องค์ประกอบของสถาปัตยกรรมอินเทอร์เน็ตสรรพสิ่งทั้ง 3 องค์ประกอบ

อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

องค์ประกอบของสถาปัตยกรรมอินเทอร์เน็ตสรรพสิ่งทั้ง 3 องค์ประกอบ

"อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง" เชื่อมต่ออุปกรณ์และพาหนะด้วยเซ็นเซอร์อิเล็กทรอนิกส์และอินเทอร์เน็ต

อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (อังกฤษ: Internet of Things) หรือ ไอโอที (IoT) หมายถึงเครือข่ายของวัตถุ อุปกรณ์ พาหนะ สิ่งปลูกสร้าง และสิ่งของอื่นๆ ที่มีวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ซอฟต์แวร์ เซ็นเซอร์ และการเชื่อมต่อกับเครือข่าย ฝังตัวอยู่ และทำให้วัตถุเหล่านั้นสามารถเก็บบันทึกและแลกเปลี่ยนข้อมูลได้[1] อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งทำให้วัตถุสามารถรับรู้สภาพแวดล้อมและถูกควบคุมได้จากระยะไกลผ่านโครงสร้างพื้นฐานเครือข่ายที่มีอยู่แล้ว[2] ทำให้เราสามารถผสานโลกกายภาพกับระบบคอมพิวเตอร์ได้แนบแน่นมากขึ้น ผลที่ตามมาคือประสิทธิภาพ ความแม่นยำ และประโยชน์ทางเศรษฐกิจที่เพิ่มมากขึ้น[3][4][5][6][7][8] เมื่อ IoT ถูกเสริมด้วยเซ็นเซอร์และแอคชูเอเตอร์ซึ่งสามารถเปลี่ยนลักษณะทางกลได้ตามการกระตุ้น ก็จะกลายเป็นระบบที่ถูกจัดประเภทโดยทั่วไปว่าระบบไซเบอร์-กายภาพ (cyber-physical system) ซึ่งรวมถึงเทคโนโลยีอย่าง กริดไฟฟ้าอัจริยะ (สมาร์ตกริด) บ้านอัจฉริยะ (สมาร์ตโฮม) ระบบขนส่งอัจฉริยะ (อินเทลลิเจนต์ทรานสปอร์ต) และเมืองอัจฉริยะ (สมาร์ตซิตี้) วัตถุแต่ละชิ้นสามารถถูกระบุได้โดยไม่ซ้ำกันผ่านระบบคอมพิวเตอร์ฝังตัว และสามารถทำงานร่วมกันได้บนโครงสร้างพื้นฐานอินเทอร์เน็ตที่มีอยู่แล้วในปัจจุบัน ผู้เชี่ยวชาญประเมินว่าเครือข่ายของสรรพสิ่งจะมีวัตถุเกือบ 50,000 ล้านชิ้นภายในปี 2020[9] มูลค่าตลาดคาดการณ์ไว้ที่ 80 พันล้านเหรียญ[10]

"สรรพสิ่ง" ในความหมายของ IoT สามารถหมายถึงอุปกรณ์ที่แตกต่างหลากหลาย เช่น อุปกรณ์วัดอัตราหัวใจแบบฝังในร่างกาย แท็กไบโอชิปที่ติดกับปศุสัตว์ ยานยนต์ที่มีเซ็นเซอร์ในตัว อุปกรณ์วิเคราะห์ดีเอ็นเอในสิ่งแวดล้อมหรืออาหาร[11] หรืออุปกรณ์ภาคสนามที่ช่วยในการทำงานของนักผจญเพลิงในภารกิจค้นหาและช่วยเหลือ[12] อุปกรณ์เหล่านี้จะจัดเก็บข้อมูลที่เป็นประโยชน์ด้วยการใช้เทคโนโลยีหลากหลายชนิดและจากส่งต่อข้อมูลระหว่างอุปกรณ์อื่นๆ โดยอัตโนมัติ[13][14] ตัวอย่างในตลาดขณะนี้ เช่น เทอร์โมสตัตอัจฉริยะ และเครื่องซักผ้า-อบผ้าที่ต่อกับเครือข่ายไวไฟเพื่อให้สามารถดูสถานะจากระยะไกลได้

