หลักการสังคมสงเคราะห์มีอะไรบ้าง

หลักการสังคมสงเคราะห์ มี 7 หลักการ ดังนี้

  • หลักการปัจเจกบุคคล คือ ลักษณะเฉพาะหรือเอกลักษณ์ของบุคคลแต่ละคนซึ่งมีความแตกต่างกันทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านกรรมพันธุ์ สิ่งแวดล้อม การอบรมเลี้ยงดู ประสบการณ์ชีวิต เช่น บางคนพูดเสียงดัง บางคนพูดเสียงเบา เป็นต้น นั่นเป็นเพราะการเลี้ยงดู หรือสิ่งแวดล้อมรอบตัวของเขาได้หล่อหลอมให้เขาเป็นคนที่มีลักษณะเฉพาะตัวนั่นเอง
  • หลักการยอมรับ คือ การยอมรับผู้ใช้บริการว่าเป็นมนุษย์คนหนึ่ง ยอมรับในตัวของผู้ใช้บริการ เพราะว่ามนุษย์ทุกคนมีคุณค่า มีศักดิ์ศรีที่เท่าเทียมกัน เข้าใจในการกระทำและท่าทางที่ผู้ใช้บริการแสดงออกมาอย่างไม่มีอคติ เช่น ผู้ใช้บริการแต่งตัวสกปรก เพราะหน้าที่การงานที่ผู้ใช้บริการอาจจะต้องแต่งตัวแบบนี้ นักสังคมสงเคราะห์ก็ต้องเข้าใจและยอมรับในสภาพที่ผู้ใช้บริการเป็น เป็นต้น
  • หลักการตัดสินใจด้วยตนเอง ผู้ใช้บริการมีสิทธิที่จะเลือกแนวทางในการดำเนินชีวิต หรือแนวทางการแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง นักสังคมสงเคราะห์มีหน้าที่เพียงแนะนำปัญหา และสร้างทางเลือกหลายทางเลือกให้ผู้ใช้บริการได้ตัดสินใจด้วยตนเอง โดยจะสะท้อนปัญหาของผู้ใช้บริการและทำให้ผู้ใช้บริการสามารถจัดการกับปัญหาของตนเองได้
  • หลักการไม่ประณามหรือตำหนิติเตียนผู้ใช้บริการ ผู้ใช้บริการอาจจะทำในสิ่งที่ผิดพลาด นักสังคมสงเคราะห์ก็ต้องช่วยเหลือแก้ไขปัญหาของผู้ใช้บริการ จะต้องมีทัศนคติที่ดีต่อผู้ใช้บริการ ไม่ตำหนิติเตียนหรือประณามการกระทำของผู้ใช้บริการ ไม่ควรซ้ำเติมผู้ใช้บริการ เพราะบางสิ่งผู้ใช้บริการอาจจะรู้เท่าไม่ถึงการณ์
  • หลักการรักษาความลับ นักสังคมสงเคราะห์จะต้องรักษาความลับของผู้ใช้บริการ เพื่อให้ผู้ใช้บริการเกิดความมั่นใจในตัวนักสังคมสงเคราะห์ และไม่ควรนำเรื่องราวของผู้ใช้บริการไปเปิดเผยให้ผู้อื่นรู้ แต่ถ้าจะเปิดเผยควรขออนุญาตและบอกจุดประสงค์ในการเปิดเผยเรื่องราวของผู้ใช้บริการ พร้อมทั้งการได้รับอนุญาตจากผู้ใช้บริการด้วย
  • หลักการตระหนักในตนเอง มนุษย์ทุกคนมีลักษณะเฉพาะตัว มีความแตกต่างกันทั้งในด้านรูปร่าง หน้าตา ลักษณะท่าทาง อุปนิสัยนิสัยใจคอ ความรู้สึกทางด้านจิตใจ การแสดงออก นักสังคมสงเคราะห์ควรพึงระลึกอยู่เสมอในการปฏิบัติงานว่าตนคือนักสังคมสงเคราะห์ ควรแยกแยะให้ออกระหว่างเรื่องงานกับเรื่องส่วนตัว เช่น ถ้าเจอผู้ใช้บริการที่เป็นคนรู้จักและไม่เคยถูกกันมาก่อน นักสังคมสงเคราะห์ควรตระหนักว่าตนคือนักสังคมสงเคราะห์ และคนที่ไม่ถูกกับเราคือผู้ใช้บริการ เป็นต้น
  • หลักการมีส่วนร่วมของผู้ใช้บริการ คือการให้ผู้ใช้บริการได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมต่างๆ โดยนักสังคมสงเคราะห์จะอยู่ข้างๆผู้ใช้บริการ เพื่อให้ผู้ใช้บริการรู้สึกว่ายังมีคนอยู่ข้างๆเขา และทำให้ผู้ใช้บริการไม่เครียดจนเกินไป

