จุด ประสงค์ ในการแต่ง โคลงโลกนิติ

จุด ประสงค์ ในการแต่ง โคลงโลกนิติ

ผู้แต่ง สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเดชาดิศร
ลักษณะคำประพันธ์ เป็นโคลงสี่สุภาพ บางบทมีภาษาบาลีกำกับด้วย จำนวน ๕๙๓ บท
ที่มา มาจากโลกนิติ(โล-กะ-นิ-ติ) เป็นคัมภีร์สอนของอินเดียโบราณ นีติ แปลว่า แนวทางในการดำเนินชีวิต โลก แปลว่า ชาวโลกหรือมนุษย์ คัมภีร์โลกนีติจึงหมายถึง หนังสือคำสอนที่เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตของมนุษย์
จุดมุ่งหมายในการแต่ง เพื่อให้ประชาชนอ่านและรู้สุภาษิตต่างๆ และตามพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเป็นตัวอย่างของโคลงสุภาพจารึกไว้ที่แผ่นศิลาประดับผนังศาลาพระมณฑป ๔ หลัง เมื่อคราวปฏิสังขรวัดเชตุพนวิมลมังคลาราม
ประวัติผู้แต่ง สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเดชาดิศร เป็นพระเจ้าลูกยาเธอลำดับที่ ๑๕ ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย กับ เจ้าจอมมารดานิ่ม (สกุล บุญหลง) พระนามเดิมพระองค์เจ้า(ชาย)มั่ง ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดีที่๑๑ พฤษภาคม พ.ศ.๒๓๓๖ ทรงเป็นหลานตาของเจ้าพระยาโกษาธิบดี (หน ต้นสกุล บุญหลง) ซึ่งมีนามที่นิยมเรียกกันทั่วไปว่าเจ้าพระยาคลัง(หน) ผู้มีฝีมือในการแต่งหนังสือจนได้รับการยกย่องว่าเป็นกวีเอกในรัชกาลที่๒ ได้ทรงกำกับกรมพระอาลักษณ์และสืบเนื่องมาถึงรัชการที่ ๓ และรัชกาลที่ ๔ จนสิ้นพระชนม์ พระกรณียกิจด้านวรรณกรรมเรื่องสำคัญๆได้แก่
๑.โคลงโลกนิติ
๒.โคลงภาพต่างๆ
๓ โคลงนิราศเสด็จไปทัพเวียงจันทร์
๔.ฉันท์สังเวยพระมหาเศวตฉัตร
๕.ฉันท์กล่อมมงคลคเชนทรชำนิเผือกพลาย
๖.ฉันท์ดุษฎีสังเวยพระพุทธบุษยรัตน์
๗.คำฤษฎี

๑.สอนให้ทำความดี
สนิมเหล็กเกิดแต่เนื้อ ในตน
กินกัดเนื้อเหล็กจน กร่อนขร้ำ
บาปเกิดแต่ตนคน เป็นบาป
บาปย่อมทำโทษซ้ำ ใส่ผู้บาปเอง
ถอดคำประพันธ์
ทุกสิ่งทุกอย่างย่อมมีสาเหตุที่มา ผู้กระทำความดีย่อมได้รับผลดีตอบแทน ส่วนผู้ทำชั่ว ก็ย่อมได้รับผลชั่วที่ได้กระทำ เหมือนสนิมเหล็กที่กัดกร่อนตัวเอง
๒.สอนให้มีความเพียรในการศึกษาเล่าเรียน
ความรู้ผู้ปราชญ์นั้น นักเรียน
ฝนทั่งเท่าเข็มเพียร ผ่ายหน้า
คนเกียจเกลียดหน่ายเรียน วนจิต
กลอุทกในตะกร้า เปี่ยมล้นฤามี
ถอดคำประพันธ์
นักปราชญ์เป็นคนที่มีความขยันหมั่นเพียรแม้ทำกิจการใดที่ยากก็ย่อมสำเร็จ (ทั่งคือแท่งเหล็กขนาดใหญ่) แต่คนเกียจคร้านการเรียนทำสิ่งใดก็ไม่สำเร็จเหมือนกับการตักน้ำใส่ในตะกร้า(อุทก หมายถึง น้ำ)

