หนังสือดิจิทัลมีประโยชน์อย่างไร

ทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล หรือ Digital literacy หมายถึง ทักษะในการนำเครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีอยู่ในปัจจุบัน อาทิ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ แทปเลต โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และสื่อออนไลน์ มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในการสื่อสาร การปฏิบัติงาน และการทำงานร่วมกัน หรือใช้เพื่อพัฒนากระบวนการทำงาน หรือระบบงานในองค์กรให้มีความทันสมัยและมีประสิทธิภาพ

     ทักษะดังกล่าวครอบคลุมความสามารถ 4 มิติ

  • การใช้ (Use)
  • เข้าใจ (Understand)
  • การสร้าง (create)
  • เข้าถึง (Access) เทคโนโลยีดิจิทัล ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

หนังสือดิจิทัลมีประโยชน์อย่างไร

หนังสือดิจิทัลมีประโยชน์อย่างไร

หนังสือดิจิทัลมีประโยชน์อย่างไร

หนังสือดิจิทัลมีประโยชน์อย่างไร

หนังสือดิจิทัลมีประโยชน์อย่างไร

หนังสือดิจิทัลมีประโยชน์อย่างไร

หนังสือดิจิทัลมีประโยชน์อย่างไร

หนังสือดิจิทัลมีประโยชน์อย่างไร

หนังสือดิจิทัลมีประโยชน์อย่างไร

หนังสือดิจิทัลมีประโยชน์อย่างไร

 

หมายเหตุ ในระยะเริ่มต้นของการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลให้แก่ข้าราชการและบุคลากรภาครัฐ ได้มีการนำ “มาตรฐานสมรรถนะสาขาผู้ใช้ไอที (Digital Literacy) จัดทำโดยสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี” ซึ่งมีความชัดเจนและครอบคลุมองค์ประกอบที่จำเป็น  มาใช้ไปพลางก่อน และในระยะต่อไป สำนักงาน ก.พ. จะร่วมกับสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) จัดทำ องค์ประกอบทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลให้เหมาะสมและสอดคล้องกับบริบทและลักษณะงานของข้าราชการและบุคลากรภาครัฐมากขึ้น


หนังสือดิจิทัลมีประโยชน์อย่างไร
หนังสือดิจิทัลมีประโยชน์อย่างไร

Infographics ทั้งหมด

ในปัจจุบันโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว จากยุค Analog ไปสู่ยุค Digital และยุค Robotic จึงทำให้เทคโนโลยีดิจิทัลมีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตและการทำงาน ข้าราชการซึ่งเป็นแกนหลักของการพัฒนาประเทศ จึงต้องปรับตัวให้สอดคล้องกับบริบทของการเปลี่ยนแปลง เพื่อป้องกันไม่ให้เกิด culture shock เนื่องจากการเปลี่ยนผ่านเทคโนโลยี และเพื่อป้องกันความเสี่ยงที่อาจเกิดจากการใช้เทคโนโลยีที่ไม่เหมาะสม เช่น การสูญเสียการเป็นส่วนตัว ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน การโจรกรรมข้อมูล การโจมตีทางไซเบอร์ เป็นต้น

Digital literacy หรือทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เป็นทักษะด้านดิจิทัลพื้นฐานที่จะเป็นตัวช่วยสำคัญ สำหรับข้าราชการในการปฏิบัติงาน การสื่อสาร และการทำงานร่วมกันกับผู้อื่นในลักษณะ “ทำน้อย ได้มาก” หรือ “Work less but get more impact” และช่วยส่วนราชการสร้างคุณค่า (Value Co-creation) และความคุ้มค่าในการดำเนินงาน (Economy of Scale) เพื่อการก้าวไปสู่การเป็นประเทศไทย 4.0 อีกทั้งยังเป็นเครื่องมือช่วยให้ข้าราชการ สามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองเพื่อให้ได้รับโอกาสการทำงานที่ดีและเติบโตก้าวหน้าในอาชีพราชการ (Learn and Growth) ด้วย

Digital Publishing หรือ การจัดพิมพ์ดิจิทัล ที่คนส่วนใหญ่นึกถึงคือ Blog หรือ eBook แต่ความจริงแล้วยังครอบคลุมสื่อและเนื้อหาทุกชนิดที่เผยแพร่ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต อาทิ หนังสือ, เพลง, วิดีโอ, ข่าว, เกม, เว็บ, แอปพลิเคชันบนมือถือและอื่นๆ

จากผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยของ ETDA พบว่าคนไทยมีการใช้อินเทอร์เน็ตเพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดดราว 150% มีจำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ต 47.5 ล้านคน หรือราว 70% ของประชาชนทั้งประเทศ นอกจากนี้การเปลี่ยนแปลงต่างๆ และนวัตกรรมด้านเทคโนโลยีดิจิทัลได้ร่วมกันผลักดันให้ธุรกิจออนไลน์เติบโตอย่างรวดเร็ว

