอนอย่างไร
คาคลอ้ งจอง 3. นักเรยี นสารวจรอบบริเวณโรงเรียน เพ่อื ใหน้ ักเรียนได้เหน็ สภาพจริงโดยรอบ ฝึก

การสังเกต และเปน็ การเปล่ียนบรรยากาศแหลง่ เรยี นรูเ้ พ่ือท่จี ะนาเขา้ สู่กจิ กรรม

การเรียนการสอนข้นั ตอ่ ไป

ขน้ั ที่ 2 ขนั้ คิดวิเคราะหแ์ ละสรปุ ความ
4. นกั เรียนดตู วั อยา่ งการเขยี นบรรยาย แล้วรว่ มกันสนทนาโดยครใู ชค้ าถามดังนี้
-ในการเขียนบรรยายนกั เรียนตอ้ งคานึงถึงอะไรบ้าง
-จากตวั อย่างทศ่ี กึ ษา นกั เรียนคิดว่าเป็นการเขยี นบรรยายท่ีดีหรอื ไมเ่ พราะอะไร
5. นักเรียนแต่ละกลุม่ คดิ ประเมนิ เพ่อื เพ่ิมคณุ คา่ โดยครูใชค้ าถามดังต่อไปนี้
- นกั เรียนสามารถนาความรู้ท่ีได้รับไปใช้ในชวี ิตประจาวนั ได้อยา่ งไร

ขั้นท่ี 3 ขัน้ ปฏบิ ตั แิ ละสรปุ ความร้หู ลังการปฏบิ ตั ิ
6. นกั เรียนเข้ากลุ่มทากิจกรรม ฝกึ เขยี นบรรยาย และตัวแทนกล่มุ อา่ นให้เพ่อื นฟงั หน้า

ชน้ั เรียน
7. นักเรียนสรุปขั้นตอนการเขยี นบรรยาย และครอู ธิบายเพมิ่ เตมิ ดังนี้
- การเขยี นบรรยายส่งิ แวดล้อมในโรงเรยี นตอ้ งใช้ภาษาทถ่ี ูกต้องเหมาะสมและเปน็ ไป

ในทางสรา้ งสรรค์
8. นักเรียนทาใบงานเร่อื งการเขยี นบรรยาย

ข้ันที่ 4 ขั้นส่ือสารและนาเสนอ
9. นักเรียนนาเสนอผลงานหนา้ ชัน้ เรียน โดยครใู ชไ้ ม้เรยี กเลขทเี่ รยี กนกั เรียนออกมา

นาเสนอประมาณ 4-5 คน
ขน้ั ท่ี 5 ขั้นประเมนิ เพือ่ เพมิ่ คุณค่าบริการสงั คมและจติ สาธารณะ

10.นกั เรียนร่วมกันแสดงความคิดเหน็ โดยครูใชค้ าถามดังน้ี
- นกั เรียนสามารถนาความรเู้ ก่ยี วกบั เรือ่ งท่ีเรียนไปใชป้ ระโยชน์ในสังคมได้
อยา่ งไร

ขน้ั ที่ 1 ขั้นรวบรวมขอ้ มลู
1. นักเรยี นอ่านออกเสียงคาต่อไปน้พี รอ้ มกนั และให้สงั เกตว่าคาในแตล่ ะชุด

เหมือนกันอยา่ งไร
กา ตา มา นา
อกี า ตาดี สแี ดง แกงเผด็
หวานเปน็ ลม ขมเป็นยา
เรือล่มในหนอง ทองจะไปไหน

