การพัฒนาทักษะใหม่ new skills สู่สากล คือ

เป็นเหมือนกฎของธรรมชาติที่เราหลีกเลี่ยงไม่ได้ เป็นทางเลือกที่อยู่คู่กับสิ่งมีชีวิตตั้งแต่ไหนแต่ไร ในแต่ละยุคสมัยค่านิยมของทักษะก็ถูกปรับเปลี่ยนไปตามสภาพแวดล้อมของสังคมและเศรษฐกิจภายในประเทศนั้นๆ

 

ปัจจุบัน โลกเราได้ก้าวมาสู่ยุคที่เรียกว่า “ยุคดิจิทัล” ในขณะที่ประเทศไทยได้ปรับนโยบายการบริหารเศรษฐกิจมาเป็น “ไทยแลนด์ 4.0” เช่นเดียวกับในหลายๆประเทศทั่วโลกที่เทคโนโลยีและนวัตกรรมได้เข้ามามีบทบาทในทุกย่างก้าวของชีวิตผู้คน ในยุคที่มี digital disruption ในเกือบทุกๆสายงาน และเทคโนโลยีที่สามารถเข้ามาทำงานแทนมนุษย์ได้

 

ปฏิเสธไม่ได้เลยว่าเทคโนโลยีกลายเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการดำรงชีวิตและการทำงาน ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือ เราแทบจะไม่ได้เห็นการลงรับสมัครงานในสื่อออฟไลน์ อย่าง หนังสือพิมพ์แล้ว เพราะได้เกิดแพลตฟอร์มการหาพนักงานออนไลน์ขึ้นมากมาย รวมถึงการเกิดขึ้นของสายงานดิจิทัล ที่ปัจจุบันกำลังเป็นที่ต้องการอย่างมากในตลาด

การพัฒนา “ทักษะดิจิทัล” จึงไม่ใช่แค่เทรนด์ แต่เป็นทักษะสำคัญที่จะช่วยให้คุณใช้ชีวิตในโลกที่ดิจิทัลกำลังรุ่งเรืองได้ง่ายขึ้น

 

แล้วในยุคดิจิทัลที่ว่านี้ ฉันต้องพัฒนาทักษะอะไรบ้างถึงจะอยู่รอดและไม่ถูกลดบทบาทในหน้าที่การงานที่อนาคตอาจมี AI เข้ามาแทนที่ล่ะ? แล้วถ้าไม่ได้ทำงานสายดิจิทัลทำไมถึงควรรู้ทักษะดิจิทัลล่ะ? 

 

บทความนี้เราจะมาพูดถึง “5 ทักษะ” พื้นฐานที่น่าสนใจเพื่อให้สามารถตามทันความต้องการใหม่ที่เกิดขึ้นในยุคดิจิทัล และพร้อมเดินหน้าต่อไปได้ในอนาคตที่สามารถปรับใช้ได้ในทุกๆสายงาน

1. ทักษะการวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analytics Skill)

“ข้อมูลคือทรัพยากร” ดังนั้น ในหลายๆธุรกิจหรือกล่าวได้ว่าในทุกธุรกิจจำเป็นต้องใช้ข้อมูล เพราะข้อมูลเป็นปัจจัยที่จะช่วยให้องค์กรขับเคลื่อนไปได้ และส่งผลโดยตรงต่อในทุกๆกิจกรรมในองค์กรไม่ว่าจะเป็นในองค์กรขนาดเล็กหรือใหญ่

 

ยิ่งในยุคดิจิทัลที่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างกว้างขวางมากยิ่งขึ้น การวิเคราะห์ข้อมูลที่รวดเร็วและแม่นยำจะสามารถช่วยให้ธุรกิจรับรู้ถึงกระบวนการในปัจจุบัน สามารถพยากรณ์อนาคต และรู้ถึงแนวทางการแก้ไขและทางเลือกให้กับธุรกิจได้ จึงเป็นทักษะที่จะช่วยให้คุณสามารถต่อยอดได้ในทุกสายงาน

2. ทักษะการใช้โซเชียลมีเดีย (Social Media Skill)