คุณค่าของเรื่อง
๑.คุณค่าทางด้านคติธรรมและคำสอน
โคลงโลกนิติเป็นวรรณคดีประเภทคำสอนที่มีสาระคำสอนที่กว้างขวางครอบคลุมความรู้สึกนึกคิดและชีวิตความเป็นอยู่ของชนทุกกลุ่ม คือ ผู้รู้หรือผู้มีปัญญา คนดี คนพาล ผู้เป็นมิตร สตรี ผู้ปกครอง รวมทั้งคำสอนทั่วไป
๒.คุณค่าทางด้านวรรณศิลป์
โคลงโลกนิติเป็นวรรณคดีทีใช้ถ้อยคำสำนวนที่ไพเราะและมีความหมายลึกซึ้งคมคายด้วยกลวิธีการประพันธ์ต่อไปนี้
๑.นำธรรมชาติใกล้ตัวมาใช้เป็นความเปรียบเทียบ เช่นนำก้านบัวที่สามารถบอกความลึกของน้ำและหย่อมหญ้าที่สามารถบอกสภาพของดินมาเปรียบกับกิริยามารยาทของคนเราที่สามารถพิจารณาได้จากการอบรมเลี้ยงดู
๒.ใช้คู่เปรียบตรงข้าม ทำให้เห็นความหมายที่แตกต่างกันอย่างเด่นชัด เช่น
รักกันอยู่ขอบฟ้า เขาเขียว
เสมออยู่หอแห่งเดียว ร่วมห้อง
ชังกันบ่แลเหลียว ตาต่อ กันนา
เหมือนขอบฟ้ามาป้อง ป่าไม้มาบัง

๓.ใช้คำเข้าใจง่าย ไม่ค่อยมีคำศัพท์ยากทำให้เข้าใจเนื้อคำสอนได้รวดเร็ว เช่น
รู้น้อยกว่ามากรู้ เริงใจ
กลกบเกิดอยู่ใน สระจ้อย
ไป่เห็นชเลไกล กลางสมุทร
ชมว่าน้ำบ่อน้อย มากล้ำลึกเหลือ

๔.เล่นคำซ้ำต้นบาท ทำให้เกิดความไพเราะและเน้นย้ำความหมายเช่น
เว้นวิจารณ์ว่างเว้น สดับฟัง
เว้นที่ถามอันยัง ไป่รู้
เว้นเล่าลิขิตสัง- เกตว่าง เว้นนา
เว้นดั่งกล่าวว่าผู้ ปราชญ์ได้ฤามี

ลักษณะโคลงสี่สุภาพ

จุด ประสงค์ ในการแต่ง โคลงโลกนิติ

ลักณะโคลงสี่สุภาพ


เสียงลือเสียงเล่าอ้าง อันใด พี่เอย
เสียงย่อมยอยศใคร ทั่วหล้า
สองเขือพี่หลับใหล ลืมตื่น ฤๅพี่
สองพี่คิดเองอ้า อย่าได้ถามเผือ
— ลิลิตพระลอ

แบบทบทวน
๑.หากเราจะคบเพื่อน เราควรนำบทประพันธ์ใดจากเรื่องมาใช้เป็นแบบอย่าง
๒.ในการทำความดีของคนเรานั้นในโคลงโลกนิติเปรียบเทียบกับสิ่งใด เพราะ…..
๓.ในโคลงโลกนิติบทใดที่สอนให้เราเป็นคนที่มีวาจาอ่อนหวาน
๔.โคลงโลกนิติบทใดที่เกี่ยวข้องกับสำนวนที่ว่า “สำเนียงส่อภาษา กิริยาส่อสกุล”

ที่มา หนังสือเรียน รายวิชาภาษาไทยพื้นฐานม.๑ วรรณคดีวิจักษ์

Advertisement

Share this:

  • Twitter
  • Facebook

Like this:

ถูกใจ กำลังโหลด...