ทุกสำนักพิมพ์ ทุกธุรกิจสื่อ ทุกแบรนด์ ทุกธุรกิจ หรือทุกคนที่มีความคิดสร้างสรรค์ มีกลยุทธ์การสร้างสรรค์เนื้อหาที่เหมาะสมก็สามารถกลายเป็นผู้เผยแพร่เนื้อหาเพื่อสร้างโอกาสใหม่ๆ ทางธุรกิจได้อย่างง่ายดาย ลดการพึ่งพาสื่อมวลชนให้ช่วยกระจายเนื้อหาเพื่อเข้าถึงคนจำนวนคนจำนวนมาก สะท้อนได้จากงบประมาณโฆษณาที่ใช้ผ่านสื่อดั้งเดิมที่ลดลงทุกปี (โดยเฉพาะสื่อสิ่งพิมพ์)

หนังสือดิจิทัลมีประโยชน์อย่างไร

หากค้นหาความหมายของคำว่า "Publishing" คุณจะพบว่าในคำๆ เดียวแต่กลับมีความหมายแตกต่างกันได้หลายบริบทในการทำธุรกิจ ทั้งการโฆษณา, การประกาศ, การพิมพ์โฆษณา หรือหากจะอธิบายเพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้นก็คือ

  1. การจัดเตรียม (หนังสือ วารสาร บทเพลง ฯลฯ) เพื่อจัดจำหน่าย หรือแจกจ่ายให้กับคนทั่วไป
  2. การพิมพ์ (บางสิ่ง) ลงในหนังสือหรือวารสารเพื่อเผยแพร่ให้เป็นที่รู้จักโดยทั่วไป
  3. การจัดทำเนื้อหาเพื่อเผยแผร่ออนไลน์
  4. การจัดเตรียมและเผยแพร่ผลงานของนักเขียน

แต่ถ้าสำรวจในความหมายจากสื่อออนไลน์อื่นๆ ในต่างประเทศจะพบว่า ความหมายนั้นกว้างไกลกว่าที่เรานำเสนอ ดังนั้นเพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกันเราจึงอยากให้คำจัดความของคำว่า Publishing ว่า

Publishing หรือ การจัดพิมพ์, การเผยแพร่  คือ กระบวนการจัดเตรียมเนื้อหา (ความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร วรรณกรรมหรือเนื้อหาใดๆ) ให้พร้อมสำหรับการเผยแพร่ แบ่งปัน จัดจำหน่ายในรูปแบบของสื่อสิ่งพิมพ์

Digital Publishing หรือ การจัดพิมพ์ดิจิทัล คือ กระบวนการจัดเตรียมเนื้อหาให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัลเพื่อแจกจ่าย แบ่งปัน เผยแพร่ทางออนไลน์ให้กับกลุ่มผู้ใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต โน๊ตบุ๊ค คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ) ได้ใช้งาน

ตัวอย่างของรูปแบบการจัดพิมพ์ดิจิทัลที่พบเห็นได้บ่อยๆ ได้แก่ อีบุ๊ค, พอดแคสต์, เพลง, ภาพถ่าย, วิดีโอ, สิ่งพิมพ์ดิจิทัล (Interactive PDF) รวมทั้งการเผยแพร่เนื้อหาผ่านสื่อสังคมออนไลน์, โปรแกรมแชท, อีเมล, เว็บไซต์, แอปพลิเคชันบนมือถือ เป็นต้น

ข้อดีของ Digital Publishing

ขณะนี้เรากำลังอยู่ในยุคดิจิทัลที่เราแสวงหาเนื้อหาใหม่ๆ เพื่อเติมเต็มความพึงพอใจแบบทันทีทันใดได้อย่างต่อเนื่อง พวกเราเริ่มคุ้นเคยกับการใช้งานอุปกรณ์พกพาและใช้เวลาบนช่องทางนี้ทุกวันมากกว่า 5 ชั่วโมงต่อวัน

ลองนึกดูสิครับว่าเมื่อผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเนื้อหาแบบอินเทอร์แอคทีฟ ซึ่งผสมผสานทั้งเสียง วิดีโอ และข้อความ รับชมได้ง่ายผ่านอุปกรณ์ดิจิทัลทุกชนิดและง่ายแค่เพียงเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตเท่านั้น แล้วทำไมพวกเขาต้องหันกลับไปหาหนังสือที่พิมพ์ซึ่งเป็นแค่บทความที่มีแต่ข้อความและภาพนิ่ง