“เดี๋ยวนะ ฉันก็ใช้ Facebook อยู่นี่ ทักษะนี้จำเป็นด้วยหรอ?” คำตอบคือ “ใช่ค่ะ” แพลตฟอร์มโซเชียลมีเดียเป็นแหล่งของข้อมูลและเป็นเครื่องมือสำคัญสำหรับธุรกิจทั้งออฟไลน์และออนไลน์ การเข้าใจถึงการใช้งานทั่วไปหรือกระทั่งการใช้งานในระดับธุรกิจจะช่วยให้คุณเก็บข้อมูลและเสนอสินค้าหรือบริการได้ง่ายขึ้น

 

ถ้าคุณเคยกดเข้าไปดูสินค้าเพราะเห็นโฆษณาบน Facebook หรือสั่งซื้อสินค้าจาก Instagram สิ่งนี้จะช่วยให้คุณเห็นภาพของคำตอบมากยิ่งขึ้น ว่าเพราะอะไรทักษะนี้จึงกลายมาเป็นทักษะสำคัญในยุคดิจิทัล

3. ทักษะการบริหารจัดการ (Project Management Skill)

ทักษะการจัดการโครงการเป็นทักษะที่ควรพัฒนาอย่างมาก เพราะในยุคดิจิทัลที่ข้อมูลข่าวสารและกระแสต่างๆเป็นแบบมาไวไปไว และกระแสอะไรจะมาอีกเมื่อไหร่ก็เดายาก การรู้ว่าควรวางแผนงานอย่างไร ดำเนินไปในทิศทางไหน และควรเสนอและเผยแพร่เมื่อไหร่เพื่อให้โครงการออกมาดีและไม่บ้งนั่นเอง

 

และการทำงานในยุคดิจิทัล จะเน้นการทำงานเป็นโครงการมากขึ้นในหลายธุรกิจ นี่จึงเป็นทักษะที่เป็นที่ต้องการอย่างมากในยุคดิจิทัลค่ะ

4. UX/UI (User Experience/User Interface)

ถ้าคุณอ่านมาถึงตรงนี้แล้ว บางคนอาจจะคุ้นๆและเคยเห็นคำนี้กันมาบ้างใช่มั้ยล่ะคะ โดยเฉพาะในแพลตฟอร์มการรับสมัครงาน

 

ใช่แล้วค่ะ UX และ UI  ตอนนี้กำลังมาแรงเป็นที่ต้องการในตลาดงานดิจิทัลมาก! เพราะการออกแบบที่ดีคือการออกแบบสินค้าหรือบริการมาได้ตอบโจทย์ผู้บริโภคสูงสุด และในปัจจุบัน UXและUI ไม่ได้เป็นได้เฉพาะงานด้านไอทีเท่านั้นนะคะ แต่ยังครอบคลุมไปถึงสายงานอื่นๆอีกด้วย ไม่ว่าการออกแบบผลิตภัณฑ์และนวัตกรรมอื่นๆค่ะ

5. ทักษะวิธีการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking Skill)

Design Thinking เปรียบเสมือนการรวม Critical Thinking และ Problem Solving เข้าด้วยกัน เป็นกระบวนการคิดเพื่อรับรู้และเข้าใจปัญหา เพื่อที่จะสามารถระบุปัญหา และหาทางแก้ไขและพัฒนาได้ เป็นทักษะที่เป็นที่ยอมรับในระดับสากลในทุกสายงาน นอกจากนี้ยังสามารถนำทักษะนี้มาใช้ในการปรับการใช้ชีวิตของเราในยุคดิจิทัลได้ด้วยค่ะ

นายนที พ่ึงทรัพย์

ตาแหนง่ ผูช้ ่วยครู (ภาษาไทย)