ลาออกแล้ว แต่ยังอยากรักษาสิทธิประโยชน์และความคุ้มครองจากประกันสังคม ที่คล้ายกับสิทธิประโยชน์ที่ได้รับจาก ม.33 สามารถสมัครประกันสังคม มาตรา 39 ได้ จะมีรายละเอียด เงื่อนไข และสิทธิประโยชน์อะไรบ้าง บทความนี้จะมาช่วยคลายข้อสงสัยให้กับทุกคน

สารบัญ

  • ประกันสังคม ม.39 คืออะไร คุ้มไหมถ้าส่งต่อ
  • ใครสามารถสมัคร ม.39 ได้บ้าง
  • วิธีสมัครประกันสังคม ม.39
  • จ่ายเงินสมทบไว้ ได้ความคุ้มครองชัวร์

หลักการสังคมสงเคราะห์มีอะไรบ้าง

เช็กสถานะและเงินสมทบสะสม

หลักการสังคมสงเคราะห์มีอะไรบ้าง

เช็กสิทธิรักษาพยาบาล และอื่น ๆ

ประกันสังคม ม.39 คืออะไร คุ้มไหมถ้าส่งต่อ

ประกันสังคม ม. 39 คือ หลักประกันสำหรับผู้สมัครใจที่จะส่งเงินสมทบ และใช้สิทธิกับประกันสังคมต่อ หลังจากลาออกจากงานแล้ว สิทธิประโยชน์ที่ได้รับอาจจะได้ไม่เท่ากับ ม.33 (คนทำงานมีนายจ้าง) แต่ก็ไม่ได้ต่างกันมากนัก มาดูกันว่าสิทธิประโยชน์ของผู้ประกันตน ม.39 นั้นมีอะไรบ้าง มีความเหมือนหรือแตกต่างจาก ม.33 อย่างไร ใครสามารถใช้สิทธิได้บ้าง

ใครสามารถสมัคร ม.39 ได้บ้าง

ผู้ที่สามารถสมัครประกันสัง ม.39 ต้องมีคุณสมบัติดังนี้

  • เคยเป็นผู้ประกันตน ม. 33 ซึ่งส่งเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน
  • ลาออกจากงานมาแล้วไม่เกิน 6 เดือน นับแต่วันที่ออกจากงาน 
  • ไม่เป็นผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีทุพพลภาพจากกองทุนประกันสังคม

หลักการสังคมสงเคราะห์มีอะไรบ้าง

วิธีสมัครประกันสังคม ม.39

การขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประกันตน ม.39 นั้น ผู้ที่มีคุณสมบัติครบสามารถสมัครด้วยตัวเองได้ 2 ช่องทาง

สมัครที่
สำนักงานประกันสังคม

  • ผู้สมัครสามารถยื่นแบบคำขอเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 39 (แบบ สปส. 1-20) ภายใน 6 เดือน นับจากวันที่ลาออกจากงาน
  • ยื่นใบสมัครได้ที่สำนักงานประกันสังคมใกล้บ้าน
    • กรุงเทพฯ : สำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครพื้นที่
    • ต่างจังหวัด : สำนักงานประกันสังคมจังหวัดและสาขา (ยกเว้นสำนักงานใหญ่ในบริเวณกระทรวงสาธารณสุข)

