พระกุมารโอรสของกษัตริย์ลิจฉวี นิสัย

แผนการยึดแคว้นวัชชีของวัสสการพราหมณ์ "โทษของการแตกความสามัคคี" สามัคคีเภทคำฉันท์ ผู้แต่ง นาย ชิต บุรทัต วัตถุประสงค์ ...

Posted by พระอภิธรรมทางไปรษณีย์ อาจารย์ทองสุข ทองกระจ่าง on Friday, January 15, 2016

พระกุมารโอรสของกษัตริย์ลิจฉวี นิสัย

วัสสการพราหมณ์เป็นปุโรหิตแห่งแคว้นมคธ เป็นผู้เฉลียวฉลาดและรอบรู้ศิลปศาสตร์ ดังคำประพันธ์ที่ว่า
อันอัครปุโรหิตาจารย์ พราหมณ์นามวัสสการ
ฉลาดเฉลียวเชี่ยวชิน
กลเวทโกวิทจิตจินต์ สำแดงแจ้งศิล
ปศาสตร์ก็จบสบสรรพ์
ลักษณะนิสัยของวัสสการพราหมณ์
1 รักชาติบ้านเมือง ยอมเสียสละเพื่อประเทศชาติ เมื่อพระเจ้าอชาตศัตรูทรงปรึกษากับวัสสการพราหมณ์เรื่องที่จะทรงแผ่พระบรมเดชานุภาพเอาเมืองวัชชีไว้ในครอบครองและวัสสการพราหมณ์กราบทูลกลอุบายและวิธีการนั้น วัสสการพราหมณ์จะต้องกราบทูลขัดแย้งพระราชดำริของพระเจ้าอชาตศัตรูทำให้ถูกลงพระราชอาญาอย่างหนัก แต่วัสสการพราหมณ์ก็ยอมรับ ทั้งนี้เพื่อจะได้ไปอาศัยอยู่ที่แคว้นวัชชีและดำเนินอุบายทำลายความสามัคคีได้สะดวก
2. วัสสการพราหมณ์เป็นคนเฉลียวฉลาด มีไหวพริบและรอบคอบในการดำเนินกลอุบายด้วยความเฉียบแหลมลึกซึ้ง รู้การควรทำและไม่ควรทำ รอจังหวะและโอกาส การดำเนินงานจึงมีขั้นตอน มีระยะเวลา นับว่าเป็นคนมีแผนงาน ใจเย็น ดำเนินงานด้วยความรอบคอบ มีสติ เป็นคุณลักษณะที่ทำให้วัสสการพราหมณ์ดำเนินกลอุบายจนสำเร็จผล เห็นได้ชัดเจนในขณะที่วัสสการพราหมณ์เข้าเฝ้าฯกษัตริย์ลิจฉวีและได้กล่าวสรรเสริญน้ำพระราชหฤทัยกษัตริย์ลิจฉวีทำให้เกิดความพอพระราชหฤทัย
3 มีความรอบคอบ แม้ว่าวัสสการพราหมณ์จะรู้ชัดว่าบรรดากษัตริย์ลิจฉวีแตกความสามัคคีกันแล้ว แต่ด้วยความรอบคอบก็ลองตีกลองเรียกประชุม บรรดากษัตริย์ลิจฉวีก็ไม่เสด็จมาประชุมกันเลย
4 ความเพียร วัสสการพราหมณ์ใช้เวลา ๓ ปีในการดำเนินการเพื่อให้เหล่ากษัตริย์ลิจฉวีแตกสามัคคีกันซึ่งนับว่าต้องใช้ความเพียรอย่างมาก

พระกุมารโอรสของกษัตริย์ลิจฉวี นิสัย

        https://www.gotoknow.org/posts/329717

พระกุมารโอรสของกษัตริย์ลิจฉวี นิสัย

ทรงมีพระเมตตาต่อพสกนิกรของพระองค์ ทรงทำนุบำรุงบ้านเมืองให้เจริญรุ่งเรือง  บ้านเมืองได้รับการทำนุบำรุงจนกระทั่งมีแสนยานุภาพ ประชาชนสุขสงบ มีมหรสพให้บันเทิง ทรงมีพระราชดำริจะแผ่พระบรมเดชานุภาพ  โดยจะกรีธาทัพไปตีแคว้นวัชชี ทรงมีความรอบคอบ