โรงเรยี นนครนนท์วิทยา ๒ วดั ทินกรนมิ ติ

สานักการศกึ ษา เทศบาลนครนนทบรุ ี

กรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถ่นิ กระทรวงมหาดไทย

รายละเอียดหลักสูตร

พฒั นา ปรับเปล่ยี น เรียนรู้ เพอ่ื ครูส่ศู ษิ ย์

ติดปีกความรูแ้ ละทักษะใหม่ ๆ ของการเปน็ ครแู ละผู้บริหารยุคใหม่
หลกั การและท่ีมา

คณะอนุกรรมการจัดงานวันครู คร้ังที่ ๖๖ พ.ศ. ๒๕๖๕ ในการประชุมครั้งท่ี ๑/
๒๕๖๔ เมอ่ื วันอังคารที่ ๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓ ได้มีมตมิ อบคณะกรรมการจัดกิจกรรม
วิชาการในงานวันครู คร้ังที่ ๖๖ พ.ศ. ๒๕๖๕ กาหนดประเด็น หรือหัวข้อแก่นสาระ
(Theme) ของการจัดงานวันครู ครั้งที่ ๖๖ พ.ศ. ๒๕๖๕ โดยนาข้อสังเกตและ
ข้อเสนอแนะของคณะอนุกรรมการจัดงานวันครูไปประกอบการพิจารณา ต่อมา
คณะกรรมการจัดกจิ กรรมวชิ าการในงานวันครู ครั้งที่ ๖๖ พ.ศ. ๒๕๖๕ ในการประชุม
คร้ังท่ี ๑/๒๕๖๔ เม่ือจันทร์ท่ี ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ มีมติกาหนดหัวข้อแก่นสาระ
(Theme) งานวันครู ครั้งท่ี ๖๖ พ.ศ. ๒๕๖๕ คือ “พลงั ครยู ุคใหม่ สร้างคุณภาพคนไทย
สูส่ ากล” และเหน็ ชอบให้มีการพัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาผ่านการอบรม
ออนไลน์ ที่มีเน้ือหาสอดคลอ้ งกับ หัวขอ้ แก่นสาระ (Theme) สานักงานเลขาธกิ ารครุ ุ

รายละเอยี ดหลักสตู ร

พัฒนา ปรับเปลี่ยน เรยี นรู้ เพ่อื ครสู ศู่ ษิ ย์

ตดิ ปกี ความรูแ้ ละทักษะใหม่ ๆ ของการเปน็ ครแู ละผู้บรหิ ารยคุ ใหม่
-สภา จึงได้จัดทาหลักสูตรการพัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา “พลังครูยุค
ใหม่ สร้างคุณภาพคนไทยสู่สากล” เน่ืองในงานวันครูคร้ังที่ ๖๖ พ.ศ. ๒๕๖๕
วันที่ ๑๖ มกราคม ๒๕๖๕ เพ่ือเป็นส่วนหน่ึงของกิจกรรมงานวันครู อันจะเป็นการ
เสริมสร้างให้ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษามีขวัญกาลังใจ ภาคภูมิใจในวิชาชีพ และ
มงุ่ ม่ันพัฒนาตน พฒั นางาน ทางการศึกษาให้สมเกียรติของวิชาชีพ ภายใต้หน่วยการ
เรียนรู้ทส่ี อดคลอ้ งกับหัวขอ้ แกน่ สาระ (Theme) ของงานวันครู และแนวโน้มการพัฒนา
วิชาชพี ทางการศกึ ษากบั บริบทสังคม ระดับชาติ และนานาชาติ
ระยะเวลาการพัฒนา : ระหวา่ งวันที่ ๑๖ มกราคม ถงึ ๓๑ พฤษภาคม๒๕๖๕
กลุ่มเปา้ หมาย : ผปู้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษาทุกประเภท (ไม่จากดั จานวน)

รายละเอยี ดหลกั สตู ร

พฒั นา ปรับเปลย่ี น เรยี นรู้ เพอื่ ครสู ู่ศิษย์

ตดิ ปีกความรู้และทักษะใหม่ ๆ ของการเปน็ ครูและผูบ้ ริหารยุคใหม่
วตั ถปุ ระสงค์

เพื่อเสริมสร้าง และพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ให้มี
ความรู้ ทกั ษะ และเจตคตใิ นการปฏบิ ัติงานที่เกี่ยวขอ้ งการพฒั นาวิชาชีพทางการศึกษา
เนอื่ งในงานวนั ครคู รั้งที่ ๖๖ พ.ศ. ๒๕๖๕ วันที่ ๑๖ มกราคม ๒๕๖๕