Related

โคลงโลกนิติ เป็นคำโคลงที่ถูกแต่งไว้ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ดูจากช่วงเวลาแล้ว น้อง ๆ หลายคนคงจะสงสัยว่าเหตุใดบทประพันธ์ที่มีมาตั้งแต่ยุคก่อนโน้น ยังถูกนำมาเป็นบทเรียนให้คนรุ่นหลังสมัยนี้ศึกษาอยู่ โคลงโลกนิติเป็นบทประพันธ์แบบใด ถึงได้รับการอนุรักษ์ไว้มาอย่างยาวนาน วันนี้เรามาเรียนรู้ถึงประวัติความเป็นมาและเรื่องย่อของโคลงโลกนิติกันค่ะ

โคลงโลกนิติ

ประวัติและความเป็นมา

โคลงโลกนิติเป็นบทประพันธ์ที่มีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ไม่ปรากฏนามผู้แต่งที่ชัดเจน เนื่องจากเป็นสุภาษิตเก่าที่ถูกนำมาร้อยเรียงเป็นคำโคลง ต่อมา เมื่อถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงปฏิสังขรณ์วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธ์) และประสงค์ให้มีการนำโคลงโลกนิติมาจารึกลงแผ่นศิลาติดไว้เป็นธรรมทาน เพื่อที่ประชาชนจะได้ศึกษาคติธรรมจากบทประพันธ์

 

ผู้แต่งโคลงโลกนิติ

เดิมทีไม่มีปรากฏชื่อผู้แต่งที่ชัดเจนและไม่มีหลักฐานยืนว่าโคลงโลกนิติถูกแต่งขึ้นเมื่อไหร่ แต่นักวรรณคดีศึกษาคาดว่าโคลงโลกนิติแพร่หลายในสมัยกรุงศรีอยุธยา ต่อมาในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้นำโคลงโลกนิติมาชำระใหม่ก็คือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาเดชาดิศร โดยท่านได้ปรับปรุงโคลงโลกนิติให้ได้ใจความ ถูกต้อง และไพเราะ

จุด ประสงค์ ในการแต่ง โคลงโลกนิติ
จุด ประสงค์ ในการแต่ง โคลงโลกนิติ

ผลงานพระนิพนธ์ของพระองค์มีจำนวนมากทั้งร้อยแก้วและร้อยกรอง แต่คนทั่วไปมักจะรู้จักท่านในนามผู้ประพันธ์โคลงโลกนิติ เพราะผลงานนี้นี่เองที่ทำให้ท่านได้รับการยกย่องว่าเป็นหนึ่งกวีมีมือดีที่แต่งโคลงสี่สุภาพได้อย่างไพเราะและยอดเยี่ยม

 

ลักษณะคำประพันธ์

โคลงโลกนิติ มีลักษณะคำประพันธ์คือเป็นโคลงสี่สุภาพ คือบาทที่ 1 สัมผัสกับ คำที่ 5 ของบาทที่ 2 กับบาทที่ 3 และคำสุดท้ายของบาทที่ 2 ต้องสัมผัสกับ คำที่ 5 ของบาทที่ 4 โดยจะบังคับตำแหน่งวรรณยุกต์ เอก 7 โท 4

จุด ประสงค์ ในการแต่ง โคลงโลกนิติ
จุด ประสงค์ ในการแต่ง โคลงโลกนิติ

 

โคลงโลกนิติมีลักษณะเด่นในการประพันธ์คือ เป็นการแต่งโคลงสี่สุภาพที่เข้าใจง่าย เมื่ออ่านแล้วคนธรรมดาทั่วไปสามารถเข้าใจได้ทันที

 