2.วัสสการพราหมณ์

วัสสการพราหมณ์เป็นปุโรหิตแห่งแคว้นมคธ เป็นผู้เฉลียวฉลาดและรอบรู้ศิลปศาสตร์ รักชาติบ้านเมือง ยอมเสียสละเพื่อประเทศชาติ  เมื่อพระเจ้าอชาตศัตรูทรงปรึกษากับวัสสการพราหมณ์เรื่องที่จะทรงแผ่พระบรมเดชานุภาพเอาเมืองวัชชีไว้ในครอบครองและวัสสการพราหมณ์กราบทูลกลอุบายและวิธีการนั้น  วัสสการพราหมณ์จะต้องกราบทูลขัดแย้งพระราชดำริของพระเจ้าอชาตศัตรูทำให้ถูกลงพระราชอาญาอย่างหนัก  แต่วัสสการพราหมณ์ก็ยอมรับ  ทั้งนี้เพื่อจะได้ไปอาศัยอยู่ที่แคว้นวัชชีและดำเนินอุบายทำลายความสามัคคีได้สะดวก จงรักภักดีต่อพระเจ้าอชาตศัตรู วัสสการพราหมณ์เป็นคนเฉลียวฉลาด มีไหวพริบและรอบคอบในการดำเนินกลอุบายด้วยความเฉียบแหลมลึกซึ้ง รู้การควรทำและไม่ควรทำ รอจังหวะและโอกาส  การดำเนินงานจึงมีขั้นตอน  มีระยะเวลา  นับว่าเป็นคนมีแผนงาน ใจเย็น ดำเนินงานด้วยความรอบคอบ มีสติ เป็นคุณลักษณะที่ทำให้วัสสการพราหมณ์ดำเนินกลอุบายจนสำเร็จผล  เห็นได้ชัดเจนในขณะที่วัสสการพราหมณ์เข้าเฝ้าฯกษัตริย์ลิจฉวีและได้กล่าวสรรเสริญน้ำพระราชหฤทัยกษัตริย์ลิจฉวีทำให้เกิดความพอพระราชหฤทัย มีความรอบคอบ  แม้ว่าวัสสการพราหมณ์จะรู้ชัดว่าบรรดากษัตริย์ลิจฉวีแตกความสามัคคีกันแล้ว  แต่ด้วยความรอบคอบก็ลองตีกลองเรียกประชุม  บรรดากษัตริย์ลิจฉวีก็ไม่เสด็จมาประชุมกันเลย ความเพียร  วัสสการพราหมณ์ใช้เวลา ๓ ปีในการดำเนินการเพื่อให้เหล่ากษัตริย์ลิจฉวีแตกสามัคคีกันซึ่งนับว่าต้องใช้ความเพียรอย่างมาก

3 กษัตริย์ลิจฉวี

ทรงตั้งมั่นในธรรม  กษัตริย์ลิจฉวีล้วนทรงยึดมั่นในอปริหานิยธรรม (ธรรมอันไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเสื่อม) ๗ ประการ ขาดวิจารณญาณ  ทรงเชื่อพระโอรสของพระองค์ที่ทูลเรื่องราวซึ่งวัสสการพราหมณ์ยุแหย่โดยไม่ทรงพิจารณา ทิฐิเกินเหตุ  แม้เมื่อบ้านเมืองกำลังจะถูกศัตรูรุกราน





คุณค่าด้านวรรณศิลป์

ใช้ฉันทลักษณ์ได้อย่างงดงามเหมาะสม โดยเลือกฉันท์ชนิดต่าง ๆ มาใช้สลับกันตามความเหมาะสมกับเนื้อเรื่อง จึงเกิดความไพเราะสละสลวย

 ใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย เห็นภาพชัดเจน  ดัดแปลงฉันท์บางชนิดให้ไพเราะยิ่งขึ้น เช่น เพิ่มสัมผัสบังคับคำสุดท้ายของวรรคแรกกับคำที่ 3 ของวรรคที่ 2 ในฉันท์ 11 ฉันท์ 12 และฉันท์ 14  เป็นที่นิยมแต่งตามมาถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ นายชิต บุรทัต  ยังเพิ่มลักษณะบังคับ ครุ ลหุ  สลับกันลงในกาพย์สุรางคนาง 28 ให้มีจังหวะคล้ายฉันท์ด้วย   

มีการใช้อุปมาอุปไมย

การเปรียบเทียบแบบอุปมาอุปไมย ได้แก่ การนำของสองสิ่งที่มีลักษณะคล้ายกันมาเปรียบเทียบกันโดยมีคำว่า ดุจ เหมือน คล้าย ปานประหนึ่ง เป็นคำเชื่อม สิ่งที่นำมาเปรียบเทียบเรียกว่าอุปมา สิ่งที่รับเปรียบเทียบเรียกว่าอุปไมย           

เช่น ตอนพระเจ้าอชาตศัตรูกริ้ววัสสการพราหมณ์

“กลกะกากะหวาดขมังธนู บห่อนจะเห็นธวัชริปู สิล่าถอย”

วัสสการพราหมณ์เปรียบน้ำพระราชหฤทัยกษัตริย์ลิจฉวี

“เมตตาทยาลุศุภกรรม อุปถัมภการุณย์

สรรเสริญเจริญพระคุณสุน ทรพูนพิบูลงาม

เปรียบปานมหรรณพนที ทะนุที่ประทังความ

ร้อนกายกระหายอุทกยาม นรหากประสบเห็น


การสรรคำ

เล่นสัมผัสในทั้งสัมผัสสระและสัมผัสอักษรอย่างไพเราะ  เช่น  คะเนกล – คะนึงการ  ระวังเหือด – ระแวงหาย ใช้คำง่าย ๆ ในการเล่าเรื่อง  ทำให้ดำเนินเรื่องได้รวดเร็ว  และผู้อ่านเข้าใจเรื่องได้ทันที