สถานที่ตั้งของสำนักงานประกันสังคม

สมัครได้โดยไม่ต้องไปที่สำนักงานประกันสังคม

  • ดาวน์โหลดแบบคำขอเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา มาตรา 39 (แบบ สปส.1-20) พิมพ์พร้อมกรอกข้อมูล และเซ็นเอกสาร
  • แนบหลักฐานบัตรประจำตัวประชาชน หรือบัตรอื่น ๆ ซึ่งมีรูปถ่ายที่ทางการออกให้
  • ส่งแบบคำขอสมัคร ผ่านช่องทางที่สะดวก
    • ไปรษณีย์ลงทะเบียน
    • ส่งผ่านอีเมล (E-mail)
    • ส่งผ่านแอปพลิเคชันไลน์ (Line ID)
    • โทรสาร (Fax)

*ตรวจสอบที่อยู่ในการจัดส่งแบบคำขอ ได้จากเว็บไซต์ประกันสังคม

แบบคำขอเป็นผู้ประกันตน ม.39

จ่ายเงินสมทบไว้ ได้ความคุ้มครองชัวร์

ผู้ประกันตน ม.39 จะได้สิทธิประโยชน์และความคุ้มครอง โดยมีเงื่อนไขว่าต้องจ่ายเงินสมทบจำนวน 432 บาททุกเดือน ซึ่งคำนวณจากฐานเงินเดือน 4,800 บาทเท่ากันทุกคน และมีอัตราการคำนวณเงินสมทบอยู่ที่ 9 %

วิธีคำนวณ เงินสมบทประกันสังคม ม.39

ฐานเงินเดือน x อัตราเงินสมทบ (9%) = เงินสมทบที่ต้องจ่ายในแต่ละเดือน
ตัวอย่าง  ฐานเงินเดือน (4,800) x อัตราเงินสมทบ (9%) = 432 บาท

โดยผู้ประกันตนต้องจ่ายเงินสมทบภายในวันที่ 15 ของทุกเดือน หากเลยกำหนดจะต้องจ่ายเงินเพิ่มอีก 2% ต่อเดือน รวมเงินที่ต้องจ่ายเป็น 440.64 บาท หากจ่ายล่าช้า

ความคุ้มครอง 6 กรณี

ผู้ประกันตน ม. 39 ที่จ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนทุกเดือน จะได้รับความคุ้มครองใน 6 กรณี ดังนี้ 

  • เจ็บป่วย 
  • ทุพพลภาพ
  • คลอดบุตร
  • เสียชีวิต 
  • สงเคราะห์บุตร 
  • ชราภาพ
ความความคุ้มครองจะเหมือนกับประกันสังคม ม. 33 ทุกอย่าง ยกเว้น กรณีว่างงานที่จะไม่ได้รับสิทธิ

ความคุ้มครองมาตรา 39มาตรา 33เจ็บป่วย

หลักการสังคมสงเคราะห์มีอะไรบ้าง

หลักการสังคมสงเคราะห์มีอะไรบ้าง

พิการ

หลักการสังคมสงเคราะห์มีอะไรบ้าง

หลักการสังคมสงเคราะห์มีอะไรบ้าง

คลอดบุตร

หลักการสังคมสงเคราะห์มีอะไรบ้าง

หลักการสังคมสงเคราะห์มีอะไรบ้าง

เสียชีวิต

หลักการสังคมสงเคราะห์มีอะไรบ้าง

หลักการสังคมสงเคราะห์มีอะไรบ้าง

สงเคราะห์บุตร

หลักการสังคมสงเคราะห์มีอะไรบ้าง

หลักการสังคมสงเคราะห์มีอะไรบ้าง

ชราภาพ

หลักการสังคมสงเคราะห์มีอะไรบ้าง

หลักการสังคมสงเคราะห์มีอะไรบ้าง

ว่างงาน

หลักการสังคมสงเคราะห์มีอะไรบ้าง

หลักการสังคมสงเคราะห์มีอะไรบ้าง

กรณีชราภาพ: เมื่อวันที่ 10 พค. 2565 มีการแก้ไขเพิ่มเติมสิทธิประโยชน์ “หลักการ 3 ขอ” ของประกันสังคมกรณีชราภาพ เพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ โดยผู้ประกันตนสามารถนำเงินออกมาใช้ก่อนได้ ซึ่งมีรายละเอียด คือ