เพื่อสร้างขวัญ กาลังใจ และแรงบันดาลใจในการปฏิบัติงานของผู้ประกอบ
วิชาชีพทางการศึกษา เน่ืองในงานวันครูครั้งที่ ๖๖ พ.ศ. ๒๕๖๕ วันท่ี ๑๖ มกราคม
๒๕๖๕

รายละเอียดหลกั สตู ร

ตอนที่ ๑ ปรบั เปล่ียนเรยี นรู้เพื่อกา้ วทันโลกดจิ ิทัล

หัวข้อ การสร้างและประยุกต์ใช้ Metaverse ในการจัดการสอนเพื่อเพ่ิม
สมรรถนะผูเ้ รยี นในอนาคต ด้วยโปรแกรม Spatial (The Metaverse Creation and
Application for Increasing Learners’ Potential via Spatial)

รายละเอียดหลกั สูตร

ตอนท่ี ๑ ปรบั เปล่ียนเรยี นรู้เพอ่ื กา้ วทันโลกดิจิทัล

หัวข้อ การสร้างและประยุกต์ใช้ Metaverse ในการจัดการสอนเพ่ือเพ่ิม
สมรรถนะผเู้ รียนในอนาคต ด้วยโปรแกรม Spatial (The Metaverse Creation and
Application for Increasing Learners’ Potential via Spatial)

รายละเอียดหลกั สตู ร

ตอนท่ี ๑ ปรบั เปลี่ยนเรยี นรเู้ พื่อกา้ วทันโลกดจิ ิทัล ๑๙ ชม.

หัวข้อ การสร้างและประยุกต์ใช้ Metaverse ในการจัดการสอนเพื่อเพ่ิม
สมรรถนะผเู้ รยี นในอนาคต ด้วยโปรแกรม Spatial (The Metaverse Creation and
Application for Increasing Learners’ Potential via Spatial)

รายละเอียดหลกั สูตร
ตอนท่ี ๑ ปรับเปล่ยี นเรยี นร้เู พื่อก้าวทันโลกดิจิทลั

หัวข้อ การสร้างและประยุกต์ใช้ Metaverse ในการจัดการสอนเพื่อเพิ่ม
สมรรถนะผูเ้ รยี นในอนาคต ด้วยโปรแกรม Spatial (The Metaverse Creation and
Application for Increasing Learners’ Potential via Spatial)

Metaverse กับการเรียนการสอนในอนาคต น่าจะเป็นการใช้ระบบ VR และ
AR มาเป็นส่วนเสริมในการเรียนการสอนเพอ่ื สร้างประสบการณ์การเรียนให้น่าสนใจ
และมีประสิทธิภาพมากข้ึนค่ะ ซ่ึงการใช้ Metaverse เข้ามาช่วยในการเรียนการสอน
จะท าใหช้ ว่ ยลดชอ่ งว่างทางการศึกษา และลดความจาเป็นที่นักศึกษาและคณาจารย์
จานวนมากต้องเดินทางไกลจากบ้านไปยังโรงเรียน หรือมหาวิทยาลัย ในปัจจุบันก็มี
กรณีศึกษาให้เห็นแล้ว เพ่ือทาให้การศึกษาก้าวไปไกลกว่าการศึกษาออนไลน์ และมี
การสร้าง Metaverse เพื่อสนับสนุนการจัดหลักสูตร และสร้างประสบการณ์การ
เรียนรู้ท่สี มจริงซึ่งครอบคลมุ พ้นื ทีก่ วา้ ง ๆ ของกจิ กรรม

รายละเอยี ดหลักสตู ร
ตอนที่ ๑ ปรบั เปล่ียนเรยี นรู้เพอื่ ก้าวทันโลกดิจิทัล
หวั ข้อ การประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม เทคโนโลยีส่ือ
เสมอื นจรงิ และห้องเรียนเสมอื นสาหรบั การเรียนการสอนยคุ ดจิ ิทลั

