กฎหมายเกี่ยวกับการเงิน คือ

 ซึ่งธนาคารจะประสานงานไปยังธนา​คารผู้รับเงิน หรือติดต่อไปยังผู้รับเงินถ้าเป็นภายในธนาคารเดียวกัน เพื่อให้ผู้รับเงินยินยอมให้โอนเงินออกจากบัญชี ซึ่งหากผู้รับโอนไม่ยินยอมลูกค้าอาจต้องฟ้องร้องเพื่อให้ผู้รับโอนเงินคืนเงินให้

ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการทำงาน ชีวิตส่วนตัว รวมไปถึงเรื่องเงินๆ ทองๆ ที่ต้องวางแผน วันนี้ผมมีผู้เชี่ยวชาญในด้านการวางแผนการเงินของบริษัท Wealth Creation International Co., Ltd. คุณปิติพงษ์ รุ่งเรืองวุฒิกุล CFP® จะมาเล่าเรื่องกฎหมายการเงินที่จะออกใหม่ในปี 2563 ได้ผู้อ่านทุกท่านได้เตรียมตัวกันตั้งแต่เนิ่นๆ ครับ

วันนี้ผมขอเลือกกฎหมายที่น่าสนใจ และน่าจะมีผลกระทบกับท่านผู้อ่านพอสมควร มาสรุปให้ได้อ่านกันครับ

เริ่มด้วย การหมดเขตการใช้สิทธิลดหย่อน LTF โดยในปี 2562 นี้จะเป็นปีสุดท้ายที่สามารถใช้ค่าซื้อ LTF มาเป็นค่าใช้จ่ายในการลดหย่อนภาษีส่วนบุคคลได้ โดยในขณะที่ผู้เขียนเขียนบทความนี้นั้น ได้มีประกาศถึงมติ ครม. เกี่ยวกับกองทุน SSF ที่จะมาเป็นอีกตัวเลือกหนึ่งในการลงทุนที่สามารถลดหย่อนภาษีได้ เหมือนกับ LTF โดยที่กองทุน SSF นั้นจะต่างจาก LTF ตรงที่ผู้ซื้อต้องถือกองทุนนี้เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 10 ปี และสามารถซื้อได้ ไม่เกิน 30% ของรายได้ และไม่เกิน 200,000 บาท และเมื่อนำไปรวมกับ RMF, กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ, กบข., ประกันชีวิตแบบบำนาญ และกองทุนออมแห่งชาติ จะต้องไม่เกิน 500,000 บาทอีกด้วย

กฎหมายเกี่ยวกับการเงิน คือ

จากกฎเกณฑ์นี้ กลุ่มคนที่น่าจะได้รับผลกระทบมากที่สุด คือกลุ่มผู้บริหารระดับสูง หรือผู้มีรายได้ประจำเฉลี่ยเกิน 250,000 บาทขึ้นไป เพราะจากเดิมที่สามารถใช้สิทธิลดหย่อน LTF และ RMF รวมกันได้สูงสุด 1,000,000 บาท จะลดลงมาเหลือแค่ 500,000 บาทเท่านั้น จากการลองคำนวณดู ผู้บริหารที่มีรายได้ปีละ 3,400,000 บาท จะมีความเป็นไปได้ที่จะต้องเสียภาษีเพิ่มขึ้นอีกปีละ 150,000 บาทเลยทีเดียว

ยังไม่หมดแค่นั้น ณ วันแรกของปีวันที่  1 มกราคม 2563  จะเป็นวันแรกที่เริ่มมีการประเมิน และเรียกเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ซึ่ง ณ วันที่ 1 มกราคมนั้น ที่ดินทุกที่ที่เรามีชื่อเป็นผู้ครอบครองนั้นจะถูกนำมาคำนวณภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างทั้งหมด โดยที่หากเป็นบ้านพร้อมที่ดินที่เรามีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน และมูลค่าประเมินไม่เกิน 50 ล้านบาท ก็จะได้รับการยกเว้น ไม่ต้องเสียภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง แต่หากเกิน 50 ล้านบาท ส่วนที่เกินจะถูกนำไปคิดคำนวณภาษี ที่อัตรา 0.03%-0.10% ขึ้นอยู่กับราคาประเมิน แต่หากเป็นอสังหาริมทรัพย์เพียงอย่างเดียว ไม่มีที่ดิน (เช่น คอนโดมิเนียม)นั้น จะได้รับการยกเว้นที่ราคาประเมิน 10 ล้านบาทแรก