เรื่องย่อของโคลงโลกนิติ

จุด ประสงค์ ในการแต่ง โคลงโลกนิติ
จุด ประสงค์ ในการแต่ง โคลงโลกนิติ

โคลงโลกนิติ เริ่มต้นโดยการเล่าถึงที่มาว่าพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีความประสงค์ให้นำโคลงโลกนิติมาประพันธ์ใหม่เพื่อประโยชน์แก่ประชาชนก่อนจะเข้าสู่เรื่องราวคำสอนที่หลากหลาย ลักษณะคำสอนในโคลงโลกนิติมี 2 ลักษณะคือ สอนอย่างตรงไปตรงมา และสอนอย่างเปรียบเทียบ โดยเนื้อหาหลัก ๆ จะเกี่ยวกับคุณและโทษจากการคบเพื่อนที่ดีและไม่ดี ลักษณะของคนพาล พิจารณาตนและสังเกตคนรอบข้าง สอนให้ใช้ชีวิตอย่างปลอดภัย สอนเรื่องการประมานตน สอนให้เห็นคุณค่าของความดี เป็นต้น สามารถจัดกลุ่มจริยธรรมคำสอนในเรื่องได้ดังนี้

 

จุด ประสงค์ ในการแต่ง โคลงโลกนิติ
จุด ประสงค์ ในการแต่ง โคลงโลกนิติ

 

หลังจากได้เรียนรู้เรื่องโคลงโลกนิติไปแล้ว น้อง ๆ ก็พอจะเข้าใจแล้วใช่ไหมคะว่าทำไมโคลงโลกนิติถึงยังอยู่ในแบบเรียนวิชาภาษาไทยทั้งที่ตัวบทประพันธ์นั้นมีมาตั้งนานแล้ว โคลงโลกนิติถือเป็นบทประพันธ์เข้ากับยุคสมัย แม้กาลเวลาจะผ่านมานับร้อยปี เพราะสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้นั่นเองค่ะ สุดท้ายนี้ ถ้าน้อง ๆ คนไหนอยากฟังคำอธิบายเพิ่มเติม สามารถรับชมและรับฟังคลิปการสอนย้อนหลังของครูอุ้มได้ ในคลิปครูอุ้มจะอธิบายตัวบทที่แม้ไม่โดดเด่นแต่ก็มีความสำคัญเพิ่มเติมอีกด้วยค่ะ ไปดูกันเลย

 

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

จุด ประสงค์ ในการแต่ง โคลงโลกนิติ
จุด ประสงค์ ในการแต่ง โคลงโลกนิติ

จุด ประสงค์ ในการแต่ง โคลงโลกนิติ
จุด ประสงค์ ในการแต่ง โคลงโลกนิติ

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

ดูคลิป

แนะนำ

แชร์

จุด ประสงค์ ในการแต่ง โคลงโลกนิติ
จุด ประสงค์ ในการแต่ง โคลงโลกนิติ

โคลงโลกนิติ ประวัติความเป็นมาและเรื่องย่อ

โคลงโลกนิติ เป็นคำโคลงที่ถูกแต่งไว้ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ดูจากช่วงเวลาแล้ว น้อง ๆ หลายคนคงจะสงสัยว่าเหตุใดบทประพันธ์ที่มีมาตั้งแต่ยุคก่อนโน้น ยังถูกนำมาเป็นบทเรียนให้คนรุ่นหลังสมัยนี้ศึกษาอยู่ โคลงโลกนิติเป็นบทประพันธ์แบบใด ถึงได้รับการอนุรักษ์ไว้มาอย่างยาวนาน วันนี้เรามาเรียนรู้ถึงประวัติความเป็นมาและเรื่องย่อของโคลงโลกนิติกันค่ะ โคลงโลกนิติ ประวัติและความเป็นมา โคลงโลกนิติเป็นบทประพันธ์ที่มีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ไม่ปรากฏนามผู้แต่งที่ชัดเจน เนื่องจากเป็นสุภาษิตเก่าที่ถูกนำมาร้อยเรียงเป็นคำโคลง ต่อมา เมื่อถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงปฏิสังขรณ์วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธ์) และประสงค์ให้มีการนำโคลงโลกนิติมาจารึกลงแผ่นศิลาติดไว้เป็นธรรมทาน เพื่อที่ประชาชนจะได้ศึกษาคติธรรมจากบทประพันธ์   ผู้แต่งโคลงโลกนิติ เดิมทีไม่มีปรากฏชื่อผู้แต่งที่ชัดเจนและไม่มีหลักฐานยืนว่าโคลงโลกนิติถูกแต่งขึ้นเมื่อไหร่ แต่นักวรรณคดีศึกษาคาดว่าโคลงโลกนิติแพร่หลายในสมัยกรุงศรีอยุธยา