ใช้คำง่าย ๆ ในการบรรยายและพรรณนาดัวละครได้อย่างกระชับ  และสร้างภาพให้เห็นได้อย่างชัดเจน  







คุณค่าด้านเนื้อหา

นายชิต บุรทัต  แต่งเรื่องนี้ขึ้น  โดยมุ่งชี้ให้เห็นความสำคัญของความสามัคคี เพื่อบ้านเมืองเป็นปึกแผ่นมั่นคง แต่ในปัจจุบันกระแสชาตินิยมลดลง  แต่ความสามัคคีก็เป็นหลักธรรมสำคัญในการทำงานร่วมกันเป็นหมู่คณะ  วรรณคดีเรื่องนี้จึงเป็นเนื้อหาที่มีคติสอนใจทันสมัยอยู่เสมอ

ด้านจริยธรรม เน้นถึงหลักธรรม อปริหานิยธรรม ซึ่งเป็นธรรมอันไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเสื่อม เน้นถึงความสำคัญของการใช้สติปัญญาตริตรอง และแก้ไขปัญหาต่าง ๆ โดยไม่ต้องใช้กำลัง  


ข้อคิดที่ได้จากเรื่อง

1. การขาดการพิจารณาไตร่ตรอง นำไปซึ่งความสูญเสีย ดังเช่น เหล่ากษัตริย์ลิจฉวี

ขาดความสามารถในการใช้ปัญญาตริตรองพิจารณาสอบสวน และใช้เหตุผล​

จึงหลงกลของวัสสการพราหมณ์ ถูกยุแหย่ให้แตกความสามัคคีจนเสียบ้านเสียเมือง เพราะฉะนั้น การใช้วิจารณญาณไตร่ตรองก่อนทำการใด ๆ จึงเป็นสิ่งที่ดี

2. การเลือกใช้บุคคลให้เหมาะสมกับงานจะทำให้งานสำเร็จได้ด้วยดี

3. การถือความคิดของตนเป็นใหญ่และทะนงตนว่าดีกว่าผู้อื่น ย่อมทำให้เกิดความเสียหายแก่ส่วนรวม

4.การไม่ยึดมั่นในธรรมอันดีที่เคยปฏิบัติมาส่งผลให้เกิดสิ่งที่ไม่ดีต่างๆ​  เช่นการที่ชาวบ้านแคว้นวชชีไม่ยึดมั้นในหลักธรรม​ อปริหารนิยธร​ ทำให้เกิดความแตกแยก​  จนทำให้ต้องสูญเสียแคว้นวัชชี

พระเจ้าอชาตศัตรูมีลักษณะนิสัยอย่างไร

มีความฉลาดเฉลียว และรอบรู้ในศาสตร์ต่างๆ เป็นผู้ที่มีความรักชาติ มีความรอบคอบ คิดไตร่ตรองก่อนตัดสินใจ

วัสสการพราหมณ์มีลักษณะนิสัยอย่างไร

2. วัสสการพราหมณ์เป็นคนเฉลียวฉลาด มีไหวพริบและรอบคอบในการดำเนินกลอุบายด้วยความเฉียบแหลมลึกซึ้ง รู้การควรทำและไม่ควรทำ รอจังหวะและโอกาส การดำเนินงานจึงมีขั้นตอน มีระยะเวลา นับว่าเป็นคนมีแผนงาน ใจเย็น ดำเนินงานด้วยความรอบคอบ มีสติ เป็นคุณลักษณะที่ทำให้วัสสการพราหมณ์ดำเนินกลอุบายจนสำเร็จผล เห็นได้ชัดเจนในขณะที่วัสสการ ...

เหล่ากษัตริย์ลิจฉวีทรงยึดมั่นในหลักธรรมอะไร

เหล่ากษัตริย์ลิจฉวีแห่งแคว้นวัชชี ทรงยึดมั่นในอปริหานิยธรรม ซึ่งเน้นความสามัคคีธรรมเป็นหลัก หากถูกโจมตีเหล่ากษัตริย์ลิจฉวีก็จะทรงร่วมกันต่อสู้ จนฝ่ายศัตรูพ่ายแพ้ไป การทำสงครามกับแคว้นวัชชีจึงไม่ใช่เรื่องง่าย ต้องใช้ปัญญา ไม่ใช้กำลัง

แคว้นวัชชีมีคุณธรรมใดที่สำคัญมาก

สำคัญคือ ทรงยึดมั่นในอปริหานิยธรรม ซึ่งเน้นความสามัคคีธรรมเป็นหลัก หากถูกโจมตีเหล่ากษัตริย์ลิจฉวีก็จะทรงร่วมกันต่อสู้ จนฝ่ายศัตรูพ่ายแพ้ไป การทำสงครามกับแคว้นวัชชีจึงไม่ใช่เรื่องง่าย ต้องใช้ปัญญา ไม่ใช้กำลัง