กฎหมายเกี่ยวกับการเงิน คือ

ส่วนที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอื่นๆ ที่ไม่ได้มีชื่อในทะเบียนบ้านนั้น จะถูกคิดภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างอยู่ที่ 0.02%-0.10% ขึ้นอยู่กับราคาประเมิน

และเพื่อไม่ให้ต้องเสียภาษีที่ดินและสิ่งก่อสร้างสูงโดยไม่จำเป็น กลยุทธ์อย่างหนึ่งที่แนะนำให้นำมาใช้ก็คือการย้ายทะเบียนบ้านของตัวเราเข้าไปอยู่ในอสังหาริมทรัพย์ที่มีราคาแพงที่สุด เสียก่อนที่จะถึงวันที่ 1 มกราคม 2563 นั่นเองครับ 

ถัดมาอีก 3 เดือน วันที่ 31 มีนาคม 2563 จะเป็นวันที่ ธนาคารและสถาบันการเงินจะส่งข้อมูลทางบัญชีของผู้ใช้บริการให้กับสรรพากร เพื่อตรวจสอบรายการเงินเข้าบัญชีบุคคลโดยจะเป็นข้อมูลที่เริ่มเก็บตั้งแต่ มีนาคม 2562 เป็นต้นไป

โดยหากเข้าเงื่อนไขดังต่อไปนี้ รายชื่อของบุคคลนั้นจะถูกส่งไปที่สรรพากรครับ นั่นคือ "มียอดธุรกรรมทางการเงินเข้าบัญชีเกิน 400 ครั้งต่อปี และยอดรวมเกิน 2,000,000 บาท" หรือ "มียอดเงินเข้าเกิน 3,000 ครั้งต่อปีขึ้นไป"

เพราะฉะนั้น หากไม่อยากให้ธนาคารส่งข้อมูลให้กับทางสรรพากร ก็อย่าลืมตรวจสอบยอดเงินเข้า ในปีนี้กันด้วยนะครับ ว่ามีบัญชีไหนใกล้จะถึงเงื่อนไขที่กำหนดไว้บ้างแล้ว และอาจจะเปลี่ยนไปใช้การทำธุรกรรมกับบัญชีต่างธนาคารอื่นแทนครับ อย่างไรก็ตามหากไม่สามารถหลีกเลี่ยงให้หลุดจากเงื่อนไขการส่งข้อมูลของธนาคาร สถาบันการเงินให้กับทางสรรพากรได้แล้วจริงๆ นั้น อาจจะต้องมานั่งคิดวางแผนภาษีในปีหน้าที่จะถึงอย่างเป็นเรื่องเป็นราวให้ถูกต้องแล้วละครับ

ท้ายที่สุด ในวันที่ 11 สิงหาคม 2563 นั้น สถาบันคุ้มครองเงินฝากจะลดความคุ้มครองเงินฝากลงจากเดิมที่คุ้มครองอยู่ที่ 5,000,000 บาทต่อปี จะเหลือเพียงแค่ 1,000,000 บาท เท่านั้นครับ ดังนั้นการฝากเงินในธนาคารก็ใช่ว่าจะปลอดภัยเหมือนเดิมอีกต่อไป

การลงทุนในกองทุนรวมที่มีความเสี่ยงต่ำใกล้เคียงกับเงินฝาก แต่ได้ผลตอบแทนที่สูงกว่า ก็ดูจะเป็นทางเลือกที่น่าสนใจมากขึ้นครับ แต่อย่างไรก็ตามก่อนการลงทุน อย่าลืมศึกษาทำความเข้าใจในตัวสินค้าให้ดีเสียก่อน หรือขอคำปรึกษาจากนักวางแผนการเงิน CFP® ก็จะช่วยประหยัดเวลาไปได้เยอะเลยครับ

PESTEL Analysis คือ เครื่องมือทางกลยุทธ์สำหรับการวิเคราะห์ปัจจัยภายนอกที่ส่งผลกับธุรกิจ โดยการวิเคราะห์ PESTEL Analysis ประกอบด้วยการวิเคราะห์ปัจจัยภายนอก 6 ปัจจัยที่มีผลกับธุรกิจ ได้แก่ Political, Economic, Social, Technology, Environment, และ Legal

