เส้นแบ่งซีกโลกเหนือ ใต้ เรียกว่า

ในภูมิศาสตร์และวิชาการทำแผนที่ ซีกโลก คือการกล่าวถึงส่วนของโลกที่ถูกแบ่งเป็นสองซีก (ซีก หรือ Hemispheres มาจากภาษากรีกโบราณ ἡμισφαίριον hēmisphairion อันมีความหมายว่า "ครึ่งทรงกลม")

เส้นแบ่งซีกโลกเหนือ ใต้ เรียกว่า
การแบ่งพื้นที่โลกด้วยเส้นศูนย์สูตรและเส้นเมริเดียนแรก
เส้นแบ่งซีกโลกเหนือ ใต้ เรียกว่า
ซีกโลกตะวันตก (ซ้าย), ซีกโลกตะวันออก (ขวา)

การแบ่งซีกโลกส่วนมากจะใช้เส้นละติจูดและลองจิจูด:[1]

  • เหนือ–ใต้
    • ซีกโลกเหนือ คือบริเวณครึ่งหนึ่งของโลกที่อยู่เหนือเส้นศูนย์สูตรขึ้นไปถึงขั้วโลกเหนือ
    • ซีกโลกใต้ คือบริเวณครึ่งหนึ่งของโลกที่อยู่ใต้เส้นศูนย์สูตรลงไปถึงขั้วโลกใต้
  • ตะวันออก–ตะวันตก
    • ซีกโลกตะวันออก คือบริเวณครึ่งหนึ่งของโลกที่อยู่ทางตะวันออกของเส้นเมริเดียนแรกไปจนถึงเส้นเมริเดียนที่ 180 องศา
    • ซีกโลกตะวันตก คือบริเวณครึ่งหนึ่งของโลกที่อยู่ทางตะวันตกของเส้นเมริเดียนแรกไปจนถึงเส้นเมริเดียนที่ 180 องศา

การแบ่งซีกโลกตะวันออกและซีกโลกตะวันตกยังมีความสำคัญในแง่ของวัฒนธรรมเพราะแสดงให้ถึงความแตกต่างทางวัฒนธรรมระหว่าง 2 ซีกโลก

อย่างไรก็ตามยังมีการพยายามที่จะแบ่งดาวเคราะห์ออกเป็นสองซีกโดยใช้ลักษณะทางภูมิศาสตร์เป็นเกณฑ์ เช่น:

  • แผ่นดิน–น้ำ[2]
    • ซีกโลกแผ่นดิน คือซีกของโลกที่มีพื้นดินมากที่สุดเท่าที่จะมากได้
    • ซีกโลกสมุทร คือซีกของโลกที่มีน้ำมากที่สุด

เส้นแบ่งซีกโลกเหนือ ใต้ เรียกว่า

ซีกโลกแผ่นดิน

เส้นแบ่งซีกโลกเหนือ ใต้ เรียกว่า

ซีกโลกสมุทร

เส้นแบ่งซีกโลกเหนือ ใต้ เรียกว่า

ซีกโลกแผ่นดินอยู่ทางเหนือของเส้นแดงส่วนซีกโลกสมุทรอยู่ทางใต้ของเส้นแดง

เส้นแบ่งซีกโลกเหนือ ใต้ เรียกว่า

ซีกโลกแผ่นดินอยู่ทางเหนือของเส้นแดงส่วนซีกโลกสมุทรอยู่ทางใต้ของเส้นแดง

นอกจากนี้การฉายแสงของดางอาทิตย์ก็สามารถแบ่งโลกเป็น 2 ซีกคือกลางวันและกลางคืนได้

เส้นแบ่งซีกโลกเหนือ ใต้ เรียกว่า

เส้นแบ่งซีกโลกเหนือ ใต้ เรียกว่า
เส้นเมริเดียน (อังกฤษ: meridian, line of longitude) เป็นเส้นสมมติที่ลากจากขั้วโลกเหนือไปยังขั้วโลกใต้ สร้างขึ้นจากการสมมติเส้นเมริเดียนปฐม มีค่ามุม 0 องศา ลากผ่านตำบลกรีนิซ กรุงลอนดอน ประเทศสหราชอาณาจักร ไปทางทิศตะวันออกและทิศตะวันตก ด้านละ 180 องศา โดยเส้นเมริเดียนที่ 180 องศาตะวันออกและ 180 องศาตะวันตก จะทับกันเป็นเส้นเดียวนี้ให้เป็นเส้นวันที่หรือเส้นแบ่งเขตวันระหว่างชาติ หรือเส้นแบ่งเขตวันสากล เส้นเมริเดียนแรก หรือ เส้นเมริเดียนปฐม (Prime Meridian) คือเส้นเมริเดียนที่ลากผ่านหอดูดาวแห่งหนึ่ง ตำบล กรีนิช ใกล้กรุงลอนดอนในประเทศอังกฤษทั้งนี้เพื่อใช้เป็นหลักอ้างอิงในการนับเส้นเม ริเดียนอื่น ๆ ต่อไป เส้นเมริเดียนรอบโลก มี 360 เส้น แบ่งเป็นเส้นองศา ตะวันออก 180 เส้น และเส้นองศาตะวันตก 180 เส้น ความสำคัญของเส้นเมริเดียน คือ บอกพิกัดของตำแหน่งที่ตั้งต่าง ๆ บนพื้นผิวโลกโดยใช้ร่วมกันเส้นขนาน (เส้นละติจูด) และใช้เป็นแนวแบ่งเขตเวลาของโลก

เส้นแบ่งซีกโลกเหนือ ใต้ เรียกว่า
เส้นแบ่งซีกโลกเหนือ ใต้ เรียกว่า

เส้นแบ่งซีกโลกเหนือ ใต้ เรียกว่า
เส้นเมอริเดียน (Meridian Line) หมายถึง เส้นสมมติที่ลากเชื่อมระหว่างขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต้ ซึ่งมีคุณสมบัติดังนี้
- เส้นเมอริเดียนอยู่ในแนวเหนือใต้
- ปลายเส้นเมอริเดียนจะบรรจบกันที่ขั้วโลกทั้งสอง และห่างกันมากที่สุด   ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร
- เส้นเมอริเดียนแต่ละเส้นจะมีความยาวเป็นครึ่งหนึ่งของวงกลมใหญ่
- บนพื้นโลกจะลากเส้นเมอริเดียนได้ไม่จำกัดจำนวน แต่ที่ปรากฏบนลูกโลกหรือแผนที่จะลากเส้นให้ห่างกันแต่พองามค่ะ

เส้นแบ่งซีกโลกเหนือ ใต้ เรียกว่า

เส้นแบ่งซีกโลกเหนือ ใต้ เรียกว่า
http://th.wikipedia.org/wiki/เส้นเมอริเดียน
เส้นแบ่งซีกโลกเหนือ ใต้ เรียกว่า
http://www.trueplookpanya.com/new/asktrueplookpanya/questiondetail/726

เส้นแบ่งซีกโลกเหนือ ใต้ เรียกว่า