เรามาพิจารณาข้อดีของ Digital Publishing

  1. ประหยัดต้นทุนการพิมพ์ การเผยแพร่และจัดจำหน่าย
  2. พัฒนากระบวนการสร้างสื่อให้รวดเร็วขึ้น
  3. กระจายเนื้อหาของแบรนด์ให้เข้าถึงได้กว้างขวางขึ้น
  4. มอบประสบการณ์การอ่านแบบอินเทอร์แอคทีฟ
  5. วิเคราะห์พฤติกรรมผู้อ่านได้ละเอียดมากขึ้น
  6. เพิ่มรายได้จากการโฆษณาให้ผู้จัดพิมพ์
  7. ประหยัดพื้นที่การจัดเก็บ
  8. เข้าถึงเนื้อหาได้ทุกที่ ทุกเวลาที่ต้องการ
  9. เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

Digital Publishing สามารถนำไปใช้ผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ดิจิทัลได้หลากหลายรูปแบบ อาทิ

Digital Catalogใช้แสดงรายละเอียดสินค้าและบริการใหม่ๆ และปิดการขายในร้านค้าออนไลน์ได้รวดเร็วDigital Magazineดึงดูดและสร้างลูกค้าใหม่ๆ ด้วยการเนื้อหาดิจิทัล สร้างรายได้จากการโฆษณาที่วัดผลได้Brand Publishingเผยแพร่เนื้อหา บทความต่างๆ สร้างแบรนด์ให้มีสถานะออนไลน์ที่โดดเด่น น่าเชื่อถือCustomer Magazineใช้อัปเดตข่าวสาร เนื้อหาที่น่าสนใจ เพื่อรักษาความสัมพันธ์กับลูกค้าอย่างต่อเนื่องIndustry Reportนำเสนอรายงาน บทวิเคราะห์ ส่งเสริมภาพลักษณ์ของแบรนด์ในฐานะของผู้นำในอุตสาหกรรมAnnual Reportsนำเสนอข้อมูลและความก้าวหน้าของธุรกิจด้วยภาพเคลื่อนไหว อินโฟกราฟิก ที่น่าสนใจProduct Lookbookนำเสนอสินค้าหรือผลงานให้เพลิดเพลินด้วยเนื้อหาอินเทอร์แอคทีฟ และช่วยปิดการขายContent Hubsเตรียมข้อมูลให้ผู้บริโภคค้นพบได้ครบถ้วนตามที่ต้องการ ด้วยศูนย์กลางเนื้อหาที่ธุรกิจเตรียมไว้

Digital Publishing เหมาะกับใคร?

จุดอ่อนของสิ่งพิมพ์ที่ทุกคนทราบกันดีคือ ไม่สามารถให้ข้อมูลเชิงคุณภาพเพื่อนำไปใช้พัฒนาธุรกิจได้ ดังนั้น Digital Publishing จะเข้ามาช่วยทำให้ปัญหาต่างๆ เหล่านี้หมดไป นอกจากจะช่วยให้ผู้อ่านสนุกกับการนำเสนอเนื้อหาแบบอินเทอร์แอคทีฟแล้วยังสามารถรับรู้ได้ว่าผู้อ่านมีปฏิสัมพันธ์กับเนื้อหาของคุณอย่างไร

ดังนั้นไม่ว่าจะคุณจะประกอบธุรกิจอะไร เป็นบุคคลทั่วไปหรือเป็นหน่วยงานในองค์กร วันนี้การสื่อสารดิจิทัลได้เข้ามามีบทบาทกับการดำเนินธุรกิจมากขึ้น ตัวอย่างด้านล่างคือวิธีการประยุกต์ใช้ Digital Publishing เข้ากับงานของคุณได้อย่างไร

หากคุณเป็น ฝ่ายสื่อสารองค์กร ฝ่ายประชาสัมพันธ์ หรือ ฝ่ายบุคคล

เผยแพร่สื่อและนำเสนอเนื้อหาขององค์กรให้รวดเร็ว ปลอดภัย ใช้งานได้ไม่จำกัดจำนวน เวลา และสถานที่ในรูปแบบ Annual Report, Staff Magazine, Industry Report

หากคุณเป็น ฝ่ายการตลาด หรือ ฝ่ายขาย

เผยแพร่สื่อให้กับตัวแทนจำหน่าย สมาชิกหรือลูกค้าเก่าเพื่ออัปเดตรายการสินค้าล่าสุดก่อนใคร หรือแจ้งข่าวสารโปรโมชันได้รวดเร็วแบบ Real Time รวมทั้งสามารถเชื่อมต่อเพื่อให้ลูกค้าทั้งเก่าหรือผู้มุ่งหวัง สนใจสินค้าและสั่งซื้อสินค้าของคุณได้ทันที ในรูปแบบ Digital Catalog, Digital Brochure 