การวิเคราะห์ PESTEL Analysis เป็นเครื่องมือที่พัฒนาต่อยอดมาจาก PEST Analysis โดยเพิ่มปัจจัยภายนอกที่สำคัญเข้ามาอีก 2 ปัจจัยคือ Environment (E) และ Legal หรือ Law (L)

ทั้ง 6 ปัจจัยภายนอกของ PESTEL Analysis ที่ไม่สามารถควบคุมได้แต่ละปัจจัยมีความหมายคร่าว ๆ ดังนี้

  • Political คือ ปัจจัยภายนอกด้านการเมือง
  • Economics คือ ปัจจัยภายนอกด้านเศรษฐกิจ
  • Social คือ ปัจจัยภายนอกเกี่ยวกับด้านสังคม
  • Technology คือ ปัจจัยเกี่ยวกับเทคโนโลยี
  • Environmental คือ ปัจจัยภายนอกที่เกี่ยวกับด้านสภาพแวดล้อม
  • Law หรือ Legal คือ ปัจจัยภายนอกที่เกี่ยวกับด้านกฎหมาย

ประโยชน์ของการวิเคราะห์ PESTEL Analysis คือการวิเคราะห์ปัจจัยภายนอกเพื่อหาสิ่งที่ส่งผลกระทบต่อธุรกิจทั้งด้านดีที่เป็นโอกาสและด้านไม่ดีที่เป็นอุปสรรคต่อธุรกิจ เพื่อนำไปใช้ในการวางแผนกลยุทธ์ด้วยเครื่องมือทางกลยุทธ์อื่นต่อไป เช่น SWOT Analysis และการวิเคราะห์ประเทศที่กำลังจะเข้าไปทำธุรกิจ

โดยวิธีการวิเคราะห์ PESTEL Analysis สามารถทำได้โดยการหาปัจจัยภายนอกที่ส่งผลกับธุรกิจแล้วระบุว่าแต่ละรายการส่งผลดี (โอกาส) หรือผลเสียกับธุรกิจ (อุปสรรค) และถ้าหากต้องการวิเคราะห์อย่างละเอียดอาจใช้การให้คะแนนในแต่ละส่วนว่าส่งผลดี/ผลเสียมากแค่ไหน


Political

Political คือ ปัจจัยภายนอกเกี่ยวกับด้านการเมืองและนโยบายต่าง ๆ ของประเทศที่รัฐบาลเป็นผู้ออกนโยบายออกมาแล้วมีผลกับการดำเนินธุรกิจ โดยการวิเคราะห์ PESTEL Analysis จะครอบคลุมการเมืองภายในประเทศไปจนถึงการเมืองระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของคุณ ในการวิเคราะห์ PESTEL Analysis ตัวอย่างในด้าน Political หรือด้านการเมืองจะเกี่ยวกับประเด็นดังต่อไปนี้:

นโยบายของรัฐบาล จะเป็นนโยบายระยะสั้นหรือระยะยาวอะไรก็ได้ที่ส่งผลกับธุรกิจโดยตรง ตัวอย่างเช่น การให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีกับธุรกิจ

นโยบายกีดกันทางการค้าของประเทศที่ดำเนินธุรกิจและประเทศคู่ค้า ทั้งการกีดกันทางการค้าที่เป็นภาษีและไม่ใช่ภาษี

ระบบการปกครองของประเทศที่ทำธุรกิจและของประเทศคู่ค้าที่เกี่ยวข้อง ตัวอย่างเช่น มีคนมาประท้วงปิดถนนบ่อยหรือไม่ มีการเปลี่ยนระบบการปกครองหรือไม่ และเสถียรภาพทางการเมืองเป็นอย่างไร

ความร่วมมือระหว่างประเทศ ตัวอย่างเช่น เขตการค้าเสรี (Free Trade) และการยกเว้นภาษีที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ

Economic

Economic คือ ปัจจัยด้านเศรษฐกิจและการเงินในประเทศ ซึ่งเป็นปัจจัยเกี่ยวกับเรื่องเศรษฐกิจของประเทศที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท ในด้าน Economic หรือด้านเศรษฐกิจของ PESTEL Analysis จะเป็นเรื่องเกี่ยวกับประเด็นดังต่อไปนี้:

