เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย มีอะไรบ้าง

                สรุป การสร้างเครื่องมือวิจัย เป็นกระบวนการที่ผู้วิจัยจะต้องพิถีพิถันสร้างให้ตรง  กับความต้องการข้อมูลของผู้วิจัย ต้องมีการวางแผนอย่างรอบคอบเพราะถ้าสร้างเครื่องมือที่ ไม่เหมาะสมจะทำให้ได้ข้อมูลที่ผิดพลาด คลาดเคลื่อนและจะนำไปสู่ผลการวิจัยที่ผิด        ตามมา ผู้วิจัยควรได้ศึกษาคุณลักษณะของเครื่องมือการวิจัยที่ดี หลักการและข้อเสนอแนะ   ในการสร้างเครื่องมือแต่ละประเภทอย่างละเอียด เมื่อสร้างเสร็จแล้วจะต้องไตร่ตรอง ทบทวน ทดลองใช้ และหาคุณภาพเครื่องมือก่อนนำไปใช้จริง

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ถือเป็นอุปกรณ์การทำแบบสอบถามที่นิยมใช้กันมากที่สุดอีกหนึ่งปัจจัย เพราะเครื่องมือในการวิจัยเป็นตัวสำคัญที่ช่วยทำให้การเก็บตัวอย่างจากกลุ่มเป้าหมายที่ได้ตั้งขอบเขตการศึกษาไว้ มาแปรผลข้อมูลระดับปฐมภูมิออกมาเป็นผลสรุปการทำแบบสอบถามที่มีเนื้อหาครบถ้วน และตอบโจทย์ความต้องการของผู้ทำมาต่อยอดการนำไปศึกษาต่อเพิ่มเติมได้  โดยเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยแบ่งจำแนกได้ออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ ดังนี้ เครื่องมือในการดำเนินการวิจัย และ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล แล้วสองเครื่องมือในการวิจัยเหล่านี้มีหลักการใช้งานอย่างไรบ้าง ทาง Enable survey จะมาอธิบายให้หายข้อสงสัยกัน

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย มีอะไรบ้าง


เครื่องมือที่ใช้สำหรับการทดลอง (Treatment)

เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประเภท การทดลองเป็นหลัก ซึ่งหลักการดำเนินการของวิจัยชนิดนี้ มุ่งเน้นการวิจัยเชิงทดลองในขอบเขตพื้นที่นักออกแบบต้องการจะศึกษาผลลัพธ์ โดยมี ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุม มาช่วยแสดงผลประกอบการในระยะดำเนินการได้เสร็จสมบูรณ์ ยกตัวอย่างเช่น 2 ปัจจัยหลัก ๆ ได้แก่…

  • ตัวแปรต้น สิ่งที่นักวิจัยต้องการทราบความจริง หรือเรียกสั้น ๆว่าเป็นตัวต้นเหตุ เป็นสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิตได้ 
  • ตัวแปรตาม เป็นผลที่เกิดจากตัวต้นเหตุ สามารถผลลัพธ์ข้อสรุปของการทดลองได้

ยกตัวอย่างเช่น “เด็กทารกเพศชายและหญิง ถูกกำหนดสีประจำเพศเป็นสีน้ำเงินและสีชมพูอยู่เสมอ” โดย “เพศ” เป็น ตัวแปรต้น และ “สี” เป็น ตัวแปรตาม เป็นต้น

เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล (Data collection instruments)

แบบสอบถาม (Questionnaire)

แบบเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย ไม่ว่าจะเป็น ความรู้สึก , ความเชื่อ  , ทัศนคติ , ความสนใจ และรวมไปถึงการสอบถามข้อมูลส่วนตัวของผู้ทำอีกด้วย เป็นแบบสอบถาม ออนไลน์ และออฟไลน์ได้ ขึ้นอยู่กับผู้ออกแบบสามารถสร้างชุดแบบฟอร์มเป็นรูปแบบไหน และยังเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการเก็บเกี่ยวพื้นที่ที่ศึกษาอย่างได้ถูกต้อง แม่นยำ และบรรลุวัตถุประสงค์ในการสร้างแบบสอบถามการเก็บรวบรวมข้อมูลกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการเก็บเกี่ยวพื้นที่ที่ศึกษาอย่างได้ถูกต้อง แม่นยำ และบรรลุวัตถุประสงค์ในการสร้างแบบสอบถาม

