การตั้ง ventilator setting

COPD with acute exacerbation, acute cardiogenic pulmonary edema, hypoxemic respiratory failure, hypercapnic encephalopathy, “Do-Not-Intubate/Do-Not-Resuscitate” patients
  • ข้อห้าม ได้แก่ impending cardiovascular collapsed หรือ respiratory arrest, severe GIB, facial surgery/trauma/deformity ที่ไม่สามารถใส่ mask ได้พอดี, UAO, ไม่ร่วมมือ, GCS < 10, เสี่ยงต่อ aspiration, ไม่สามารถ clear respiratory secretion ได้
  • วิธีการ:
    • ให้เริ่มแบบ Low-high approach (IPAP 10, EPAP 5, FiO2 100%) หรือ High-low approach ( IPAP 20-25, EPAP 5, FiO2 100%) [ EPAP 8 ถ้ามี intrinsic PEEP หรือ morbid obesity]
    • ปรับ IPAP ขึ้นหรือลงตามอาการเหนื่อย, RR, VT, และ patient-ventilator synchrony
    • ปรับ PSV (IPAP-EPAP) ถ้ามี hypercapnic
    • ปรับ FiO2 ให้ได้ PO2 86-92%
    • ปรับ EPAP เพิ่ม ถ้ามี hypoxic
    • ดูการตอบสนองภายใน 30 นาที และตรวจ ABG ภายใน 1-2 ชั่วโมง ถ้ายังมี tachypnea, acidemia, หรืออาการไม่ดีขึ้นให้พิจารณาทำ intubation


    High-flow nasal cannula


    การตั้ง ventilator setting
    ภาพจาก teleflex.com
    • ต่างจาก nasal cannula ปกติ (low-flow system ถ้า O2 > 6 L/min จะทำให้ไม่สุขสบาย จมูกแห้ง) คือจะมี oxygen blender, heater humidifier และสามารถเพิ่ม flow ได้สูง  เมื่อ flow สูงก็จะมี room air มาผสมน้อย และ MV เพิ่มขึ้น พบว่ามีประสิทธิภาพคล้ายกับ nasal CPAP
    • ข้อบ่งชี้ ได้แก่ severe acute respiratory failure (PaO2:FiO2 ratio < 300 mmHg), ก่อนและระหว่างการ intubation, เพื่อรักษาหรือป้องกัน postoperative respiratory failure, ใช้ระหว่าง weaning trials และ bronchoscopy
    • วิธีการ ให้ตั้ง flow rate 20-35 L/min [5-60 L/min] แล้วเพิ่มทีละ 5-10 L/min ปรับตาม RR, labored breathing, และ oxygenation โดยพิจารณาเพิ่ม flow ก่อน พยายามให้ FiO2 < 60% และพิจารณาเปลี่ยนกลับมาเป็น conventional low-flow nasal cannula ถ้า setting ของ HFNC flow rate <  20 L/min และ FiO2 < 50%



    การให้ยาในผู้ป่วยที่ on mechanical ventilation


    Neuromuscular blockage

    • ข้อดี คือ ทำให้ patient-ventilator synchrony ดีขึ้น, เพิ่ม gas exchange, ลดความเสี่ยงต่อ barotrauma, ลด muscle O2 consumption, ทำหัตถการได้สะดวกขึ้น, ลดการขยับที่อาจไปเพิ่ม IICP
    • ข้อเสีย คือ เมื่อให้นานพบว่าการ recovery ช้าลง, เกิด critical illness myopathy, postparalysis syndrome, polyneuropathy of critical illness, acute quadriplegic myopathy syndrome
    • ก่อนให้ยาต้องให้ sedation และ analgesia ก่อน ใน ER นิยมให้ยาที่ออกฤทธิ์สั้น ได้แก่ vecuronium, pancuronium
      • Vecuronium มี half-life 80-90 นาที ไม่มีผลกระทบจาก renal หรือ hepatic failure และมีผลต่อ hemodynamic น้อย; ให้แบบ intermittent bolus 0.1 mg/kg
      • Pancuronium  มี half-life 100-130 นาที และนานขึ้นถ้ามี renal หรือ hepatic failure และอาจทำให้เกิด tachycardia, hypertension, และเพิ่ม cardiac output; ให้แบบ intermittent bolus 0.05-0.1 mg/kg

    Sedation

    • ให้ในขนาดน้อยที่สุด ปรับตาม sedation scale ยกเว้นถ้าให้ neuromuscular blockage ต้องให้ sedation ให้เพียงพอ; ถ้าเป็นไปได้ให้หลีกเลี่ยง BZD
    • Sedation ได้แก่ propofol (5-80 mcg/kg/min), dexmedetomidate (0.2-1.5 mcg/kg/h), lorazepam, midazolam, haloperidol, remifentanil