2. นกั เรียนสังเกตคาทอี่ ่านในขอ้ ที่ 1 แล้วร่วมสนทนาโดยครูใชค้ าถามดงั น้ี

- คาท่ีนกั เรียนอ่านมีลักษณะใดบา้ งท่ีเหมอื นกนั

- คาท่อี า่ นเรียกว่าคาอะไร

3. นกั เรียนศึกษาเรือ่ งคาคล้องจองจากหนงั สอื เรียน

ข้นั ท่ี 2 ขั้นคิดวเิ คราะหแ์ ละสรปุ ความ

4. นกั เรยี นทากิจกรรมวเิ คราะหค์ าคล้องจองจากข้อที่ 1 แลว้ ร่วมสนทนาโดยครใู ช้

คาถามดงั น้ี

- คาคลอ้ งจอง กา ตา มา นา มอี ะไรทเ่ี หมือนกนั

(ตอบ ประสมดว้ ยสระอาเหมอื นกัน)

- คาคลอ้ งจอง สีแดง แกงเผด็ เหมอื นกันอย่างไร

(ตอบ คาว่า แดง กบั แกง มีสระ และตวั สะกดเหมือนกนั )

- คาคลอ้ งจอง หวานเป็นลม ขมเป็นยา คาใดทอี่ า่ นออกเสียงสระและ

ตัวสะกดเหมือนกัน

(ตอบ ขม กับ ลม)

- คาคล้องจอง ทองจะไปไหน เรอื ลม่ ในหนอง คาใดที่อ่านออกเสียงสระ

และตวั สะกดเหมอื นกัน

(ตอบ หนอง กบั ทอง ประสมดว้ ยสระ ออ เหมือนกนั )

5. นักเรียนแต่ละกลมุ่ คิดประเมินเพื่อเพิ่มคณุ คา่ โดยครูใช้คาถามดังตอ่ ไปนี้

- คาคล้องจอง มีความสาคัญอยา่ งไร

- นกั เรยี นสามารถนาส่ิงที่เรียนไปใชป้ ระโยชน์ในชีวติ ประจาวนั ได้อยา่ งไร

ข้ันท่ี 3 ขั้นปฏิบัติและสรปุ ความรหู้ ลังปฏิบตั ิ

6. นกั เรยี นเขา้ กล่มุ เล่นเกมคล้องจองมองสัมผสั โดยครูเขยี นคาบนกระดานดาแล้ว

ใหน้ กั เรยี นแต่ละกลุ่มคดิ คา

คล้องจองเพมิ่ เติม ขอ้ ละ 3 คา ตัวแทนกลมุ่ อ่านให้เพื่อนฟัง

1. เบา
2. มากมาย

3. ยุให้

4. ฉันเป็นคนไทย

7. นกั เรียนร่วมกันสรปุ คาคล้องจองดังนี้

คาคล้องจอง คือ คาท่ใี ช้สระหรือพยญั ชนะเสยี งเดียวกนั และถา้ มีตวั สะกด

จะต้องมตี วั สะกดในมาตราเดยี วกัน คาคล้องจองเรยี กอีกอย่างหนึง่ วา่ คาสมั ผัส

8. นกั เรยี นทาแบบฝกึ หัดเรือ่ งคาคลอ้ งจอง

ขัน้ ท่ี 4 ขนั้ สอื่ สารและนาเสนอ
9.นกั เรียนนาเสนอคาคลอ้ งจองหนา้ ชั้นเรียน โดยครใู ชไ้ มเ้ รียกเลขท่ี เรียกนกั เรียน

ออกมานาเสนอหนา้ ชนั้ เรียนประมาณ 4-5 คน
ขัน้ ท่ี 5 ข้ันประเมนิ เพือ่ เพม่ิ พนู คุณค่าบรกิ ารสงั คมและจติ สาธารณะ

10.นกั เรยี นรว่ มกันแสดงความคิดเหน็ โดยครใู ช้คาถามดงั น้ี
- นักเรยี นสามารถนาความร้เู กยี่ วกบั เร่อื งที่เรียนไปใชป้ ระโยชน์ในสงั คมได้
อยา่ งไร

3.3 คณุ ลกั ษณะอังพึงประสงค์ : Attitude (A) ซอ่ื สตั ยส์ จุ ริต มวี นิ ยั ใฝเ่ รียนรู้ อยอู่ ยา่ ง
พอเพยี ง ม่งุ มน่ั ในการทางาน รักความเปน็ ไทย มจี ิตสาธารณะ

6. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ :

การประเมิน วิธีการ เคร่อื งมอื
- คาถาม
ด้านความรู้ (K) - การตอบคาถาม - แบบฝึกหดั
- แบบประเมินการอ่าน
- ทาแบบฝกึ หดั - แบบฝกึ หัด
- แบบสงั เกตพฤติกรรม
ด้านทกั ษะและกระบวนการ (P) - ทักษะการอา่ น

- ทักษะการเขยี น

ดา้ นคุณธรรม จริยธรรมและ - สังเกตพฤตกิ รรมในการร่วม

คา่ นยิ ม (A) กิจกรรม การทางานกล่มุ

7. ส่อื /แหลง่ การเรียนรู้ 2. ไม้เรียกชอื่ 3. หนังสอื เรียนภาษาไทยชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 3
7.1 สอื่ การเรยี นรู้ 5. รูปภาพ 5. ตัวอย่างการเขียนบรรยาย
1. แบบฝึกหดั
4. คาถาม

8. กิจกรรมเสนอแนะ
................................................................................................................................................................................
................................................................................ ............................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

ลงช่อื ............................................ครผู ้สู อน ลงชื่อ...................................................ฝา่ ยวชิ าการ

(...........................................................) (...........................................................)

ลงชอื่ ................................................... ผู้บริหาร
(...........................................................)

สัปดาหท์ ี่ 12

โรงเรียนขจรเกียรตพิ ฒั นา
แผนการจัดการเรียนรู้

ภาคเรยี นที่ 1/……………….. ชอ่ื ผู้สอน ….………………………………………………..……...
กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 6 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จานวน 6 คาบ

เร่อื ง ทำดีอย่ำหวน่ั ไหว

1. มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตัวชว้ี ัด
มาตรฐาน ท 1.1 ใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความรูแ้ ละความคิดเพ่ือนาไปใชต้ ัดสนิ ใจ แก้ปัญหาในการ

ดาเนินชวี ติ และมนี ิสยั รกั การอ่าน
ตวั ชว้ี ัดท่ี ป 3/1 อ่านออกเสยี งคา ข้อความ เร่อื งส้นั ๆ และบทรอ้ ยกรองงา่ ย ๆ ได้ถูกตอ้ ง คล่องแคลว่
ตัวชีว้ ัดท่ี ป 3/3 ตั้งคาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผล เก่ียวกบั เรอ่ื งทอี่ ่าน
ตัวชี้วัดที่ ป 3/4 ลาดบั เหตุการณ์และคาดคะเนเหตุการณจ์ ากเร่อื งท่ีอา่ นโดยระบเุ หตผุ ลประกอบ
ตัวชี้วดั ที่ ป 3/5 สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่านเพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวนั
ตัวช้ีวัดท่ี ป 3/9 มมี ารยาทในการอ่าน
มาตรฐานที่ ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียนเขยี นส่อื สาร เขยี นเรยี งความ ยอ่ ความ และเขยี นเร่ืองราวใน

รปู แบบต่างๆ เขียนรายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นควา้ อย่างมีประสิทธิภาพ
ตวั ชว้ี ัดท่ี ป 3/2 เขียนบรรยายเกีย่ วกับสง่ิ ใดส่ิงหน่ึงไดอ้ ย่างชัดเจน
ตวั ชว้ี ดั ที่ ป 3/6 มีมารยาทในการเขียน
มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลังของ

ภาษา ภมู ิปญั ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
ตวั ชวี้ ดั ที่ ป 3/6 แตง่ คาคล้องจองและคาขวญั

2. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด
การอ่านจบั ใจความสาคญั คอื การอ่านเพือ่ จับใจความหรือขอ้ คิด ความคิดสาคัญหลกั ของข้อความ