รายการต่อไปนี้แสดงรายชื่อประเทศตามจำนวนอุปกรณ์อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งที่ออนไลน์อยู่ ต่อประชากร 100 คน ตามที่เผยแพร่โดย OECD ในปี 2015[15]

อันดับประเทศอุปกรณ์ออนไลน์ขนาดโดยเปรียบเทียบ
1
องค์ประกอบของสถาปัตยกรรมอินเทอร์เน็ตสรรพสิ่งทั้ง 3 องค์ประกอบ
 
เกาหลีใต้
37.9
2
องค์ประกอบของสถาปัตยกรรมอินเทอร์เน็ตสรรพสิ่งทั้ง 3 องค์ประกอบ
 
เดนมาร์ก
32.7
3
องค์ประกอบของสถาปัตยกรรมอินเทอร์เน็ตสรรพสิ่งทั้ง 3 องค์ประกอบ
 
สวิตเซอร์แลนด์
29.0
4
องค์ประกอบของสถาปัตยกรรมอินเทอร์เน็ตสรรพสิ่งทั้ง 3 องค์ประกอบ
 
สหรัฐ
24.9
5
องค์ประกอบของสถาปัตยกรรมอินเทอร์เน็ตสรรพสิ่งทั้ง 3 องค์ประกอบ
 
เนเธอร์แลนด์
24.7
6
องค์ประกอบของสถาปัตยกรรมอินเทอร์เน็ตสรรพสิ่งทั้ง 3 องค์ประกอบ
 
เยอรมนี
22.4
7
องค์ประกอบของสถาปัตยกรรมอินเทอร์เน็ตสรรพสิ่งทั้ง 3 องค์ประกอบ
 
สวีเดน
21.9
8
องค์ประกอบของสถาปัตยกรรมอินเทอร์เน็ตสรรพสิ่งทั้ง 3 องค์ประกอบ
 
สเปน
19.9
9
องค์ประกอบของสถาปัตยกรรมอินเทอร์เน็ตสรรพสิ่งทั้ง 3 องค์ประกอบ
 
ฝรั่งเศส
17.6
10
องค์ประกอบของสถาปัตยกรรมอินเทอร์เน็ตสรรพสิ่งทั้ง 3 องค์ประกอบ
 
โปรตุเกส
16.2
11
องค์ประกอบของสถาปัตยกรรมอินเทอร์เน็ตสรรพสิ่งทั้ง 3 องค์ประกอบ
 
เบลเยียม
15.6
12
องค์ประกอบของสถาปัตยกรรมอินเทอร์เน็ตสรรพสิ่งทั้ง 3 องค์ประกอบ
 
สหราชอาณาจักร
13.0
13
องค์ประกอบของสถาปัตยกรรมอินเทอร์เน็ตสรรพสิ่งทั้ง 3 องค์ประกอบ
 
