ความสำคัญของ รถจักรยานยนต์

มอเตอร์ไซค์’ ความหมายและบทบาทในชีวิตสมัยใหม่?

ปริมาณรถจักรยานยนต์หรือมอเตอร์ไซค์ในประเทศไทยขยายจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว สถิติในปี 2546 มีผู้ใช้จักรยานยนต์ถึง 17 ล้านคัน โดยแต่ละปียังมียอดขายมากกว่าปีละ 2 ล้านคัน ทำให้ปัจจุบันประชากรต่อรถจักรยานยนต์ในประเทศไทยสูงถึง 3 คนต่อ 1 คัน อัตราการใช้ระดับนี้บอกกับเราว่า มอเตอร์ไซค์ได้เปลี่ยนสถานะจากที่เคยเป็นสินค้าหรู ใช้ขี่เล่น ใช้เพื่ออวดตัว ให้กลายเป็นพาหนะในชีวิตประจำวันของคนทั่วไป เสมือน “ขายุคใหม่” และยังเป็นมากกว่าพาหนะเพื่อการเดินทางสำหรับคนบางกลุ่มอีกด้วย

ข้อมูลจากการสำรวจผู้ใช้รถจักรยานยนต์ของกองสุขศึกษาในพื้นที่ตัวอย่างจังหวัดนครปฐม เมื่อปี พ.ศ.2546 พบว่า การขับขี่รถจักรยานยนต์นั้น เป็นการขับขี่ในชุมชนหรือหมู่บ้าน ร้อยละ 82.9 ขี่ไปตลาดเพื่อจับจ่ายซื้อของร้อยละ 74.3 ไปทำงานร้อยละ 44.9 ไปโรงเรียนร้อยละ 15.8 ไปรับส่งบุตรหลาน 15.3 ไปไร่ นา สวน 9.9 เป็นการขับขี่ทางไกล 23.5 ขี่ตอนกลางวันร้อยละ 79.2 เป็นการขับขี่กลางคืนร้อยละ 36.1จะเห็นได้ว่ารถจักรยานยนต์ เป็นขายุคใหม่ตามความจำเป็นของยุคสมัย เป็นส่วนหนึ่งของการใช้ชีวิตของทุกคนในครอบครัว ในครอบครัวส่วนใหญ่จึงต้องมี “รถเครื่อง” อย่างน้อยสักหนึ่งคันไว้ครอบครอง กระนั้นการสำรวจยังพบว่า การใช้รถจักรยานยนต์ของชาวบ้านส่วนใหญ่ใช้ในถนน ซอยตามหมู่บ้าน จะขี่ขึ้นถนนใหญ่เมื่อมีความจำเป็นเท่านั้น เพราะกลัวอุบัติเหตุ ทำนองเดียวกับการเดินทางไกลก็หันไปเลือกใช้รถยนต์หรือรถเมล์แทน

อย่างไรก็ตาม สำหรับวัยรุ่น รถจักรยานยนต์ยังเป็นมากกว่าพาหนะในการเดินทาง เพราะนอกจากใช้ขี่ไปเรียน ‘มอเตอร์ไซค์’ ยังเป็นส่วนประกอบหนึ่งของชีวิตทางสังคม ตั้งแต่เป็นเครื่องมือที่ทำให้สามารถพาตัวเข้ากับกลุ่มเพื่อนหรือร่วมกิจกรรมทางสังคม เป็นหัวข้อสนทนาในวงเพื่อน เป็นจุดเด่น ดึงดูดใจเพื่อนและเพศตรงกันข้าม หรือแม้แต่เป็นเครื่องแก้ความเบื่อ ความเหงา และความโกรธ

ทั้งนี้กลุ่มวัยรุ่นทั้งชายและหญิงมีแบบแผนที่เหมือนและแตกต่างกัน แบ่งการขับขี่ได้เป็น 3 ลักษณะคือ ขับเมื่อมีความจำเป็น การขับรถเที่ยวเล่น และการขับรถแข่ง