หรอื เร่ืองที่อ่าน การอ่านจบั ใจความสาคญั ถอื เปน็ ทกั ษะสาคญั ทใ่ี ชใ้ นการอ่านเพอ่ื การสอ่ื สารมากท่ีสุด เพราะ
เป็นพน้ื ฐานสาคัญในการศึกษาหาความรู้ จึงควรฝกึ ฝนให้เกดิ ความชานาญ

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายความหมาย และหลกั การอ่านจับใจความสาคัญ (K)

2. อธิบายวิธีการเขียนบรรยายภาพ (K)
3. รแู้ ละเข้าใจวธิ ีการแต่งกลอนสี(่ K)
4. อา่ นเรื่องได้คล่องแคลว่ รวดเรว็ และถูกตอ้ งตามอกั ขรวิธี (P)
5. แยกข้อเทจ็ จริงและขอ้ คิดเหน็ จากเรอ่ื งทอ่ี ่าน (P)
6. เขียนบรรยายภาพ (P)
7. สามารถอา่ นและแต่งกลอนสีไ่ ด้ถกู ตอ้ ง (P)
8. เหน็ ความสาคัญของการอ่านและมารยาทในการอา่ น (A)
9. เห็นความสาคัญของการเขียนบรรยายและนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน(A)
10. ใฝเ่ รียนรู้ มวี นิ ัย มงุ่ มน่ั ในการทางาน ซ่อื สตั ย์สจุ รติ (A)

4. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ท้องถ่ิน
สาระการเรียนร้แู กนกลาง พจิ ารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา

การอา่ นจับใจความนิทาน การเขยี นบรรยายภาพ
กลอนส่ี

5. กิจกรรมการเรียนรู้

คาบท่ี กจิ กรรมการเรยี นการสอน

คำบที่ 1-2 ข้นั ท่ี 1 ขัน้ รวบรวมขอ้ มลู

1. นกั เรยี นทบทวนเก่ยี วกบั การอ่านสรปุ ใจความ โดยใชค้ าถามดงั ต่อไปนี้

การอ่านจับ - การอ่านสรุปใจความคืออะไร
ใจความนิทาน - นกั เรียนใชท้ ักษะอะไรบ้างในการอ่านสรปุ ใจความ

2. ครูและนักเรียนสนทนาเก่ียวกับนิทาน โดยใช้คาถามดังน้ี

- นกั เรียนเคยอ่านนิทานหรือไม่ แลว้ เร่อื งน้นั ชื่อว่าอย่างไร

- นกั เรยี นมีหลักการอ่านนิทานอย่างไร

* ในการถามควรใชไ้ ม้เรียกเลขทส่ี มุ่ ตอบทลี ะคนโดยถามคาถามก่อนจะเรยี กเลขท่ี

เพอ่ื ใหท้ กุ คนไดค้ ิดและเพอ่ื เป็นการสร้างบรรยากาศความตื่นเต้นในการอยากตอบคาถามทั้ง

ยังเปน็ วิธีการทดี่ อี ย่างหนง่ึ ในการควบคุมชัน้ เรียน

3. นกั เรยี นศึกษาการอา่ นจบั ใจความสาคัญนทิ านและสนทนาเกีย่ วกับการอ่านจบั

ใจวามสาคญั นทิ านโดยครูใชค้ าถามดังนี้

- การอ่านจับใจความสาคญั นทิ านคืออะไร

- การอา่ นจับใจความสาคญั นทิ านมคี วามเหมอื นหรือแตกตา่ งจากการอา่ น

คำบท่ี 3-4 จับใจความสาคญั โดยท่ัวไปอยา่ งไร
การเขียน
ขน้ั ที่ 2 ขน้ั คิดวิเคราะหแ์ ละสรุปความ
4. ครูแบ่งนักรเรียนออกเป็น 4-5 กลุ่ม (ครูผสู้ อนแบ่งจานวนนักเรียนตามความ