  1. ขอเลือก – ผู้ประกันตน (อายุ 55 ปีบริบูรณ์) สามารถเลือกรับ เงินบำเหน็จ หรือ เงินบำนาญชราภาพได้
  2. ขอคืน – ผู้ประกันตน (ก่อน อายุ 55 ปีบริบูรณ์) สามารถนำเงินสะสมกรณีชราภาพบางส่วนออกมาใช้ได้
  3. ขอกู้ – ผู้ประกันตนสามารถนำเงินสะสมกรณีชราภาพไปเป็นหลักประกันกับสถาบันการเงินได้
นอกจากนี้ ยังมีการเพิ่มสิทธิประโยชน์ อื่น ๆ เช่น
  • ขยายอายุผู้ประกันตน จาก 60 ปี เป็น 65 ปี
  • ปรับปรุง เงื่อนไขการสมัครเป็นผู้ประกันตน ม.39
  • กำหนดให้เงินเพิ่มของผู้ประกันตน ม.39 จะต้องไม่เกินเงินสมทบที่ต้องจ่าย
  • เพิ่ม เงินสงคราะห์การหยุดงานเพื่อคลอดบุตร จาก 90 วัน เป็น 98 วัน
  • เพิ่ม เงินทดแทนขาดรายได้กรณีทุพพลภาพ จาก 50% เป็น 70%
  • เพิ่ม ความคุ้มครองกรณีสงเคราะห์บุตร ต่ออีก 6 เดือน

สิทธิของผู้ประกันตนตามมาตรา 39 ของผู้ประกันตน จะสิ้นสุดลงในกรณี ต่อไปนี้

  • เสียชีวิต 
  • กลับเข้าเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 33 
  • ลาออกจากการเป็นผู้ประกันตน
  • ขาดส่งเงินสมทบ 3 เดือนติดต่อกัน (กรณีนี้พบได้บ่อย
  • ส่งเงินสมทบไม่ครบ 9 เดือน ภายในระยะเวลา 12 เดือน (สิทธิจะสิ้นสุดลงในเดือนที่ส่งเงินสมทบไม่ครบ 9 เดือน) 

หากมีเหตุให้สิ้นสภาพการเป็นผู้ประกันตน ม.39 สามารถขอคืนสิทธิได้โดยติดต่อสำนักงานประกันสังคมในช่องทางที่สะดวก เพื่อขอเช็กสิทธิและสอบถามรายละเอียดในการขอคืนสิทธิได้

ตรวจสอบสถานะของคุณ

จ่ายง่าย ได้หลายช่องทาง

การจ่ายเงินสมทบประกันสังคมของผู้ประกันตน ม. 39 ทำได้หลายวิธี ดังนี้

จ่ายเงินที่สำนักงานประกันสังคมใกล้บ้าน

พร้อมแบบส่งเงินสมทบฯ (สปส. 1-11)

หักอัตโนมัติจากบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ของธนาคาร

  • ธนาคารกรุงศรีอยุธยา
  • ธนาคารกรุงไทย 
  • ธนาคารไทยพาณิชย์ 
  • ธนาคารกสิกรไทย 
  • ธนาคารทหารไทย-ธนชาติ 
  • ธนาคารกรุงเทพ
*มีค่าธรรมเนียม 10 บาททุกรายการ และแนะนำให้ใช้วิธีนี้ เพราะเป็นการหักจ่ายแบบอัตโนมัติ ทำให้ไม่ต้องกลัวว่าจะลืมจ่ายเงินสมทบ