ข้อดี

  • เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยแบบสอบถามกับจำนวนกลุ่มเป้าหมายได้เป็นจำนวนมาก
  • ผู้ออกแบบสามารถดีไซน์แบบฟอร์มเป็นแบบออนไลน์และออฟไลน์ ได้ตามถนัด เพื่อสอดคล้องและอำนวยความสะดวกแก่ผู้ทำ
  • เป็นแบบสอบถามที่หยืดหยุ่นแก่ผู้ทำเป็นอย่างมาก เพราะแบบสอบถาม ออนไลน์เป็นแบบฟอร์มที่ให้อิสระการให้เวลาแก่ผู้ตอบ สามารถกำหนดวันนัดหมายส่งได้ในภายหลัง  
  • เป็นชุดคำถามที่สามารถออกแบบคำถามปลายเปิดและปลายปิดได้หลากหลายการออกแบบ
  • เป็นแบบสอบถามที่สามารถใช้งานได้หลายประเภทไม่ว่าจะเป็นการทำวิจัยประเภทการศึกษากลไกลการตลาดของผู้บริโภค(Market research) หรือการวัดความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ

ข้อเสีย

  • ผู้ตอบอาจไม่ให้ความสำคัญกับการทำแบบสอบถาม อาจทำให้ตัวคำตอบไม่สามารถเป็นผลชี้วัดในการสรุปข้อมูลได้
  • เป็นชุดเครื่องมือที่ใช้ในวิจัยที่ต้องการผู้ชำนาญการใช้ภาษาและเขียนหนังสือเท่านั้น จึงจะสามารถทำชุดคำถามได้สมบูรณ์แบบที่สุด
  • ไม่สามารถรับข้อมูลจากผู้ตอบในเชิงลึกได้ เพราะการทำแบบสอบถามเป็นการรับรู้ข้อมูลเบื้องต้นของกลุ่มเป้าหมายเท่านั้น

แบบสัมภาษณ์ (Interview)

โดยนักวิจัยสามารถทำการนัดผู้สัมภาษณ์มาสื่อสารพูดคุยแลกเปลี่ยนข้อมูล และเก็บข้อมูลจากการสนทนาในรูปแบบตัวต่อตัวได้อย่างลึกซึ้ง เพราะเป็นรูปแบบการสอบถามที่ละเอียดถี่ถ้วนเพื่อให้ได้ข้อมูลดิบจากผู้สัมภาษณ์โดยตรงอย่างมีประสิทธิภาพสูง อีกทั้งผู้วิจัยสามารถเปิดประเด็นคำถามแก่ผู้ตอบได้โดยตรง

ข้อดี

  • ได้รับรู้มุมมองความคิดใหม่ ๆ จากผู้บริโภคอีกหนึ่งความคิดเห็น
  • เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยที่สามารถแก้ไขรูปแบบคำถามแก่กับผู้สัมภาษณ์ในระยะเวลาเรียลไทม์ได้
  • เป็นตัวอย่างเครื่องมือวิจัยแบบสอบถามผู้สัมภาษณ์ที่ให้โจทย์การทำแบบสอบถามรูปแบบอื่น ๆ ได้อิสระ สามารถวัดผลได้ อย่างการทำแบบสำรวจเชิงปฎิบัติ Blind test เป็นต้น

ข้อเสีย

  • ทุนค่าใช้จ่ายสูง ไม่ว่าจะเป็นทางด้านการเงิน เวลา และการเดินทาง
  • ในช่วงเวลาที่ผู้ตอบมีสภาพจิตใจที่ไม่มั่นคงกับการให้คำตอบ อาจทำให้ผลลัพธ์จากการสัมภาษณ์บิดเบือนและนำไปสู่ผลสรุปที่ไม่ถูกต้องได้

แบบสังเกต (Observation)

  แบบสังเกตเป็นการสำรวจวัดผลวิจัยแบบหลายประเภท เช่น แบบตรวจสอบรายการ  , แบบจัดอันดับคุณภาพ และอื่น ๆ จากกลุ่มเป้าหมาย  โดยใช้ใช้ประสาทสัมผัสของผู้สังเกต ตั้งแต่ตา และหู ในการติดตามข้อมูลขอบเขตที่เราต้องการศึกษาไว้ โดยตัวอย่างของกลุ่มผู้บริโภค ต้องเป็นตัวชี้วัดสำหรับการเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยที่ผู้วิจัยสามารถใช้ได้ตลอดเวลา

ข้อดี

  • เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้สะดวก และสามารถวัดผลได้ตลอดเวลา และทุกสถานการณ์
  • แบบสังเกตการณ์สามารถสอดส่องพฤติกรรมกลุ่มเป้าหมายได้ทุกอิริยาบท