โดยกลุ่มวัยรุ่นชายนั้น มีทั้งกลุ่มที่มีพฤติกรรมขับขี่ปลอดภัยและกลุ่มที่ขับขี่เสี่ยงต่ออันตราย โดยเฉพาะการขับรถซิ่งเป็นกลุ่มใหญ่ ส่วนกลุ่มวัยรุ่นหญิง ส่วนมากขี่รถด้วยความเร็วต่ำ และขี่รถด้วยความระมัดระวัง ซึ่งมาจากหลายสาเหตุ เช่น กลัวอุบัติเหตุ ไม่มั่นใจในตนเอง, มีการรับรู้ที่ดีเกี่ยวกับการขับขี่ ลักษณะการขับขี่จะระมัดระวังมากกว่าวัยรุ่นชาย แต่ทักษะการขับขี่น้อยกว่าวัยรุ่นชาย

ความหมายของรถจักรยานยนต์ในสมัยใหม่ นอกจากจะเป็นพาหนะจำเป็นของคนทั่วไป สำหรับวัยรุ่นแล้วยังเป็นสัญลักษณ์และเครื่องมือในการเรียนรู้ทางสังคม และไม่ได้มีแต่เพียงเท่านั้น ในช่วงสิบปีเศษที่ผ่านมา สำหรับคนบางกลุ่ม รถจักรยานยนต์ยังมีความสำคัญในฐานะเครื่องมือประกอบอาชีพอีกด้วย
จักรยานยนต์รับจ้างได้กลายมาเป็นอาชีพอิสระของคนจำนวนมากทั่วประเทศ ที่ทั้งขนส่งสิ่งของในฐานะพนักงานขนเอกสาร และขนส่งคนในฐานะมอเตอร์ไซค์รับจ้าง รวมแล้วมีจำนวนระดับหลายแสนคน และผู้ใช้บริการระดับหลายล้านคน

รายงานการสำรวจรถจักรยานยนต์รับจ้างในเขตกรุงเทพของกรมการขนส่งทางบกปี 2535 ระบุถึงจำนวนจักรยานยนต์รับจ้างในปี 2531 ว่ามีเพียง 831 คิว รถจักรยานยนต์รับจ้าง 16,528 คัน มาถึง พ.ศ.2550 รถยานยนต์รับจ้างเฉพาะในเขตกรุงเทพ ที่ขึ้นทะเบียนกับกรุงเทพมหานครมีจำนวนประมาณ 1 แสนคัน ทั้งนี้ยังไม่มีการประมวลตัวเลขที่แท้จริงของผู้ขับรถมอเตอร์ไซด์รับจ้างทั่วประเทศ ซึ่งวิ่งรับส่งผู้โดยสารหลายล้านเที่ยวต่อวัน
อย่างไรก็ตามข้อมูลจากการสำรวจในพื้นที่กองบังคับการตำรวจนครบาล 9  จำแนกผู้ใช้บริการจักรยานยนต์รับจ้างได้ดังนี้ เป็นพนักงานบริษัทร้อยละ 47.1 รับจ้างทั่วไป 16.2 ค้าขาย 14.7 นักเรียน นักศึกษา 11.8 รับราชการ รัฐวิสาหกิจ 8. ไม่มีอาชีพร้อยละ 2.2

เมื่อรถจักรยานยนต์ได้กลายเป็นสิ่งจำเป็นพื้นฐานไปเรียบร้อยแล้ว ขณะเดียวกันก็ถูกหมายหัวว่า คือพาหนะที่ทำให้เกิดการสูญเสียจากอุบัติเหตุทางถนนมากที่สุด ไม่ต้องสงสัยเลยว่า การจัดการใดๆ ที่เกี่ยวกับรถจักรยานยนต์ย่อมเป็นเรื่องละเอียดอ่อนอย่างแน่

Download chapter 1 introduction...