อัตราแลกเปลี่ยนและสเถียรภาพของอัตราแลกเปลี่ยน โดยเฉพาะกับธุรกิจที่ทำการค้าระหว่างประเทศหรือจำเป็นต้องสั่งซื้อวัตถุดิบจากต่างประเทศ

อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Policy Rate) ที่เป็นตัวเลขดอกเบี้ยขั้นต่ำในประเทศนั้นๆ ซึ่งเป็นต้นทุนทางการเงินที่จะเกิดขึ้นเมื่อบริษัททกำการกู้ยืมเงินเพื่อลงทุน

อัตราการจ้างงาน อัตราว่างงาน GDP GNP และรายได้คนในประเทศที่ทำธุรกิจ เป็นเรื่องที่สะท้อนในเรื่องของกำลังซื้อ (Purchasing Power) ของลูกค้า

การเติบโตของเศรษฐกิจ และอัตราเงินเฟ้อ ที่จะสะท้อนใหเห็นความมั่งคั่งในภาพรวมของเศรษฐกิจประเทศนั้นๆ ซึ่งความมั่งคั่งของคนในประเทศหมายถึงกำลังซื้อของผู้บริโภคนั่นเอง

ต้นทุน (Cost) ของการทำธุรกิจในประเทศที่ทำการวิเคราะห์ ตัวอย่างเช่น ค่าแรงงาน ต้นทุนทางการเงิน และราคาวัตถุดิบ

Social

Social คือ การวิเคราะห์ปัจจัยภายนอกในเรื่องเกี่ยวกับด้านสังคม วัฒนธรรม วิถีชีวิตความเป็นอยู่ นิสัยใจคอ พฤติกรรม โดยปัจจัยด้าน Social จะเป็นส่วนสำคัญที่สะท้อนพฤติกรรมผู้บริโภคในแต่ละตลาด ประกอบด้วยปัจจัยดังต่อไปนี้:

วัฒนธรรม ค่านิยม ทัศนคติ ธรรมเนียม ประเพณี ในส่วนนี้จะส่งผลกับธุรกิจโดยตรงในหลายด้าน ตั้งแต่วิธีการโฆษณา การทำคอนเทนต์ ไปจนถึงการจัดหน้าร้าน

พฤติกรรมผู้บริโภคในการเลือกซื้อสินค้า ตัวอย่างเช่น จำนวนสินค้าที่ซื้อในแต่ละครั้ง ขนาดของสินค้าที่คนนิยมซื้อ

รูปแบบการใช้ชีวิต (Lifestyle) ของคนในสังคม คนเหล่านี้นิยมทำอะไร สังคมชอบอะไร/ไม่ชอบอะไร และอะไรกำลังเป็นกระแสในปัจจุบันของคนในประเทศนั้น

Technology

Technology คือ ปัจจัยภายนอกเกี่ยวกับเทคโนโลยีของประเทศที่เรากำลังทำการวิเคราะห์ เป็นการวิเคราะห์ว่ามีเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจหรือไม่ และอยู่ในระดับไหน

ในเบื้องต้นการวิเคราะห์ PESTEL Analysis สำหรับส่วนของ Technology ที่ต้องให้ความสนใจเป็นอันดับแรก ๆ ได้แก่:

เทคโนโลยีขั้นพื้นฐานส่วนใหญ่ในประเทศอยู่ในระดับไหน รวมถึงมีจำนวนบุคลากรด้านเทคโนโลยีที่มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีมีอยู่มากน้อยแค่ไหน และหาง่ายแค่ไหนในกรณีที่ต้องการนำมาเป็นพนักงาน

การวิจัยและพัฒนา (Research and Development) เป็นการวิเคราะห์ว่าภายในประเทศได้รับการส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาหรือไม่ และมีอยู่มากน้อยแค่ไหน รวมถึงบุคลากรเกี่ยวกับการวิจัยและพัฒนามีอยู่มากน้อยแค่ไหน

การเข้าถึงเทคโนโลยีของคนในประเทศ ตัวอย่างเช่น การเข้าถึง Internet ของคนในประเทศ คนส่วนใหญ่ใช้ช่องทางอะไรในการเข้าถึงสื่อ