เทคโนโลยีสือ่ เสมือนจริง เป็นเทคโนโลยที ่คี อมพิวเตอรจ์ าลองสภาพแวดล้อมเสมือนข้ึน
โดยส่วนมากจะเกี่ยวข้องกับการมองเห็น แสดงทั้งบนจอคอมพิวเตอร์ หรือ อุปกรณ์แสดงผล
สามมติ ิ โดยผูใ้ ช้สามารถโต้ตอบกับสิ่งแวดล้อมเสมอื นไดท้ ้ังการใช้อปุ กรณ์นาเขา้ มาตรฐานเชน่
แป้นพิมพ์ หรือ เมาส์ สภาพแวดล้อมจาลองยังสามารถทาให้คล้ายกับโลกจริงได้ เช่น การ
จาลองสาหรบั การฝึกนกั บิน หรอื ในทางตรงกันข้ามมนั ยังสามารถทาใหแ้ ตกตา่ งจากความเป็น
จริงไดอ้ ีกด้วย เช่น เกมต่าง ๆ ทีฝ่ า่ ยผู้ผลิตเกมเร่ิมทาขึ้นในปัจจุบัน ในทางปฏิบัติแล้วเป็นเร่ือง
ยากมากในการสรา้ งประสบการณ์ความเป็นจรงิ เสมือนที่เหมอื นจริงมาก ๆ เน่ืองจากข้อจากัด
ทางเทคนคิ หรือกาลังการประมวลผล ความละเอียดของภาพ อย่างไรก็ตามข้อจากัดดังกล่าว
คาดวา่ จะแกไ้ ขไดใ้ นอนาคตอนั ใกลเ้ นอื่ งจากเทคโนโลยีการสื่อสารภาพและข้อมูล รวมถึงกาลัง
ของหน่วยประมวลผลน้ันพัฒนาขึ้นอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ข้าพเจ้าสามารถนาไป
ประยกุ ต์ ใช้ในการสอนกลุ่มสาระตา่ ง ๆ โดยองิ ตามตวั ชี ้วดั ในการสอน เพ่ือกระตุ้นความสนใจ
ของผ้เู รียนได้

รายละเอยี ดหลกั สตู ร
ตอนที่ ๑ ปรบั เปล่ียนเรยี นรู้เพื่อก้าวทันโลกดจิ ิทลั
หัวข้อ การออกแบบและผลติ สื่อการเรียนรยู้ คุ ดิจิทัล

การออกแบบเนื้อหา ต้องคานึงถึงองค์ประกอบ ดังนี้ เน้ือหาสาหรับผู้เรียน ความ
ทันสมัยและเปน็ ปจั จบุ ันของเนือ้ หา ควรคานึงถึงการจดั แบง่ ช่วงเวลาของการใชเ้ นอ้ื หาให้มคี วาม
เหมาะสม กับวัย เพศ อายุของผ้เู รียน การออกแบบกระบวนการส่ือสารเปน็ สิ่งท่ีสาคญั ของการ
ออกแบบการเรยี นการสอนในยุคดิจิทัล เพราะในบางครั้งอาจจะไม่สามารถส่ือสารด้วยภาษา
เขียนทั้งหมดแต่จะเน้นเป็นรูปภาพ การตอบโต้กันผ่านทางจอภาพ ซึ่งผู้สอนจะต้องออกแบบ
ของเนือ้ หากระบวนการสอ่ื สารใหผ้ ู้เรียนเกดิ ความเขา้ ใจและสามารถตอ่ ยอดความคิดได้ ควรมี
ระบบการจัดการเก็บรวบรวมสารสนเทศทั้งในรูปแบบของภาพและเสียง เพ่ือให้กระบวนการ
เรียนรู้น้ันมีความน่าสนใจ สรุปองค์ประกอบท่ีสาคัญของการเรียนการสอนในยุคดิจิทัลนั้น
ประกอบด้วย ๓ ส่วนที่สาคัญคือ การออกแบบเน้ือหา การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ และ
การออกแบบการสื่อสาร ซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญต่อการเสริมสร้างศักยภาพและความสามารถ
ทางการเรยี นของผ้เู รยี นในสังคมแห่งยคุ ดิจิทลั

รายละเอยี ดหลักสูตร
ตอนท่ี ๑ ปรบั เปลี่ยนเรยี นร้เู พ่ือกา้ วทันโลกดจิ ิทลั ๑๙ ชม.