บทที่ 1 บทนํา 1.1. ความสํ าคัญและทีม่ าของปัญหา ในบรรดายานพาหนะทุกประเภท รถจักรยานยนต์เป็ นรู ปแบบการเดินทางที่มีอตั ราการเกดิ ั อุบตั ิเหตุและการเสี ยชี วิตสู งที่สุดในประเทศไทย เมื่อเทียบกบยานพาหนะประเภทอื ่นๆ โดยจาก ่ พบวา่ สถิติคดี อุบตั ิเหตุบนถนนทัว่ ประเทศของศูนย์ขอ้ มูลข้อสนเทศ สํานักงานตํารวจแหงชาติ ่ 2538-2546 คดีอุบตั ิเหตุเนื่ องจากรถจักรยานยนต์นนั สู งที่สุด คิดเป็ นร้อยละ 32 ขณะที่ ระหวางปี ิ บตั ิเหตุโดยเฉลี่ยคิดเป็ นร้อย ยวดยานประเภทอื่น อาทิ รถยนต์ส่ วนบุคคล และรถปิ คอัพ มีการเกดอุ ่ พ.ศ. 2545-2549 นอกจากนี สถิติคดี ละ 30 และ 18 ตามลําดับ และเพิ่มขึนเป็ นร้อยละ 40 ในชวงปี ่ ่เพิ่มขึนทุกปี เมื่อเทียบกบยานพาหนะประเภทอื ั อุบตั ิเหตุจากรถจักรยานยนต์ยงั มีสัดสวนที ่น โดย ่ ั อยละ 31.41 31.52 32.86 35.68 และ 37.65 ในปี พ.ศ. 2542 2543 2544 2545 และ 2546 เทากบร้ ่ ่ ็ รถจักรยานยนต์ก็ , 2547) อยางไรกดี ตามลําดับ (สํานักงานนโยบายและแผนการขนสงและจราจร ั ่ างขวางในประเทศไทย ทังนี เนื่ องจากเป็ นรู ปแบบการเดินทางที่มีราคา ยังเป็ นที่นิยมใช้กนอยางกว้ ิ ่ ั ไมสู่ ง มากจนเกนไปและบริ โภคนํา มัน ไมมากนั ก เมื ่อ เทีย บกบรถยนต์ ส่ วนบุค คล นอกจาก ่ วสู ง จากข้อได้เปรี ยบดังกลาว ่ จึงทํา นี รถจักรยานยนต์ยงั เป็ นรู ปแบบการเดิน ทางที่มีความคลองตั ่ ่ ่องทุกปี (ยุทธนา วรุ ณปิ กุล และ ให้ปริ มาณการใช้รถจักรยานยนต์ของประเทศไทยเพิ่มขึนอยางตอเนื สุ พิตา เริ งจิต, 2550) ่ ่ แนวโน้มของการใช้รถจักรยานยนต์ที่ได้รับความนิ มยมอยางแพรหลายในปั จจุบัน ได้แก่ ่ เป็ นเพียงพาหนะที่ใช้ การใช้รถจักรยานยนต์ของกลุ่มวัยรุ่ น สําหรับคนกลุ่มนี รถจักรยานยนต์ไมได้ ่ นสิ่ งที่สามารถทําให้เข้ากบกลุ ั ่มเพื่อนหรื อรวมกจกรรมทางสั ่ ิ สําหรับเดินทาง แตเป็ งคม เป็ นหัวข้อ ่ ่ ใช้ดึงดูดเพื่อนและเพศตรงข้าม เป็ นสัญลักษณ์ ของศักดิ ศรี และเป็ น การสนทนา เป็ นจุ ดเดนที ้ เครื่ องแกความเบื ่อ ความเหงา และความโกรธ (ศูนย์วิชาการเพื่อความปลอดภัยทางถนน, 2551) ่ ทาํ ให้การใช้รถจักรยานยนต์ของกลุ่มวัยรุ่ น มีการขยายตัวอยางรวดเร็ ่ ปั จจัยเหลานี ว และมี ่ เกดปั ิ ญหาอุบตั ิเหตุและปั ญหาสังคมเพิ่มขึนตามมา เนื่ องจากลักษณะการใช้ แนวโน้มที่จะกอให้ ่ ตอบสนองความจําเป็ นพืนฐานในเรื่ องการเดินทางเพียงอยาง ่ รถจักรยานยนต์ของคนกลุ่มนี ไมได้ ่ นไปเพื่อตอบสนองความต้องการทางอารมณ์และความรู ้สึก ซึ่ งเกดจากแรงผลั ิ เดียว แตเป็ กดันของ ปั จจัยทางจิตวิทยา จึงทําให้ลกั ษณะการใช้งานรถจักรยานยนต์ของคนกลุ่มนี เบี่ยงเบนไปจากการใช้ ่ นกนบนท้ ั งานในชี วิตประจําวันตามปกติ เชน่ การใช้รถจักรยานยนต์เพื่อแขงขั องถนน การใช้ ิ ่ ่ ความเร็ วสู งเกนกวาความเร็ วควบคุม การขับขี่รถจักรยานยนต์แซงและเปลี่ยนชองจราจรไปมา เป็ น ต้น จากรายงานของกระทรวงสาธารณสุ ขพบวา่ สาเหตุอนั ดับหนึ่ งของการเสี ยชีวิตจากการบาดเจ็บ ่ 15-24 ปี ซึ่ งมีสัดสวนร้ ่ อยละ 28.8 ของกลุ่มตัวอยางทั ่ งหมด มีสาเหตุมา ของกลุ่มคนที่มีอายุระหวาง