จุด ประสงค์ ในการแต่ง โคลงโลกนิติ
จุด ประสงค์ ในการแต่ง โคลงโลกนิติ

การใช้ There is/There are ทั้งประโยคบอกเล่า/คำถาม/ปฏิเสธ

สวัสดีค่ะนักเรียนชั้น ม.1 ที่รักทุกคน วันนี้เราจะไปเรียนรู้ “การใช้ There is/There are ทั้งประโยคบอกเล่า/คำถาม/ปฏิเสธ” กันจ้า ถ้าพร้อมแล้วก็ไปลุยกันเลยเด้อ ตารางแสดงความแตกต่างของ  There is/There are และ  Have/Has นักเรียนลองสังเกตดูความแตกต่างของการใช้ There is/There are กับ Have/has จากตารางด้านล่าง ดูนะคะ

จุด ประสงค์ ในการแต่ง โคลงโลกนิติ
จุด ประสงค์ ในการแต่ง โคลงโลกนิติ

เรียนรู้เกี่ยวกับคำคุณศัพท์และการเรียงคำคุณศัพท์

Hi guys! สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นป.6 ที่น่ารักทุกคนวันนี้ครูจะพาไปเรียนรู้เรื่อง คำคุณศัพท์ หรือ Adjective ในภาษาอังกฤษกันค่ะ พร้อมแล้วก็ไปลุยกันเลย   ความหมาย   คำคุณศัพท์หรือ Adjective มีตัวย่อคือ Adj.  ทำหน้าที่ขยายคำนามหรือสรรพนามที่อยู่ในประโยค คำนามหรือสรรพนาม ณ ที่นี้ ก็คือ คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่

จุด ประสงค์ ในการแต่ง โคลงโลกนิติ
จุด ประสงค์ ในการแต่ง โคลงโลกนิติ

เตรียมสอบเข้า ม.1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย

เตรียมสอบเข้าม.1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สวัสดีค่ะน้อง ๆ วันนี้มาพบกับพี่แอดมินและ Nock Academy อีกเช่นเคย ซึ่งเรายังคงอยู่กับหัวข้อของการเตรียมสอบเข้าม.1กันนะคะ วันนี้แอดมินจะพาน้อง ๆ ไปรู้จักกับโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาและการเตรียมตัวสอบเข้าในระดับชั้นม.1ของโรงเรียนแห่งนี้กันค่ะ ก่อนอื่นแอดมินต้องขอกล่าวประวัติคร่าว ๆ ของโรงเรียนให้ทุกคนได้รู้จักกันก่อนนะคะ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาเป็นโรงเรียนชายล้วนที่ก่อตั้งขึ้นมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ถือเป็นโรงเรียนรัฐบาลแห่งแรกของประเทศไทย ที่มีความโดดเด่นในเรื่องของวิชาการ ภาษาและความเป็นผู้นำ โดยศิษย์เก่าที่สำเร็จการศึกษามาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยแห่งนี้หลายคนเป็นผู้ที่มีชื่อเสียงและประสบความเร็จจึงทำให้ชื่อเสียงของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยนั้นเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายในสังคมไทยมาอย่างยาวนาน หลักสูตรสวนกุหลาบวิทยาลัย ม.ต้น ในปัจจุบันโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยได้มีการปรังปรุงและพัฒนาหลักสูตรให้มีความเท่าทันสังคมไทยในปัจจุบันมากยิ่งขึ้น

จุด ประสงค์ ในการแต่ง โคลงโลกนิติ
จุด ประสงค์ ในการแต่ง โคลงโลกนิติ

ส่วน 10 หรือ ส่วน 1000 แปลงเป็นทศนิยมกันได้หมดถ้าสดชื่น!