เหมาะสม)นกั เรยี นแต่ละกล่มุ ช่วยกันเขียนแผนผังมโนทัศนเ์ รอื่ ง การอ่านจบั ใจความสาคญั
นทิ าน

5. นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มคดิ ประเมนิ คณุ คา่ โดยครูใช้คาถามดงั น้ี
- การอา่ นจับใจความจากเรื่องต่างๆ เชน่ หนงั สือเรยี น หนังสือพมิ พ์

วารสาร นิทาน ฯลฯ มีวธิ ีท่เี หมือนหรือแตกตา่ งกันอยา่ งไร

- จากการศึกษาเร่ืองการอา่ นจบั ใจความสาคัญนทิ าน นักเรยี นสามารถ

นาไปใชป้ ระโยชน์ในชวี ิตประจาวันไดอ้ ยา่ งไร

ขั้นที่ 3 ข้ันปฏบิ ัติและสรปุ ความรูห้ ลงั ปฏิบตั ิ
6. นกั เรยี นทากิจกรรมสรุปการอา่ นนิทาน โดยครูแจกนิทานให้นกั เรียนกลุ่มละ 1

เร่อื ง
7. นักเรียนสรุปข้อคดิ ทีไ่ ด้จากนิทานทอ่ี า่ น

ข้ันท่ี 4 ข้นั ส่ือสารและนาเสนอ
8.นักเรียนแตล่ ะกลุ่มออกมานาเสนอผลของการทากิจกรรม ระดมสมองให้เพือ่ นฟงั

โดยใชว้ ิธจี บั สลาก
* ขณะท่ีนกั เรียนนาเสนอ ครูสังเกตพฤติกรรมของผูฟ้ ังและผ้นู าเสนอเพ่อื เก็บเปน็

ข้อมูลในการพัฒนาต่อไป
พฤติกรรมทีน่ าไปเป็นเงอ่ื นไขในการพฒั นา เชน่
- มารยาทในการพูดและฟงั

- ความสนใจ ใหเ้ กียรติ

- การซักถาม เสนอแนวคิดหรือคล้อยตามอย่างมีเหตุผล

- การใชท้ ักษะภาษาเพือ่ การส่ือสาร

ขั้นท่ี 5 ขนั้ ประเมนิ เพ่ือเพม่ิ คณุ ค่าบรกิ ารสงั คมและจติ สาธารณะ
9.นกั เรยี นรว่ มกันแสดงความคิดเหน็ โดยครูใชค้ าถามดงั นี้
- นกั เรยี นสามารถนาความรเู้ กี่ยวกบั เร่อื งท่ีเรียนไปใช้ประโยชนใ์ นสงั คมได้
อย่างไร

ขั้นท่ี 1 ขั้นรวบรวมขอ้ มลู
1. นกั เรียนดูภาพเดก็ เขา้ แถวซ้ืออาหารของโรงเรียน แล้วร่วมกันแสดงความ