หากคุณเป็น เจ้าของธุรกิจ ที่มีฐานสมาชิกหรือมีรายชื่อลูกค้า

วิธีที่ง่ายที่สุดของการสร้างยอดขายคือ ส่งคอเลคชันใหม่ล่าสุดให้ลูกค้าของคุณเป็นกลุ่มแรก ดึงดูดความสนใจพวกเขาด้วยสื่อดิจิทัลและไม่ต้องรอให้พวกเขาค้นหาคุณหรือโฆษณาใดๆ ส่ง Digital Catalog ที่ไม่เหมือนใครให้กับพวกเขา และปิดการขาย

หากคุณเป็น นักเขียน, สำนักพิมพ์

คุณสามารถทำสื่อสิ่งพิมพ์ดิจิทัลเพื่อหารายได้ในรูปแบบ Digital Magazine, Digital Newspaper หรือ E-book ทั้งการขายพื้นที่โฆษณา รับสปอนเซอร์ รับสมัครสมาชิก หรือรวบรวมรายชื่อสมาชิก

การเปลี่ยนแนวคิดจากการจัดพิมพ์บนกระดาษไปสู่การจัดพิมพ์ดิจิทัลที่หลายคนเคยมองว่า "ไม่จำเป็น" แต่ผมอยากให้คุณลองนึกถึงข้อได้เปรียบที่นอกเหนือไปจากการเป็นสื่อที่เข้าถึงได้สะดวกจากทุกที่ ทุกเวลา ทุกอุปกรณ์ ประโยชน์แท้จริงคือการแจกจ่ายสิ่งพิมพ์ดิจิทัลให้กับผู้ชม ผู้สนใจ ได้ "ไม่จำกัดจำนวน" เพราะไม่มีจำนวนพิมพ์ขั้นต่ำ ยังช่วยให้ผู้เผยแพร่โฆษณาคุ้มค่ามากขึ้นจากการเผยแพร่เนื้อหาได้ไม่จำกัดนี้เช่นกัน

แนวโน้มของจำนวนผู้ใช้อุปกรณ์พกพาที่เพิ่มขึ้น พฤติกรรมของผู้บริโภคและภูมิทัศน์สื่อที่เปลี่ยนไป ทำให้รูปแบบการสื่อสารในวันนี้เป็นดิจิทัลมากขึ้นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ Digital Publishing จึงเป็นทางเลือกที่ยอดเยี่ยมสำหรับธุรกิจที่ต้องการพัฒนาการสื่อสารดิจิทัลให้พร้อมเชื่อมต่อและโต้ตอบกับแบรนด์ได้สะดวก รวดเร็ว ทุกที่ ทุกเวลาที่ผู้บริโภคเป้าหมายต้องการ

ข้อใดคือประโยชน์ของหนังสือดิจิตอล

ข้อดีของ e-Book 1. อ่านที่ไหน เมื่อไหร่ ได้ตลอดเวลา เนื่องจากพกไปได้ตลอดและได้จำนวนมาก 2. ประหยัดการตัดไม้ทำลายป่า เพราะไม่ต้องตัดไม้มาทำกระดาษ 3. เก็บรักษาได้ง่าย ประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บ ประหยัดค่าเก็บรักษา

หนังสืออิเล็คทรอนิกส์คืออะไร

ความหมายของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) ไพฑูรย์ ศรีฟ้า (2551) กล่าวว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง หนังสือที่สร้างขึ้นด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ โดยปกติมักจะเป็นแฟ้มข้อมูลที่สามารถอ่านเอกสารผ่านทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ทั้งในระบบออฟไลน์และออนไลน์

ข้อเสียของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มีอะไรบ้างยกตัวอย่างมา2ข้อ

2. ข้อจำกัดของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 2.1 คนไทยส่วนใหญ่ยังคงชินอยู่กับสื่อที่อยู่ในรูปกระดาษมากกว่า อีกทั้งหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ยังไม่สามารถใช้งานได้ง่ายเมื่อเทียบกับสื่อสิ่งพิมพ์ และความสะดวกในการอ่านก็ยังน้อยกว่ามาก 2.2 หากโปรแกรมสื่อมีขนาดไฟล์ใหญ่มากๆ จะทำให้การเปลี่ยนหน้าจอมีความล่าช้า

E

1. อ่านที่ไหน เมื่อไหร่ ได้ตลอดเวลา เนื่องจากพกไปได้ตลอดและได้จํานวนมาก 2. ประหยัดการตัดไม้ทําลายป่า เพราะไม่ต้องตัดไม้มาทํากระดาษ 3. เก็บรักษาได้ง่าย ประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บ ประหยัดค่าเก็บรักษา 4. ค้นหาข้อความได้ ยกเว้นว่าอยู่ในลักษณะของภาพ 5. ใช้พื้นที่น้อยในการจัดเก็บ (cd 1 แผ่นสามารถเก็บ e-Book ได้ประมาณ 500 ...