แนะนา หลกั สูตรจาก AIS Academy

รายละเอียดหลักสูตร
ตอนที่ ๑ ปรบั เปลีย่ นเรียนรเู้ พื่อกา้ วทันโลกดจิ ิทลั ๑๙ ชม.

แนะนา หลักสูตรจาก AIS Academy

รายละเอียดหลักสตู ร
ตอนที่ ๑ ปรบั เปลี่ยนเรยี นรู้เพอื่ ก้าวทนั โลกดิจิทลั ๑๙ ชม.

ค่มู อื การใช้งานแพลตฟอรม์ เลริ ์นดิ

รายละเอียดหลักสตู ร
ตอนที่ ๑ ปรบั เปลี่ยนเรยี นรู้เพอื่ ก้าวทนั โลกดิจิทลั ๑๙ ชม.

ค่มู อื การใชง้ านแพลตฟอรม์ เลริ ์นดิ

รายละเอยี ดหลักสูตร
ตอนท่ี ๑ ปรับเปล่ียนเรียนรู้เพ่ือก้าวทนั โลกดิจิทลั ๑๙ ชม.

หวั ข้อ ความปลอดภยั ไซเบอร์และทักษะดจิ ิทลั

ความปลอดภัยไซเบอร์ คือ การสร้างความม่ันคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศและ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ซึ่งจาเป็นต้องใช้มาตรการทางเทคนิคและทางกฎหมาย รวมถึงการ
กากับดูแลตนเอง ชาติ ท้ังนี้ครูต้องคานึงถึงสิทธิเสรีภาพของผู้เรียนให้ยังคงดารงซึ่งสิทธิ
เสรีภาพในโลกไซเบอร์ได้

ทักษะดจิ ิทลั หรือ Digital literacy เป็นการนาเคร่ืองมอื อุปกรณ์ และเทคโนโลยดี จิ ิทัลที่
มอี ยู่ในปจั จบุ ัน เช่นคอมพวิ เตอร์ โทรศัพท์ แทปเลต โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และส่ือออนไลน์ มา
ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในการส่ือสาร การปฏิบัติงาน และการทางานร่วมกัน หรือใช้เพ่ือ
พฒั นากระบวนการทางาน หรอื ระบบงานในองคก์ รให้มคี วามทันสมยั และมีประสิทธิภาพทักษะ
ดังกล่าวครอบคลุมความสามารถ ๔ มิติ คือ การใช้ (Use) เข้าใจ (Understand) การสร้าง
(create) เข้าถงึ (Access) เทคโนโลยดี จิ ิทลั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

รายละเอยี ดหลกั สูตร
ตอนที่ ๒ ติดปกี ความรเู้ พ่อื ครสู ศู่ ิษย์
หัวข้อ เปลี่ยนความท้าทายให้กลายเป็นโอกาสในการพัฒนา
วชิ าชพี

ทักษะด้านดิจทิ ัลมี ๔ องค์ประกอบ ไดแ้ ก่ ความสามารถ หมายถึง กลุ่มพฤติกรรมท่ีครู
ควรแสดงออกเพ่ือให้ปฏิบัติตามบทบาทและพฤติกรรมท่ีคาดหวัง, ความรู้ หมายถึง ความ
เข้าใจเชิงวิชาการและวิชาชีพท่ีครูต้องมีเพื่อให้ปฏิบัติตามบทบาทและพฤติกรรมที่คาดหวัง ,
ประสบการณ์ หมายถงึ สงิ่ ท่ีครเู คยปฏบิ ัติ เคยกระทา เคยสัมผัส หรือได้พบเห็นมาในอดีตท่ีจะ
สนับสนุนให้การปฏิบัติตามบทบาทและพฤติกรรมท่ีคาดหวัง และคุณลักษณะ หมายถึง
ความชอบ และแรงจูงใจของครูท่ีส่งผลต่อความพึงพอใจในการทางานและความสาเร็จซ่ึง
ข้าพเจ้าคาดว่าจะหมั่นเรียนรู้ และหาคาตอบ โดยการพัฒนาตนเองทางวิชาชีพ ในด้านการ
พัฒนาทกั ษะดจิ ิทลั เพ่ือให้มขี อ้ มลู และนาไปสอดแทรกในการจัดการเรียนรู้แก่ผู้เรยี นได้