2

่ ่ ว่าสวน ่ จากอุบตั ิเหตุการขนสงทางบก (กระทรวงสาธารณสุ ข, 2549) ในจํานวนนี คงปฏิเสธไมได้ ั อมูลของประเทศ หนึ่ งเป็ นการเสี ยชีวิตอันเนื่ องมาจากอุบตั ิเหตุรถจักรยานยนต์ ซึ่ งสอดคล้องกบข้ ่ สหรัฐอเมริ กาที่พบวา่ กลุ่มคนที่มีอายุนอ้ ยกวา่ 20-29 ปี มีสัดสวนการเสี ยชีวิตเนื่ องจากอุบตั ิเหตุ ั งหมดในปี รถจักรยานยนต์สูงสุ ดคิดเป็ นร้อยละ 31.5 ของจํานวนผูเ้ สี ยชีวิตจากสาเหตุเดียวกนทั 2006 (U.S. Department of Transportation, 2007) ่ า งต้น จะเห็ น ได้ ว่ าการที่ จ ะเปลี่ ย นพฤติ ก รรมการเดิ น ทางของผู ้ใ ช้ จากที่ ก ลาวข้ ่ ่งในกลุ่มวัยรุ่ นนัน เป็ นสิ่ งที่ไมสามารถดํ ่ ่ รถจักรยานยนต์โดยเฉพาะอยางยิ าเนิ นการได้โดยงาย เนื่ อ งจากคนกลุ่ ม นี อ าจใช้ร ถจัก รยานยนต์โ ดยมี เ หตุ ผ ลประการหนึ่ ง มาจากความจํา เป็ นและ ่ ผลอีกประการหนึ่ ง ซึ่ งเป็ นผลมาจากปั จจัยแฝงนัน กมี็ อิทธิ พลสู ง ประโยชน์ในการเดินทาง แตเหตุ ่ ่ ั ตอการใช้ รถจักรยานยนต์ของคนกลุ่มนีดว้ ยเชนกน ํ งศึกษาในมหาวิทยาลัย ความนิ ยมใช้รถจักรยานยนต์ในกลุ่มวัยรุ่ น ยังรวมไปถึงผูท้ ี่ กาลั ่ ง่ มหาวิทยาลัยที่ตงั อยูใ่ นพืนที่ที่ไมมี่ ระบบขนสงสาธารณะที ่ โดยเฉพาะอยางยิ ่เหมาะสมและเพียงพอ ั ่ ั จากการ กบความต้ องการเดิ นทางของนิ สิตนักศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพากจั็ ดอยู่ในกลุ่มนี เชนกน ่ อยละ 82 จากกลุ่มตัวอยางทั ่ งสิ น 1,340 คน สามารถขับขี่ สํารวจข้อมูล พบวา่ นิ สิตกวาร้ ิ ่ อยางสมํ ่ รถจักรยานยนต์ได้และเดินทางโดยใช้รถจักรยานยนต์เพื่อประกอบกจกรรมตางๆ ่าเสม ั บตั ิเหตุจราจร, 2550) สิ่ งที่ตามมากคื็ อ จํานวน (คณะกรรมการดําเนิ นงานโครงการป้ องกนอุ ิ อุบตั ิเหตุที่เกดจากรถจั กรยานยนต์ทงั ภายในและโดยรอบมหาวิทยาลัย จากรายงานการศึกษาพบวา่ ิ บตั ิเหตุจราจรภายในและโดยรอบมหาวิทยาลัยบูรพา กวาร้ ่ อยละ 77 ของกลุ่มตัวอยาง ่ เป็ น การเกดอุ ิ อุบตั ิเหตุที่เกดจากการใช้ รถจักรยานยนต์ ่ างต้น งานวิจยั นี จึงเกดขึ ิ นโดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อตรวจสอบปั จจัยและ จากสาเหตุดงั กลาวข้ ่ ทัศนคติที่มีอิทธิ พลตอการใช้ รถจักรยานยนต์และการเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้รถจักรยานยนต์ของ ่ นิ สิตมหาวิทยาลัยบูรพา โดยมุ่งหวังวา่ เมื่ อทราบปั จจัยและทัศนคติดงั กลาวแล้ ว จะสามารถนํา ํ รถจักรยานยนต์ ผลการวิจยั นันไปประยุกต์ใช้ในการจัดทําแผนเพื่อกาหนดแนวทางในการลดการใช้ ่ ของนิสิตในมหาวิทยาลัยบูรพาตอไป 1.2. วัตถประสงค์ ของโครงการ ุ ่ 1. เพื่อตรวจสอบปั จจัยและทัศนคติของนิ สิตมหาวิทยาลัยบูรพาที่ มีอิทธิ พลตอความตั งใจ เปลี่ยนพฤติกรรมการใช้รถจักรยานยนต์ 2. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้รถจักรยานยนต์ที่เป็ นอยูใ่ นปัจจุบนั ของนิสิตมหาวิทยาลัยบูรพา