คดิ เห็นเพอื่ เช่ือมโยงเข้าสู่บทเรียน โดยครูใช้คาถามดงั นี้

บรรยายภาพ ๏ เดก็ นกั เรียนในภาพกาลงั ทาอะไร
๏ นกั เรียนคิดวา่ เหตุการณ์ดงั กลา่ วเกิดขึ้นเวลาใดเพราะอะไร
คำบท่ี 5-6 2 นักเรยี นศกึ ษาเรื่องการเขียนบรรยายภาพ แล้วรว่ มสนทนาโดยครใู ชค้ าถามดงั น้ี
กลอนส่ี ๏ การเขยี นบรรยายภาพหมายถึงอะไร
๏ ในการเขยี นบรรยายภาพตอ้ งคานงึ ถึงอะไรบา้ ง
๏ การเขยี นบรรยายภาพมีขน้ั ตอนอย่างไร
ขัน้ ที่ 2 ข้นั คิดวเิ คราะห์และสรุปความ
3. นักเรียนดูตัวอยา่ งการเขียนบรรยายภาพ แล้วรว่ มกนั สนทนาโดยครใู ช้คาถามดังน้ี
- ในการเขยี นบรรยายภาพนกั เรยี นตอ้ งคานงึ ถึงอะไรบา้ ง
- จากตวั อยา่ งที่ศึกษา นกั เรียนคิดว่าเป็นการเขยี นบรรยายภาพทด่ี หี รือไมเ่ พราะ
อะไร
4. นกั เรียนแต่ละกลมุ่ คดิ ประเมนิ เพ่ือเพิ่มคณุ ค่าโดยครใู ช้คาถามดงั ต่อไปน้ี
- นักเรียนสามารถนาความรทู้ ่ีได้รับไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวันได้อยา่ งไร
ขนั้ ท่ี 3 ขัน้ ปฏบิ ัตแิ ละสรปุ ความรูห้ ลังการปฏบิ ตั ิ
5. นกั เรียนเขา้ กล่มุ ทากิจกรรม ฝึกเขยี นบรรยายภาพ และตวั แทนกลมุ่ อา่ นให้เพือ่ นฟงั
หน้าชนั้ เรยี น
6. นักเรยี นสรุปข้ันตอนการเขยี นบรรยาย และครูอธิบายเพ่ิมเติมดงั น้ี
การเขียนบรรยายภาพเปน็ การเขียนถา่ ยทอดความคิด และอธิบาย
รายละเอียดของภาพโดยใช้ประสบการณ์เดิม
7.นกั เรียนทาใบงานเรือ่ งการเขียนบรรยายภาพ
ข้นั ท่ี 4 ขนั้ สื่อสารและนาเสนอ
8. นักเรียนนาเสนอผลงานหนา้ ช้ันเรียน โดยครใู ชไ้ ม้เรียกเลขที่เรียกนักเรยี น
ออกมานาเสนอประมาณ 4-5 คน
ขั้นที่ 5ขัน้ ประเมินเพือ่ เพ่ิมคุณคา่ บรกิ ารสงั คมและจติ สาธารณะ
9.นักเรยี นร่วมกนั แสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามดงั นี้
- นกั เรียนสามารถนาความรเู้ กี่ยวกับเรอื่ งที่เรียนไปใชป้ ระโยชน์ในสังคมได้
อย่างไร
ข้นั ที่ 1 ขั้นรวบรวมขอ้ มลู
1. นกั เรียนอา่ นบทกลอน แลว้ ร่วมสนทนาเพือ่ โยงเข้าสู่บทเรียนโดยครูใช้คาถามดังน้ี

ตวั อย่างกลอนสี่

-สิง่ ทนี่ กั เรียนอ่านมลี กั ษณะอย่างไร
-ในแตล่ ะวรรคมีก่คี า
-เราเรียกบทกลอนชนดิ นีว้ ่ากลอนอะไร
*ในการตอบคาถามให้ครใู ชไ้ มเ้ รยี กเลขท่ี เพื่อให้นักเรยี นตอบทีละคน โดยถามคาถาม
ก่อนจะเรียกเลขที่เพ่อื ให้ทุกคนไดค้ ิด
2. นกั เรยี นศึกษาฉันทลกั ษณ์ของกลอนส่ี แลว้ รว่ มสนทนาโดยครใู ช้คาถามดงั นี้

กลอนสี่

- กลอนสคี่ อื อะไร
- กลอนส่ี 1 บทมกี ี่วรรคและวรรคอะไรบา้ ง
- กลอนสี่ 1 บทมกี ีบ่ าทและอะไรบ้าง
- กลอนสีม่ สี มั ผสั อย่างไร
ขน้ั ท่ี 2 ข้นั คิดวเิ คราะหแ์ ละสรปุ ความ
3. นกั เรยี นดตู ัวอยา่ งกลอนส่ี แล้วร่วมกนั วิเคราะหโ์ ดยครูใช้คาถามดังนี้
- กลอนส่ีทนี่ กั เรยี นอ่านเก่ียวกบั เรอ่ื งอะไร
- การแตง่ กลอนสถ่ี กู ตอ้ งตามฉันทลกั ษณ์หรือไม่

4. นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ คิดประเมินเพือ่ เพ่ิมคุณคา่ โดยครูใชค้ าถามดังตอ่ ไปน้ี
- การแต่งกลอนส่ี มีความสาคญั อยา่ งไร
- นกั เรยี นสามารถนาความรู้ทไี่ ดร้ ับไปใช้ในชีวิตประจาวนั ได้อย่างไร

ข้ันที่ 3 ข้ันปฏบิ ตั ิและสรปุ ความรหู้ ลังปฏบิ ตั ิ
5. นักเรยี นเขา้ กลุ่มทากจิ กรรมการฝกึ แตง่ กลอนส่ี เกยี่ วกบั สัตว์
6. นกั เรียนรว่ มกนั สรุปกลอนสดี่ ังน้ี
สรุปกฎของกลอนส่ี

- บทหนึ่งมี 2 บาท บาทที่ 1 เรยี กว่าบาทเอกมี 2 วรรค คือวรรคสลับและ
วรรครับ บาทท่ี 2 เรียกวา่ บาทโทมี 2 วรรค คอื วรรครองและวรรคสง่
แต่ละวรรคจะมีคาวรรคละ 4 คารวมบทหนงึ่ มี 16 คา

- มีสัมผสั มดี ังน้ี
คาสุดทา้ ยของวรรคสลบั สัมผสั กับคาที่ 2 ของวรรครับ
คาสดุ ท้ายของวรรครับสัมผสั กับคาสุดท้ายของวรรครอง
คาสุดท้ายของวรรครอง สัมผัสกับคาที่ 2 ของวรรคส่ง

ถ้าจะแต่งบทตอ่ ไปตอ้ งใหค้ าสดุ ทา้ ยของวรรคสง่ ของบทตน้ สัมผัสกับคา
สดุ ทา้ ยของวรรครบั ของบทตอ่ ไปเสมอ เรยี กว่า สัมผัสระหว่างบท
ขน้ั ที่ 4 ขน้ั สือ่ สารและนาเสนอ
7. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มนาเสนอผลงานหน้าช้ันเรียน และจดั แสดงผลงานท่ีป้ายนิเทศ
หน้าห้องเรียน
ขั้นท่ี 5 ขนั้ ประเมนิ เพ่อื เพม่ิ พนู คุณค่าบริการสังคมและจิตสาธารณะ
8.นักเรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็น โดยครใู ช้คาถามดงั น้ี
- นักเรยี นสามารถนาความรู้เกี่ยวกับเรื่องทีเ่ รียนไปใช้ประโยชนใ์ นสังคมได้
อย่างไร
3.3 คุณลักษณะอังพึงประสงค์ : Attitude (A) ซ่อื สัตยส์ จุ รติ มวี ินัย ใฝเ่ รยี นรู้ อยูอ่ ย่าง
พอเพยี ง มงุ่ มน่ั ในการทางาน รกั ความเปน็ ไทย มจี ติ สาธารณะ

6. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ :

การประเมนิ วิธีการ เคร่ืองมือ
- คาถาม
ดา้ นความรู้ (K) - การตอบคาถาม - แบบฝึกหัด
- แบบประเมินการอ่าน
- ทาแบบฝึกหดั - แบบฝึกหดั การแตง่ กลอนส่ี
- คาถาม
ด้านทักษะและกระบวนการ (P) - ทักษะการอ่าน - แบบฝึกหัด

- ทกั ษะการเขยี น - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม

- ทกั ษะการคิดวิเคราะห์

ดา้ นคุณธรรม จริยธรรมและ - สังเกตพฤติกรรมในการร่วม
ค่านยิ ม (A) กิจกรรม การทางานกลมุ่