โครงสร้างพื้นฐานภายในประเทศ ตัวอย่างเช่น อินเตอร์เน็ต ไฟฟ้า น้ำ การคมนาคม รวมถึงต้นทุนของช่องทางในการขนส่งที่ธุรกิจจำเป็นต้องใช้

Environment

Environment คือ การวิเคราะห์เกี่ยวกับปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมของประเทศที่เข้าไปลงทุน ตัวอย่างเช่น สภาพภูมิอากาศ ลักษณะทางธรรมชาติ และลักษณะทางภูมิศาสตร์ โดยในส่วน Environment จะเป็นสิ่งที่ส่งผลต่อกิจกรรมต่าง ๆ ในการดำเนินธุรกิจ โดยเฉพาะกิจกรรมทางโลจิสติกส์ ปัจจัยที่สำคัญได้แก่ประเด็นดังต่อไปนี้:

  • ทำเลที่ตั้งของประเทศที่จะเข้าไปลงทุน
  • ประสบภัยพิบัติทางธรรมชาติบ่อยหรือไม่
  • สภาพภูมิอากาศเหมาะสมกับธุรกิจที่เราทำหรือไม่
  • ติดกับประเทศบางประเทศ ที่สามารถจะใช้ประโยชน์จากการติดกับประเทศนั้นหรือไม่

Legal

Legal คือ ปัจจัยเกี่ยวกับกฎหมายที่ส่งผลต่อธุรกิจทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยส่วนมากมักจะส่งผลกับธุรกิจในลักษณะของข้อห้ามหรือข้อจำกัดบางอย่างในการทำธุรกิจ โดยประเด็นด้านกฎหมายที่สำคัญจะประกอบด้วยประเด็นต่อไปนี้:

กฎหมายทางการเงินมีอะไรบ้าง

กฎหมายด้านการเงิน.
พระราชกำหนดการให้ความช่วยเหลือและฟื้นฟูผู้ประกอบธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 พ.ศ. ๒๕๖๔.
พระราชบัญญัติควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน พ.ศ. 2485..
พระราชบัญญัติธนาคารแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2485..
พระราชบัญญัติธนาคารออมสิน พ.ศ. 2489..
พระราชบัญญัติธนาคารอาคารสงเคราะห์ พ.ศ. 2496..

ธุรกรรมทางการเงิน หมายถึงอะไร

ธุรกรรมทางการเงิน คือ การดำเนินการเกี่ยวกับทางการเงินไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมใด ๆ ที่ถือเป็นนิติกรรมสัญญา ที่มีผลทางกฎหมายอย่าเช่นการ ฝาก ถอน โอน จ่าย ลงทุน เปิดบัญชี ฯลฯ เหล่านี้ก็ถือเป็นธุรกรรมทางการเงินทั้งสิ้น ซึ่งธุรกรรมดังกล่าวก็สามารถเดินทางเข้าไปทำที่สาขาได้ แต่อย่างไรก็ดีในยุคที่แพลตฟอร์มต่าง ๆ ได้ถูกพัฒนาให้สามารถ ...

ธุรกิจทางการเงิน มีอะไรบ้าง

5.3.1 ธุรกิจทางการเงิน ได้แก่ธุรกิจธนาคารพาณิชย์ธุรกิจเงินทุน ธุรกิจเครดิต ฟองซิเอร์ ธุรกิจการให้เช่าซื้อ ธุรกิจการให้เช่าแบบลีสซิ่ง ธุรกิจแฟ็กเตอริง ธุรกิจบัตรเครดิต ธุรกิจสินเชื่อ Page 8 6 ฝนสป90-กก00001 -25610411 ส่วนบุคคลภายใต้การก ากับ ธุรกิจสินเชื่อรายย่อยเพื่อการประกอบอาชีพภายใต้การก ากับ ธุรกิจเกี่ยวกับ การให้ ...

พระราชบัญญัติธนาคารแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2485 มีหน้าที่อะไร

กำหนดวัตถุประสงค์ ขอบเขตการทำงาน และโครงสร้างของธนาคารแห่งประเทศไทย ให้ดำเนินการตามมาตรฐานสากลของธนาคารกลาง เพื่อให้ระบบการเงิน ระบบสถาบันการเงิน และระบบการชำระเงินมีเสถียรภาพและประสิทธิภาพ และมีกระบวนการตัดสินใจด้วยความโปร่งใส รอบคอบ อ่านต่อ