จากบทความที่แล้วเราได้ทราบความสัมพันธ์ของเศษส่วนและทศนิยมไปแล้ว เชื่อว่าน้อง ๆหลายคนคงเกิดคำถามในใจว่า แล้วถ้าเจอเศษส่วนที่ตัวส่วนไม่ใช่ 10, 100 หรือ 1000 ต้องทำอย่างไร บทความนี้จะมาไขข้อสงสัยพร้อมกับแสดงวิธีคิดที่ทำให้น้อง ๆต้องพูดเป็นเสียงเดียวกันว่า ง๊ายง่าย!

จุด ประสงค์ ในการแต่ง โคลงโลกนิติ
จุด ประสงค์ ในการแต่ง โคลงโลกนิติ

ศึกษาตัวบทที่น่าสนใจในวรรณคดีเรื่องมงคลสูตรคำฉันท์

บทนำ สวัสดีน้อง ๆ ที่น่ารักทุกคนกลับมาพบกับบทเรียนภาษาไทยที่น่าสนใจกันอีกเช่นเคย ต่อจากครั้งก่อนที่เราได้เรียนประวัติความเป็นมา เรื่องย่อ และลักษณะคำประพันธ์ของวรรณคดีพระพุทธศาสนาเรื่องมงคลสูตรคำฉันท์ไปแล้ว วันนี้เราจะมาเรียนกันต่อในส่วนที่เป็นตัวบทสำคัญ โดยจะยกตัวบทที่มีความน่าสนใจพร้อมกับถอดความมงคลทั้ง 38 ประการว่ามีอะไรบ้าง  ดังนั้น ถ้าน้อง ๆ คนไหนพร้อมแล้วก็มาเข้าสู่เนื้อหาไปพร้อม ๆ กันเลย     ประวัติความเป็นมา สำหรับประวัติความเป็นมาของเรื่องมงคลสูตรคำฉันท์มาจากการที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือรัชกาลที่ 6 ทรงเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาจึงได้ถอดความอุดมมงคล 38

โคลงโลกนิติมีคุณค่าด้านใด

โคลงโลกนิติให้ความสำคัญแก่ความดีตามหลักศาสนาพุทธ โดยเฉพาะเรื่อง ความสัตย์ การรักษาศีล การให้ทาน ความละอาย ความกตัญญู ความเพียร โคลง หลายบทชักจูงแนะนำให้ผู้อ่านเห็นว่าสิ่งเหล่านี้มีคุณค่าสูง เช่น “เสียสัตย์อย่าเสียสู้ชีพ ม้วยมรณา” (๖๗) “รักอื่นหมื่นแสนไซร้ อย่าสู้รักธรรม” (๒๐๔) “ทรัพย์สิ่งใดไกรทาน ที่ให้” (๒๐๔) เหล่านี้ ...

จุดเด่นของโคลงโลกนิติคำโคลงคืออะไร

เนื้อหาในโคลงโลกนิติจึงมุ่งแสดงความจริงของโลกและสัจธรรมของชีวิต เพื่อให้ผู้อ่านได้รู้เท่าทันต่อโลก และเข้าใจในความเป็นไปของชีวิต พร้อมเป็นแม่แบบเพื่อให้ผู้อ่านได้ดำเนินชีวิตไปในทางที่ถูกต้องดีงามสืบไป

ข้อใดเป็นวัตถุประสงค์หลักในการชำระโคลงโลกนิติ

เพื่อรักษาโคลงสี่สุภาพไว้ เพื่อให้มีหนังสือสุภาษิตอ่าน เพื่อเป็นสุภาษิตสั่งสอนใจประชาชน

โคลงโลกนิติแต่งคำประพันธ์แบบใด

โคลงโลกนิติ มีลักษณะคำประพันธ์คือเป็นโคลงสี่สุภาพ คือบาทที่ 1 สัมผัสกับ คำที่ 5 ของบาทที่ 2 กับบาทที่ 3 และคำสุดท้ายของบาทที่ 2 ต้องสัมผัสกับ คำที่ 5 ของบาทที่ 4 โดยจะบังคับตำแหน่งวรรณยุกต์ เอก 7 โท 4.