รายละเอยี ดหลักสตู ร
ตอนท่ี ๒ ตดิ ปกี ความรเู้ พ่อื ครูสูศ่ ษิ ย์
หัวขอ้ การจดั การเรยี นรู้ฐานสมรรถนะ

หลักสูตรการอบรมเชิงปฏิบัติการออนไลน์เร่ือง การจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะ มี
จุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม มีความเข้าใจที่มา หลักการ และแนวทางการจัดการ
เรยี นรู้ฐานสมรรถนะ ตลอดจนรปู แบบการประเมินที่เปล่ยี นไป เม่อื จดั การเรยี นร้ฐู านสมรรถนะ
โดยออกแบบการจัดการเรียนรู้ในเชิงปฏิบัติการ ท่ีมีการให้ความรู้ผ่านการดูวีดีทัศน์การ
บรรยาย เสวนา และการสาธิตตัวอย่างจากกรณีศึกษา และมีการประเมินผลการเรียนรู้ผ่าน
การทาแบบทดสอบก่อนและหลังการอบรม และการเขียนสะท้อนจากการเข้าร่วมการรับชม
ตลอดหลกั สูตร

รายละเอียดหลักสูตร
ตอนที่ ๒ ตดิ ปีกความรู้เพอื่ ครสู ูศ่ ษิ ย์
หวั ข้อ การพัฒนาทกั ษะการคิดเชิงบริหารของนกั เรียน EF

การพัฒนาทักษะการคิดเชิงบริหารของเด็ก การคิดเชิงบริหาร (EF) เป็นกระบวนการ
ทางสตปิ ญั ญาท่ีมีบทบาทเกยี่ วกบั การดูแลตรวจตราการคิดและพฤติกรรม ซ่ึงทางานร่วมกับ
ระบบประสาทประกอบดว้ ยทกั ษะตา่ ง ๆ ๕ ด้าน ได้แก่การสลับ (Shift) คอื ความสามารถในการ
เปลี่ยนความสนใจ จากสถานการณ์หนึ่งไปยังอีกสถานการณ์หน่ึง, การยับย้ังช่ังใจ (Inhibit)
คือ ความสามารถในการตอบสนองหรอื การกระทาจากสงิ่ ทมี่ ากระตนุ้ และหยดุ พฤตกิ รรมไดใ้ น
ช่วงเวลาที่เหมาะสม, การควบคุมอารมณ์ (Emotional Control) คือ ความสามารถในการ
ตอบสนองทางอารมณ์ระดับกลางท่ีไม่มากหรือน้อยเกินไป ,ความจาขณะท งาน (Working
Memory) คือ ความสามารถในการท าให้ข้อมูลใหม่อยู่เสมอและคงอยู่ตลอดการทางาน และ
การวางแผน (Plan/Organize) คือ ความสามารถในการคิดวางแผน นาไปใช้ ดูผลการ
ดาเนนิ การ และตรวจสอบผลการดาเนินการตามแผน

รายละเอยี ดหลักสตู ร
ตอนท่ี ๒ ติดปีกความรู้เพือ่ ครสู ศู่ ิษย์
หัวข้อ การจัดการความสุขในโรงเรียน (Well-being at
school) เพ่ือเทา่ ทันความเครียดในยุค VUCA