3

1.3. ขอบเขตของการวิจัย ํ ํ งศึกษาอยู่ในคณะ สถาบัน หรื อวิทยาลัยของมหาวิทยาลัย งานวิจยั นี กาหนดให้ นิสิตที่กาลั ่ 1,080 จะถูกเลือกจากกลุ่มเป้ าหมายในการสํารวจข้อมูลด้วย บูรพาเป็ นกลุ่มเป้ าหมาย กลุ่มตัวอยาง แบบสอบถาม (Questionnaire survey technique) ทฤษฎีพืนฐานที่ใช้สาํ หรับอธิ บายทัศนคติและ ความตังใจลดการใช้รถจักรยานยนต์ของกลุ่มเป้ าหมาย ได้แก่ The theory of planned behavior ่ (TPB) ซึ่ งเป็ นทฤษฎีที่ได้รับความนิยมเป็ นอยางมากสํ าหรับอธิ บายการแสดงพฤติกรรมของมนุษย์ (Ajzen, 1985, 1991) และ The theory of habit ซึ่งเป็ นทฤษฎีที่ใช้อธิบายพฤติกรรมเคยชินของมนุษย์ ่ ตโนมัติและไมผานกระบวนการคิ ่ ่ ่ เหตุผล (Ronis et al., ในการแสดงออกที่เป็ นไปอยางอั ดอยางมี 1989; Verplanken and Aarts, 1999; Gärling et al., 2001) ข้อ มู ล ที่ ไ ด้จ ากการสั ม ภาษณ์ จ ะถู ก นํ า ไปวิ เ คราะห์ เ บื อ งต้น ด้ ว ยสถิ ติ เ ชิ ง พรรณนา ่ (Descriptive statistics) เพื่อตรวจสอบภาพรวมของข้อมูลที่สาํ รวจได้ จากนันความสัมพันธ์ระหวาง ่ ในแบบจําลองสมมติฐานตามโครงสร้างของ TPB จะถูกวิเคราะห์ดว้ ยวิธีแบบจําลอง ตัวแปรตางๆ สมการเชิ งโครงสร้าง (Structural equation model, SEM) ซึ่ งเป็ นวิธีการทางสถิติที่ใช้สาํ หรับ ่ วแปรที่ซบั ซ้อน เหมาะสําหรับงานวิจยที ํ การศึกษาและอธิบายความสัมพันธ์ระหวางตั ั ่มีการกาหนด แบบจําลองให้วิเคราะห์ในเชิงสาเหตุ (Causal relationship) มีตวั แปรแฝงที่มีตวั แปรสังเกตได้หลาย ่ น และมีความสัมพันธ์ระหวางคาคลาดเคลื ่ ่ ตัวแปร มีความคลาดเคลื่อนในการวัดตัวแปรเหลานั ่ อน (นงลักษณ์ วิรัชยั . 2544; Jöreskog and Sörbom, 1993) ซึ่งมักพบได้บ่อยในงานวิจยั เชิงสังคมศาสตร์ ่ ่ ดได้แกการนํ ่ พฤติกรรมศาสตร์ จิตวิทยา และลาสุ าวิธีการดังกลาวมาประยุ กต์ในงานวิจยั ด้านการ ่ ่ออธิบายพฤติกรรมและทัศนคติของผูเ้ ดินทาง (Golob, 2003; Fujii and Kitamura, 2000) ขนสงเพื ข้อ มู ล และผลลัพ ธ์ ที่ ไ ด้จ ากการวิ เ คราะห์ จ ะถู ก นํา มาสรุ ป เพื่ อ แสดงให้เ ห็ น ปั จ จัย และ ่ ่ นัยสําคัญ จากนันจะเป็ นการ ทัศนคติที่มีอิทธิ พลตอความตั งใจลดการใช้รถจักรยานยนต์อยางมี ่ มนโยบายลดการใช้รถจักรยานยนต์ นําเสนอแนวทางประยุกต์ใช้ผลลัพธ์ที่ได้จากการวิจยั เพื่อสงเสริ ในมหาวิทยาลัยบูรพา 1.4. ประโยชน์ ทคี่ าดว่ าจะได้ รับ 1. ผลลัพธ์จากการวิจยั ทําให้ทราบปั จจัยเชิงทัศนคติซ่ ึ งมีลกั ษณะเป็ นตัวแปรแฝงที่มีอิทธิ พล ่ ่ ตอความตั งใจเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้รถจักรยานยนต์ของกลุ่มเป้ าหมาย ซึ่ งข้อมูลเหลานี ํ อาจนําไปใช้ในการกาหนดแนวทางประชาสั มพันธ์ เพื่อโน้มน้าวและรณรงค์การลดการใช้ รถจัก รยานยนต์ข องนิ สิ ต มหาวิ ท ยาลัย บู ร พา รวมถึ ง การจัด สิ่ ง อํา นวยความสะดวกที่ ่ มให้เกดการลดการใช้ ิ เหมาะสมและตรงตามความต้องการของกลุ่มเป้ าหมาย เพื่อสงเสริ รถจักรยานยนต์ต่อไปในอนาคต