จ่ายเป็นเงินสดด้วยวิธีอื่น

  • จ่าย ณ ธนาคารที่ร่วมโครงการ (ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ธนาคารกรุงไทย ธนาคารทหารไทยธนชาติ)
  • เคาน์เตอร์เซอร์วิส
  • ธนาณัติ ณ ที่ทำการไปรษณีย์
  • เคาน์เตอร์เพย์สบายที่มีสัญลักษณ์ “แจ๋ว”
*มีค่าธรรมเนียม 10 บาททุกรายการ

ทั้งนี้ การจ่ายเงินสมทบประกันสังคม ม.39 สามารถนำไปยื่นลดหย่อนภาษีได้เหมือนกันกับ ม. 33 โดยสามารถติดต่อสำนักงานประกันสังคมใกล้บ้าน เพื่อให้เจ้าหน้าที่ออกใบรายการรับเงินสมทบกองทุนประกันสังคมให้ได้

แม้ว่าจะลาออกจากงานแล้ว แต่ผู้ประกันตนยังอยากได้สิทธิประโยชน์และความคุ้มครองอยู่ สามารถสมัครเป็นผู้ประกันตน ม.39 โดยจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคมให้ครบ และตรงเวลา หากขาดส่ง 3 เดือนติดต่อกัน หรือจ่ายเงินสมทบไม่ครบ 9 เดือน จะทำให้สิ้นสภาพการเป็นผู้ประกันตน ดังนั้น ถ้าไม่อยากเสียสิทธิก็ต้องทำตามเงื่อนไข จะได้ใช้สิทธิและรับความคุ้มครองอย่างต่อเนื่อง

ประเภทของการสังคมสงเคราะห์มีกี่ประเภท

จัดแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1. นักสังคมสงเคราะห์อาชีพ 2. นักสังคมสงเคราะห์อาสาสมัคร (ซึ่งจะอาสาเข้ามาทำงานในช่วงภาวะวิกฤติ) หน้าที่ของนักสังคมสงเคราะห์ที่ทำหน้าที่สังคมสงเคราะห์วิชาชีพ เป็นการช่วยเหลือและเป็นการใช้สามัญสำนึกในการช่วยเหลือโดยมีหน้าที่หลัก ดังนี้

สังคมสงเคราะห์ มีกี่ระดับ

เป็น 2 ระดับ ระดับจุลภาค และ ระดับมหภาค สำหรับระดับจุลภาค คือ การทำงานประเภทที่ เน้นการให้บริการโดยตรง แก่ บุคคล กลุ่ม และชุมชน ได้แก่ วิธีการสังคมสงเคราะห์เฉพาะ ราย สังคมสงเคราะห์กลุ่ม และการจัดระเบียบชุมชน ส่วนระดับมหภาคนั้นเน้นการให้บริการใน ลักษณะการประสานงาน การบริหารงาน การจัดโครงการ ร่วมกำหนดนโยบาย รวมทั้งการ ...

จุดมุ่งหมายสำคัญของการสังคมสงเคราะห์คืออะไร

จุดมุ่งหมายของการปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์ ๑. เพื่อการสงเคราะห์ผู้ประสบปัญหาความทุกข์ยากเดือดร้อน ที่ช่วยตนเองไม่ได้ ให้สามารถช่วยตนเองได้ การให้การสงเคราะห์นี้ รวมความถึงการบรรเทา และแก้ไขปัญหา การป้องกัน และขจัดปัญหา การฟื้นฟู และปรับสภาพของบุคคล ครอบครัว กลุ่ม และชุมชน

กลุ่มในงานสังคมสงเคราะห์ มีอะไรบ้าง

กลุ่มงานสังคมสงเคราะห์.
การตรวจวินิจฉัยทางสังคมสงเคราะห์ (Social Assessment and Diagnosis) ... .
บริการด้านสังคมสงเคราะห์ ... .
โปรแกรมพัฒนาทักษะพื้นฐานการทำงานแก่ผู้บกพร่องทางพัฒนาการและสติปัญญา ... .
คลินิกครอบครัวบำบัดสำหรับผู้บกพร่องด้านพัฒนาการและสติปัญญาผู้ป่วยจิตเวชเด็กและวัยรุ่น และครอบครัว (Family Therapy).