7. สือ่ /แหลง่ การเรียนรู้ 2. ไมเ้ รยี กชื่อ 3. หนงั สอื เรยี นภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3
7.1 สือ่ การเรยี นรู้ 5. รูปภาพ 6. ตัวอย่างการเขียนประโยคจากภาพ
1. แบบฝกึ หัด 8.ตัวอย่างกลอนส่ี
4. คาถาม
7.แผนผงั กลอนสี่

8. กิจกรรมเสนอแนะ
................................................................................................................................................................................
................................................................................ ............................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

ลงชื่อ............................................ครูผสู้ อน ลงชือ่ ...................................................ฝา่ ยวิชาการ

(...........................................................) (...........................................................)

ลงชอ่ื ................................................... ผบู้ ริหาร
(...........................................................)

สปั ดาหท์ ี่ 13

โรงเรยี นขจรเกียรติพัฒนา
แผนการจัดการเรียนรู้

ภาคเรียนที่ 1/……………….. ชอื่ ผ้สู อน ….………………………………………………..……...
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 6 ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 จานวน 6 คาบ

เร่อื ง พลังงานคือชวี ิต

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้วี ดั
มาตรฐาน ท 1.1 ใชก้ ระบวนการอ่านสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพือ่ นาไปใช้ตัดสนิ ใจ แก้ปัญหาในการ

ดาเนินชวี ติ และมีนสิ ัยรักการอา่ น
ตัวชว้ี ดั ท่ี ป 3/1 อา่ นออกเสยี งคา ขอ้ ความ เรอ่ื งสน้ั ๆ และบทร้อยกรองงา่ ย ๆ ได้ถูกตอ้ ง คลอ่ งแคล่ว
ตัวชว้ี ดั ท่ี ป 3/2 อธิบายความหมายของคาและข้อความทอ่ี ่าน
ตัวช้ีวดั ที่ ป 3/3 ตง้ั คาถามและตอบคาถามเชงิ เหตุผล เกี่ยวกบั เร่อื งท่อี ่าน
ตัวชวี้ ัดท่ี ป 3/4 ลาดบั เหตกุ ารณ์และคาดคะเนเหตุการณจ์ ากเร่อื งที่อา่ นโดยระบเุ หตุผลประกอบ
ตวั ช้ีวดั ที่ ป 3/5 สรุปความร้แู ละข้อคิดจากเร่อื งท่ีอา่ นเพื่อนาไปใช้ในชีวติ ประจาวัน
ตัวชีว้ ดั ที่ ป 3/9 มมี ารยาทในการอา่ น
มาตรฐานที่ ท 2.1 ใช้กระบวนการเขยี นเขยี นสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอ่ ความ และเขยี นเรอ่ื งราวใน

รปู แบบตา่ งๆ เขยี นรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมปี ระสิทธภิ าพ
ตวั ชว้ี ดั ท่ี ป 3/3 เขียนบันทึกประจาวนั
ตัวชวี้ ดั ที่ ป 3/6 มมี ารยาทในการเขยี น
มาตรฐาน ท 4.1 เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษาและพลงั ของ

ภาษา ภมู ปิ ญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
ตัวชวี้ ัดท่ี ป 3/3 ระบุชนดิ และหน้าท่ขี องประโยค

2. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด
การอ่านจบั ใจความสาคัญ คือ การอา่ นเพ่ือจับใจความหรอื ขอ้ คดิ ความคิดสาคญั หลกั ของข้อความ

หรือเร่อื งทีอ่ ่าน การอ่านจบั ใจความสาคัญ ถือเป็นทักษะสาคญั ทใ่ี ชใ้ นการอา่ นเพือ่ การสื่อสารมากท่สี ดุ เพราะ
เป็นพน้ื ฐานสาคญั ในการศึกษาหาความรู้ จงึ ควรฝึกฝนให้เกดิ ความชานาญ