4

่ 2. การวิจยั นีเป็ นการนําเสนอมุมมองใหมในการนํ าทฤษฎีเชิงทัศนคติและพฤติกรรมศาสตร์ มา ประยุกต์ใช้ในการวิจยั ด้านการขนส่ ง ผลการวิจยั ที่ได้จึงอาจใช้เป็ นแนวทางเลือกสําหรับ ั าหรับใช้เป็ นแนวทางปฏิบตั ิและพัฒนาให้ดี ผูส้ นใจที่จะทําการศึกษาในแนวทางเดียวกนสํ ยิง่ ขึนไปในอนาคต 1.5. แผนการดําเนินงาน ่ แผนการดําเนินงานตลอดโครงการสรุ ปดังตารางตอไปนี การดําเนินงานวิจยั

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

ี่ องและออกแบบแบบสอบถาม 1. ทบทวนบทความที่เกยวข้ ่ (Pilot survey) เพื่อตรวจสอบความเหมาะสมของ 2. สํารวจนํารอง แบบสอบถามและคําถามที่ใช้ ้ 3. แกไขแบบสอบถามและทํ าการสํารวจข้อมูล 4. ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลและวิเคราะห์ขอ้ มูลเบืองต้น 5. วิเคราะห์ขอ้ มูลด้วย Structural equation modeling technique ่ ่ ่อนําเสนอรายงานผลการวิจยั แกคณะฯ 6. จัดเตรี ยมรู ปเลมเพื

หมายเหตุ วันเริ่ มโครงการ 16 เมษายน 2551 วันสิ นสุ ดโครงการ 15 เมษายน 2552

1.6. เนือ้ หาการนําเสนอ ่ ่ งความเป็ นมา รายงานฉบับนีเนือหาการนําเสนอตามลําดับดังตอไปนี บทที่ 1 บทนํา กลาวถึ ่ ของปั ญหาการทําวิจยั วัตถุ ประสงค์ ขอบเขตการทําวิจ ัยโดยยอ่ ประโยชน์ที่ คาดวาจะได้ รับ รวมถึงแผนการดําเนินงานตลอดโครงการ บทที่ 2 จะเป็ นการนําเสนอการทบทวนทฤษฎี บทความ ี่ องเพื่อนํามาใช้เป็ นกรอบอ้างอิงในการออกแบบแบบสอบถามและกาหนด ํ และผลงานวิจยั ที่เกยวข้ รู ปแบบของแบบจําลองเชิงทฤษฎีสาํ หรับการวิเคราะห์ขอ้ มูล บทที่ 3 เป็ นการนําเสนอขอบเขตของ ่่ ํ งานวิจยั โดยละเอียด ไมวาจะเป็ นพืนที่ศึกษาและกลุ่มเป้ าหมาย การกาหนดแบบสอบถามและการ ํ สํา รวจข้อ มู ล การกาหนดรู ป แบบของแบบจํา ลองเชิ ง ทฤษฎี และวิธี ก ารที่ ใ ช้วิเ คราะห์ ข อ้ มู ล บทที่ 4 เป็ นการนําเสนอผลลัพธ์ที่ได้จากการวิเคราะห์ขอ้ มูลซึ่งได้แก่ ผลลัพธ์ที่ได้จากการวิเคราะห์ ด้วยสถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์ดว้ ยแบบจําลองสามการเชิงโครงสร้าง บทที่ 5 เป็ นการสรุ ป ่ ผลการวิจยั การประยุกต์ใช้ผลการวิจยั ในเชิงปฎิบตั ิ และข้อเสนอแนะสําหรับการทําวิจยั ครังตอไป สําหรับรายละเอียดเพิ่มเติมที่จาํ เป็ นสําหรับผูอ้ ่าน และบทความของงานวิจยั ครังนี จะได้นาํ เสนอไว้ ในภาคผนวก

12