แคนาดา
11.6
14
องค์ประกอบของสถาปัตยกรรมอินเทอร์เน็ตสรรพสิ่งทั้ง 3 องค์ประกอบ
 
อิตาลี
10.2
15
องค์ประกอบของสถาปัตยกรรมอินเทอร์เน็ตสรรพสิ่งทั้ง 3 องค์ประกอบ
 
บราซิล
9.2
16
องค์ประกอบของสถาปัตยกรรมอินเทอร์เน็ตสรรพสิ่งทั้ง 3 องค์ประกอบ
 
ญี่ปุ่น
8.2
17
องค์ประกอบของสถาปัตยกรรมอินเทอร์เน็ตสรรพสิ่งทั้ง 3 องค์ประกอบ
 
ออสเตรเลีย
7.9
18
องค์ประกอบของสถาปัตยกรรมอินเทอร์เน็ตสรรพสิ่งทั้ง 3 องค์ประกอบ
 
เม็กซิโก
6.8
19
องค์ประกอบของสถาปัตยกรรมอินเทอร์เน็ตสรรพสิ่งทั้ง 3 องค์ประกอบ
 
โปแลนด์
6.3
20
องค์ประกอบของสถาปัตยกรรมอินเทอร์เน็ตสรรพสิ่งทั้ง 3 องค์ประกอบ
 
จีน
6.2
21
องค์ประกอบของสถาปัตยกรรมอินเทอร์เน็ตสรรพสิ่งทั้ง 3 องค์ประกอบ
 
โคลอมเบีย
6.1
22
องค์ประกอบของสถาปัตยกรรมอินเทอร์เน็ตสรรพสิ่งทั้ง 3 องค์ประกอบ
 
รัสเซีย
4.9
23
องค์ประกอบของสถาปัตยกรรมอินเทอร์เน็ตสรรพสิ่งทั้ง 3 องค์ประกอบ
 
ตุรกี
2.3
24
องค์ประกอบของสถาปัตยกรรมอินเทอร์เน็ตสรรพสิ่งทั้ง 3 องค์ประกอบ
 
อินเดีย
0.6

อ้างอิง[แก้]

  1. "Internet of Things Global Standards Initiative". ITU. สืบค้นเมื่อ 26 June 2015.
  2. https://hbr.org/resources/pdfs/comm/verizon/18980_HBR_Verizon_IoT_Nov_14.pdf
  3. http://www.internet-of-things-research.eu/pdf/Converging_Technologies_for_Smart_Environments_and_Integrated_Ecosystems_IERC_Book_Open_Access_2013.pdf
  4. http://www.cisco.com/web/solutions/trends/iot/introduction_to_IoT_november.pdf
  5. http://cordis.europa.eu/fp7/ict/enet/documents/publications/iot-between-the-internet-revolution.pdf
  6. http://www.vs.inf.ethz.ch/publ/papers/Internet-of-things.pdf
  7. http://www.cognizant.com/InsightsWhitepapers/Reaping-the-Benefits-of-the-Internet-of-Things.pdf
  8. "The Supply Chain: Changing at the Speed of Technology". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-08-22. สืบค้นเมื่อ 2015-09-18.
  9. Dave Evans (April 2011). "The Internet of Things: How the Next Evolution of the Internet Is Changing Everything" (PDF). Cisco. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2015-09-06. สืบค้นเมื่อ 4 September 2015.
  10. Toptal - หน้าแรกสมาร์ท: การท่องเที่ยวทางอินเทอร์เน็ตของสิ่งต่างๆ
  11. Erlich, Yaniv (2015). "A vision for ubiquitous sequencing". Genome Research. 25 (10): 1411–1416. doi:10.1101/gr.191692.115. ISSN 1088-9051.
  12. I. Wigmore: "Internet of Things (IoT)". TechTarget, June 2014.
  13. Farooq, M.U.; Waseem, Muhammad; Khairi, Anjum; Mazhar, Sadia (2015). "A Critical Analysis on the Security Concerns of Internet of Things (IoT)". International Journal of Computer Applications (IJCA). 11: 1–6. doi:10.5120/19547-1280.
  14. Hendricks, Drew. "The Trouble with the Internet of Things". London Datastore. Greater London Authority. สืบค้นเมื่อ 10 August 2015.
  15. "Figure 6.6 Devices online per 100 inhabitants, top OECD countries". doi:10.1787/888933225312.

อ่านเพิ่ม[แก้]

