การปราบชุมนุมต่างๆของพระเจ้าตาก5ชุมนุม

���稾����ҵҡ�Թ����Ҫ �ç��Ժѵ��Ҫ��ô�ҹ���� �µ�駾���Ҫ��Ըҹ����Ӥѭ��� 3 ��С�� ���

1. ��Һ�����꡵�ҧ � ���㹻���� ����Դ�������ͤ��駡�ا�����ظ����������� �·���ô�������ͧ�Ӥѭ�ͧ�µ�駵����˭� ���繵�ͧ��Һŧ����� �����Ǻ���������Ҫ�ҳҨѡ����ǡѹ
2. ��ͧ�ѹ����Ҫ�ҳҨѡ� ��觨е�ͧ�Դ�֡ʧ����������ҧ��͹ �����ѵ����¹͡������ѧ�����ص��索Ҵ
3 . ���к��പҹ��Ҿ �����Ҫ�ҳҨѡ���Т����ӹҨ�ͧ��������Թ⴨չ �����ҧ�˭�������觢��

10.1 ���稾����ҵҡ�Թ�ç��Һ�������������ú�ҧ ?

ชุมนุม 5 ชุมนุม ในสมัยกรุงธนบุรี

กุมภาพันธ์ 10, 2012 · Filed under Uncategorized

ชุมนุม 5 ชุมนุม ในสมัยกรุงธนบุรี มีดังนี้

1. เมืองพระฝาง คือกลุ่มชาวบ้านที่มีหัวหน้าชื่อ เรือน ซึ่งในอดีตเป็นพระภิกษุ ชั้นราชาคณะ ของ เมืองเหนือ เรียกว่า สังฆราชเรือน ได้สึกออกมาและรวบรวมผู้คนซ่องสุมกำลังป้องกันตนเอง อยู่ที่เมืองฝาง ซึ่งเป็นเมืองชายแดนเหนือสุดตามลำแม่น้ำน่านของกรุงศรีอยุธยา เป็นเมืองที่มีพระธาตุศักดิ์สิทธิ์ที่นับถือกันมาตั้งแต่เมื่อครั้งเมืองฝางยังเป็นดินแดนของแคว้นสุโขทัย ปัจจุบันตั้งอยู่ที่ตำบลผาจุก อำเภอเมือง
จังหวัดอุตรดิตถ์
2. เมืองพิษณุโลก ซึ่งเคยเป็นหัวเมืองทางเหนือที่สำคัญของอยุธยา และเคยเป็นเมืองสำคัญของสุโขทัย มาก่อน เจ้าเมืองพิษณุโลก ( เรือง ) ได้สถาปนาตนขึ้นเป็นพระเจ้าแผ่นดิน และรวบรวมบ้านเมืองที่เคยเป็นเมืองทางเหนือ ของอยุธยาไว้ด้วยกันแต่ก็ไม่สามารถทำได้สำเร็จ จึงมีอำนาจอยู่เฉพาะที่เมืองพิษณุโลกเท่านั้น
3. เมืองพิมาย มีเจ้าพิมายรวบรวมผู้คนในละแวกเมืองพิมาย ซึ่งเป็นบริเวณที่มีผู้คนมาก เนื่องจากเป็น ดินแดนของการตั้งรกรากที่อาศัยมาแต่ดั้งเดิม และเป็นบ้านเมืองที่เจริญมาตั้งแต่ราชอาราจักรขอมกัมพูชา กรมหมื่นเทพพิพิธ เชื้อพระวงศ์ชั้นสูงของราชสำนักอยุธยาได้หนีมาอยู่กับเจ้าพิมายด้วย แต่อำนาจทั้งหลายยังคงอยู่ที่เจ้าพิมายซึ่งมีฐานกำลังของคนพื้นเมืองพวกเดียวกัน
4. เมืองนครศรีธรรมราช เมืองใหญ่บนดินแดนแหลมมลายูของราชอาณาจักรอยุธยาเดิมและเคยเป็นเมืองสำคัญแต่โบราณ ที่ถูกอยุธยาผนวกดินแดนไว้ตั้งแต่ก่อนการสถาปนากรุงศรีอยุธยา ปลัดเมืองนครศรีธรรมราชชื่อหนูตั้งตัวเป็นใหญ่
หัวเมืองอื่นๆ ตั้งแต่ใต้เมืองไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานีลงไป อาทิเช่นเมืองสงขลา เมืองพัทลุง ต่างก็ยอมรับอำนาจของเจ้าเมืองนครศรีธรรมราช ( หนู ) แต่โดยดี
5. เมืองจันทบุรี ซึ่งตั้งอยู่นอกเขตการรุกรานของกองทัพพม่าที่เข้ามาทำสงครามครั้งนี้ หัวหน้าคือพระยาตาก ( สิน ) ซึ่งต่อมาคือพระเจ้ากรุงธนบุรี หรือที่เรียกกันทั่วไปว่าพระเจ้าตากสินมหาราช ขุนนางหัวเมืองเหนือของกรุงศรีอยุธยาที่ถูกเรียกมาช่วยป้องกัน พระนครศรีอยุธยา ได้นำทหารหัวเมืองที่ติดตามมาด้วยกันประมาณ 500 กว่าคน ตีฝ่าวงล้อมกองทัพพม่าที่ปิดล้อมกรุงศรีอยุธยาออกมาได้ และมาตั้งมั่นรวบรวมผู้คนจากบ้านเมืองแถบชายฝั่งทะเลตะวันออกตั้งแต่ระยองลงไป

 

Advertisement

Share this:

  • Twitter
  • Facebook

Like this:

ถูกใจ กำลังโหลด...