การศกึ ษาและ การจัดการเรียนร้ใู นโรงเรียน เมื่อกล่าวถงึ หลกั การจิตวิทยาทีเ่ ข้ามาเป็น
สว่ นสาคัญในการจัดการเรียนการสอน อกี ทัง้ จากการศึกษาจะพบว่า มีความสมั พนั ธส์ ่งเสริม
ซ่ึงกันและกันมาโดยตลอด การใช้จิตวิทยาเชิงบวกควบคู่กับการใช้หลักจิตวิทยาอื่น ๆ ใน
โรงเรียนและ การจัดการเรียนการสอน เพื่อการเรียนรู้อย่างมีความสุข จึงก่อให้เกิดแนวคิด
เร่ือง “Positive Education” ขึ้น หมายถึงระบบการเรียนรู้ท่ีมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะ
ความสามารถตามความชอบหรือ ความถนัดของนักเรียนโดยใช้จิตวิทยาเชิงบวกเป็นตัว
สง่ เสรมิ โดยให้ความสาคญั กบั หลกั การทางจิตวิทยาและ การอยู่ดีมีสุขทางสังคมของนักเรียน
เป็นหลัก การเรียนอย่างมีความสุขนั้นมีความสาคัญ และมีประโยชน์ต่อนักเรียนอย่างไร
EDUCA มีแนวทางบางสว่ นมานาเสนอ

รายละเอยี ดหลักสูตร
ตอนที่ ๒ ติดปกี ความรเู้ พอ่ื ครูสู่ศิษย์
หวั ข้อ การพฒั นาทกั ษะใหม่ (New Skills) สูส่ ากล

การพัฒนาทักษะใหม่ New skills สู่สากล ในการจัดศึกษาและการเรียนรู้ควรมี
เป้าหมายสาคัญในการพัฒนาผู้เรียนในฐานะพลเมืองให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ท้ังร่างกายและ
จติ ใจ สติปัญญา ความรูแ้ ละคณุ ธรรม มจี รยิ ธรรมและวฒั นธรรมในการดารงชวี ติ อยา่ งสมดุล
มีทักษะจาเป็นและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนอย่างมีความสุข มีภาวะผู้นาการเรียนรู้ด้วยตนเอง
อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต การเรียนรู้เพื่อบ่มเพาะความคิดสร้างสรรค์ ความสามารถในการ
รังสรรค์ส่ิงใหม่ ๆ การเรียนรู้เพื่อปลูกฝังจิตสาธารณะ ยึดประโยชน์ส่วนรวม และการเรียนรู้
เพ่ือการนาไปปฏิบัติมุ่งสร้างการทางานให้เกิดผลสัมฤทธ์ิเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพ พึ่งพา
ตนเองได้ และดาเนินชวี ิตอยา่ งมีความสุข ในฐานะครูทักษะที่ต้องพัฒนา เพ่ือเป็นประโยชน์และ
ถา่ ยทอดให้กบั ผูเ้ รยี น ไดแ้ ก่ ทกั ษะทางดจิ ิทลั ทกั ษะทางภาษา ทักษะการใชเ้ ทคโนโลยี ขา้ พเจ้าจะ
พัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง ไม่หยุดที่จะเรียนรู้ และนาความรู้ท่ีได้พัฒนาไปสอน ถ่ายทอดแก่
ผูเ้ รียนของขา้ พเจ้าต่อไป

เกยี รตบิ ัตรทไี่ ดร้ บั จากการอบรม

ขอ้ มลู ท่วั ไป
ผ้รู ายงาน : นายนที พ่ึงทรพั ย์
ตาแหน่ง : ผู้ชว่ ยครู (ภาษาไทย)
สังกัด : โรงเรียนนครนนท์วิทยา ๒ วัดทินกรนิมิต สานักการศึกษา เทศบาลนคร

นนทบรุ ี กรมส่งเสริมการปกครองทอ้ งถ่ิน กระทรวงมหาดไทย
หวั ข้อการอบรม : หลักสูตรการพฒั นาผู้ประกอบวชิ าชีพทางการศึกษา เรอ่ื ง “พลังครู

ยุคใหม่ สร้างคณุ ภาพคนไทยสสู่ ากล” เน่ืองในงานวนั ครู ครั้งที่ ๖๖ พ.ศ. ๒๕๖๕
หน่วยงานทจ่ี ัด : ครุ ุสภา
สถานท่จี ดั : https://xn--42c5b5an4cvc.com/online_course.php (ออนไลน์)
ระยะเวลา : วนั ท่ี ๑๖ มกราคม ถงึ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๕

รายงานการอบรม

หลักสูตรพัฒนา

ผปู้ ระกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา
“พลังครยู คุ ใหม่ สร้างคณุ ภาพคนไทยส่สู ากล”