  • Zanella, Andrea; Bui, Nicola; Castellani, Angelo; Vangelista, Lorenzo; Zorzi, Michele. "Internet of Things for Smart Cities". IEEE Internet of Things Journal, VOL. 1, NO. 1, FEBRUARY 2014.
  • Guinard, Dominique; Vlad, Trifa (2015). Building the Web of Things. Manning. ISBN 9781617292682.
  • Atzori, Luigi; Iera, Antonio; Morabito, Giacomo. "The internet of things: A survey" (PDF). Computer Networks, Elsevier, The Netherlands, 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2014-10-21. สืบค้นเมื่อ 2016-01-30.
  • Carsten, Paul (2015). "Lenovo to stop pre-installing controversial software". Reuters. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-03-19. สืบค้นเมื่อ 2016-01-30.
  • Chaouchi, Hakima. The Internet of Things. London: Wiley-ISTE, 2010.
  • Chabanne, Herve, Pascal Urien, and Jean-Ferdinand Susini. RFID and the Internet of Things. London: ISTE, 2011.
  • "Disruptive Technologies Global Trends 2025" (PDF). U.S. National Intelligence Council (NIC).
  • Fahrion, Mike (2015). "Internet of Things for the Modern M2M". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-10-09. สืบค้นเมื่อ 2016-01-30.
  • Fell, Mark (2014). "Roadmap for the Emerging Internet of Things - Its Impact, Architecture and Future Governance" (PDF). Carré & Strauss, United Kingdom.
  • Fell, Mark (2013). "Manifesto for Smarter Intervention in Complex Systems" (PDF). Carré & Strauss, United Kingdom.
  • Jayavardhana Gubbi; Rajkumar Buyya; Slaven Marusic; Marimuthu Palaniswami (September 2013). "Internet of Things (IoT): A Vision, Architectural Elements, and Future Directions" (PDF). Future Generation Computer Systems, Elsevier, The Netherlands.
  • Hersent, Olivier, David Boswarthick and Omar Elloumi. The Internet of Things: Key Applications and Protocols. Chichester, West Sussex: Wiley, 2012.
  • Howard, Philip. "Pax Technica: Will The Internet of Things Lock Us Up or Set Us Free?". Yale University Press, New Haven CT, 2015.
  • "Internet of Things in 2020: A Roadmap for the future" (PDF). EPoSS. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2014-02-11. สืบค้นเมื่อ 2016-01-30.
  • Ishaq, Isam; Carels, David; Teklemariam ,Girum K.; Hoebeke, Jeroen; Van den Abeele, Floris; De Poorter, Eli; Moerman, Ingrid; Demeester, Piet (2013). "IETF Standardization in the Field of the Internet of Things (IoT): A Survey". Journal of Sensor and Actuator Networks, Multidisciplinary Digital Publishing Institute.
  • IERC - European Research Cluster on the Internet of Things: Documents and Publications
  • Michahelles, Florian, et al. Proceedings of 2012 International Conference on the Internet of Things (IOT) : 24–26 October 2012 : Wuxi, China. Piscataway, N.J.: IEEE, 2012.
  • "What is the Internet of Things? An Economic Perspective" (PDF). Auto-ID Labs. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2013-06-02. สืบค้นเมื่อ 2016-01-30.
  • Pfister, Cuno. Getting Started with the Internet of Things. Sebastapool, Calif: O'Reilly Media, Inc., 2011.
  • Stark, John (2015). Product Lifecycle Management: Volume 2. The Devil is in the Details. Appendix B: PLM and the Internet of Things (IoT). Springer. ISBN 978-3-319-24434-1.
  • Uckelmann, Dieter, Mark Harrison and Florian Michahelles. Architecting the Internet of Things. Berlin: Springer, 2011.
  • Weber, Rolf H., and Romana Weber. Internet of Things: Legal Perspectives. Berlin: Springer, 2010.
  • Zhou, Honbo. The Internet of Things in the Cloud: A Middleware Perspective. Boca Raton: CRC Press, Taylor & Francis Group, 2013.
  • Singh, Jatinder; Pasquier, Thomas; Bacon, Jean; Ko, Hajoon; Eyers, David (2015). "Twenty Cloud Security Considerations for Supporting the Internet of Things". IEEE Internet of Things Journal: 1–1. doi:10.1109/JIOT.2015.2460333.
  • THE INTERNET OF THINGS 2015 REPORT: Examining how the IoT will affect the world, Business Insider 2015

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

  • "A New Economic Vision for Addressing Climate Change (Internet of things - part II)". Huffington Post. 2 June 2014. (2014-06-02) and "Monopoly Capitalism vs. Collaborative Commons (Internet of things - part I)". Huffington Post. 7 April 2014. (2014-04-07)
  • Pew Internet canvas of experts, prognosticating on the nature, application, and impact of the Internet of Things in 2025
  • "The Creepy New Wave of the Internet (Internet of things)". (2014-11-02), New York Review of Books
  • The IoT Council
  • Internet of Things and People research center at Malmö University, Sweden
  • Internet of Things could get big with battery free Devices powered by Wi-Fi signals. (PoWi-Fi).
  • IoT and Last Mile Navigation
  • Ramsey, Rachel. "PubNub Brings Reliable, Real-time Connectivity to the IoT with Connected Car Solution Kit". (2014-01-29), IoT Evolution World