แผนการปราบปรามชุมนุมต่างๆ เริ่มขึ้นใน พ.ศ. 2311 ด้วยการยกทัพเรือจากธนบุรี เพื่อปราบปรามชุมนุมพิษณุโลก แต่ไม่ประสบความสำเร็จ เพราะได้รับการต่อต้านจนกระทั่งพระเจ้าตากทรงบาดเจ็บต้องยกทัพกลับ ส่วนทางพระยาพิษณุโลกเห็นเป็นโอกาสเหมาะจึงตั้งตัวเป็นกษัตริย์ พอราชาภิเษกได้ 7 วัน ก็ประชวรและถึงแก่พิราลัยในที่สุด พระอินทร์อากรน้องชายได้ขึ้นครองเมืองแทน เมืองพิษณุโลกก็เริ่มอ่อนแอทรุดโทรมลงตามลำดับ ด้วยเหตุนี้เจ้าพระฝางเห็นเป็นโอกาสเหมาะ จึงยกทัพลงมาตีเมืองพิษณุโลกเอาไว้ได้ในที่สุด
        ทางฝ่ายสมเด็จพระเจ้าตาก เมื่อทราบข่าวพระยาพิษณุโลกถึงแก่พิราลัยและเมืองพิษณุโลกเกิดรบพุ่งกับเจ้า พระฝางเมืองสวางคบุรี ก็เห็นเป็นโอกาสเหมาะจึงยกทัพไปตีชุมนุมเจ้าพิมาย และตีได้เป็นชุมนุมแรก
           พ.ศ.2312 โปรดให้ยกทัพไปตีชุมนุมเจ้านครศรีธรรมราช และสามารถตีเมืองนครศรีธรรมราชได้ มีผลทำให้อำนาจของกรุงธนบุรีขยายไปถึงสงขลา พัทลุงและเทพา
           พ.ศ.2313 ได้ยกทัพไปปราบเจ้าพระฝางได้เป็นผลสำเร็จ ซึ่งขณะเดียวกันก็ยึดเมืองพิษณุโลกได้ด้วย

พระเจ้าตากปราบชุมนุมใดบ้าง

พ.ศ.2311 สมเด็จพระเจ้าตากทาพิธีปราบดาภิเษกขึ้นครองราชย์ เป็น สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี Page 4 พ.ศ.2311 เริ่มปราบชุมนุมเจ้าพระยาพิษณุโลก แต่ไม่สาเร็จปราบชุมนุมเจ้าพิมายสาเร็จเป็นชุมนุมแรก พ.ศ.2312 ปราบชุมนุมเจ้านครศรีธรรมราชสาเร็จ ยกทัพไปตีเขมรครั้งแรกแต่ไม่สาเร็จ

จุดประสงค์ในการปราบปรามชุมนุมต่างๆในสมัยธนบุรี เพื่ออะไร

เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงขับไล่พม่าออกจากกรุงศรีอยุธยาแล้วพระองค์ทรงย้ายราชธานีไปตั้งที่เมืองธนบุรี ต่อจากนั้นทรงปราบปรามชุมนุมต่าง ๆ ให้อยู่ในอำนาจเพื่อรวบรวมอาณาจักรให้เป็นปึกแผ่น ได้แก่ การปราบปรามชุมนุมพระยาพิษณุโลก ชุมนุมเจ้าพิมาย ชุมนุมเจ้านครศรีธรรมราช และชุมนุมเจ้าพระฝาง

ชุมนุมต่างๆ ในสมัยกรุงธนบุรีมีกี่ชุมนุม

| หน้าต่อไป | งานกู้ชาติในสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช การรวมตัวกันเป็นชุมนุมต่าง ๆ ในเวลานั้นเมืองไทยได้แตกออกเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ รวมแล้วได้ 5 ชุมนุมด้วยกัน แต่ละชุมนุมมีขนาดและกำลังไม่ยิ่งหย่อนกว่ากัน และครอบครองพื้นที่ครอบคลุมเมืองไทยไว้ทั้งหมด ดังนี้

สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงปรามชุมนุมต่าง ๆ เพราะเหตุใด

สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงพยายามที่จะขยายอำนาจเพื่อรวบรวมดินแดนของกรุงศรีอยุธยาเดิมให้กลับมาอยู่ใต้ศูนย์อำนาจรัฐของพระองค์ ได้ทรงนำกำลังออกปราบปรามหัวเมืองต่างๆ ที่ตั้งตนเป็นอิสระตามภูมิภาคต่างๆ ภายหลังการล่มสลายของศูนย์อำนาจรัฐกรุงศรีอยุธยา โดยเลือกที่จะปราบชุมนุมพิษณุโลกเป็นแห่งแรกใน พ.ศ. ๒๓๑๑ ทั้งนี้คงเป็นเพราะว่า ...