ข้อเสีย

  • การเก็บข้อมูลแบบสังเกต ใช้ระยะเวลาการบันทึกที่นานมาก เพราะนักวิจัยต้องสังเกตพฤติกรรมของผู้ถูกถ่ายตลอดทุกช่วงเวลา เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่แน่นอน
  • หากกลุ่มเป้าหมายรู้สึกตัวว่ามีใครสังเกตพฤติกรรมของพวกเขาอยู่นั้น จะทำให้บุคคลเหล่านี้เกิดอาการระวังตัวและปกปิดพฤติกรรมที่ทางนักวิจัยต้องการศึกษาได้

แบบทดสอบ (Test)

เป็นแบบเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยสำหรับการวัดผลระดับความเข้าใจ ความจำ และพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมายแบบโดยตรง ซึ่งแบบทดสอบสามารถเป็นแบบฟอร์มสำหรับการวิจัยที่มีมาตรฐาน หากเนื้อหาในการทำแบบทดสอบมีเนื้อหาสอดคล้องกับการตั้งวัตถุประสงค์แก่กับกลุ่มเป้าหมายได้ตรงกลุ่ม

ข้อดี

  • เป็นเครื่องที่ใช้ในการวิจัยที่เหมาะสำหรับวัดพฤติกรรมทางด้านสติปัญญา
  • เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยแบบสอบถามกับจำนวนกลุ่มเป้าหมายได้เป็นจำนวนมาก และเก็บข้อมูลได้ในเวลาเรียลไทม์ หรือเวลาที่นักวิจัยกำหนดหรือสามารถควบคุมได้
  • ผู้ออกแบบสามารถดีไซน์แบบฟอร์มเป็นแบบออนไลน์และออฟไลน์ ได้ตามถนัด เพื่อสอดคล้องและอำนวยความสะดวกแก่ผู้ทำ

ข้อเสีย

  • แบบทดสอบเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยที่ใช้เวลาการสร้างผลงานเป็นระยะยาว เพื่อให้ตัวชี้วัดนี้ตอบโจทย์แก่ผู้ทำมากที่สุด
  • โจทย์ในแบบทดสอบมีความน่าจะเป็นที่ไม่แน่นอน เพราะตัวอย่างการตั้งคำถามของแบบทดสอบเป็นสิ่งที่นักวิจัยที่ตั้งสมมุติฐานขึ้นมาเท่านั้น
  • เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยที่สามารถแสดงผลลัพธ์ที่คลาดเคลื่อน โดยความไม่แน่นอนนี้ขึ้นอยู่กับปัจจัยสภาพแวดล้อมของผู้ทำแบบทดสอบด้วย
    เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย มีอะไรบ้าง

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยที่ดีควรเป็นอย่างไร

6 คุณสมบัติในการวัดเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยอยู่เสมอ ได้แก่

มีความเที่ยงตรง (Validity)

วัตถุประสงค์ของการหยิบเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยจะต้องสามารถวัดผลการดำเนินการทำแบบสอบถามได้จริง วัดผลลัพธ์ได้ และสรุปผลใจความสำคัญได้ตั้งแต่ต้นเหตุจนไปถึงปลายเหตุของขอบเขตการศึกษาที่นักวิจัยได้เลือกเอาไว้

มีความเชื่อถือได้ (Reliability)

ไม่ว่าจะใช้เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยสำหรับการทำแบบสอบถามประเภทต่าง ๆ จะต้องเป็นอุปกรณ์ที่สามารถวัดผลลัพธ์ซ้ำ ๆ กันได้คำตอบเหมือนเดิมทุกครั้ง เพื่อสร้างความมั่นใจได้ว่าเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยของคุณเป็นตัวชี้วัดการดำเนินกระบวนการได้แน่นอน คงเส้นคงวา และแสดงผลคลาดเคลื่อนได้น้อยที่สุด

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย มีอะไรบ้าง

มีประสิทธิภาพ (Efficiency)

การใช้เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยทุกชนิดของการทำแบบสอบถาม ควรคำนึงถึงคุณลักษณะประโยชน์ของตัวอุปกรณ์ว่าเป็นตัวแปรควบคุมที่สามารถจัดการตัวแปรต้น และตัวแปรตาม ไปตามลำดับได้อย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพในขั้นตอนของการดำเนินงานอีกด้วย

สามารถจำแนก (Discrimination)

โดยตัวเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยจำเป็นต้องมีคุณสมบัติที่วัดระดับอำนาจจำแนกได้อย่างชัดเจน ยกตัวอย่างเช่น การทำแบบสอบถามประเภท ทดสอบ ควรมีความยากในระดับความรู้ของผู้ทำได้อย่างเหมาะสม ไม่มีการนำข้อมูลนอกเหนือจากขอบเขตการศึกษาของผู้ทำมาใช้ในแบบทดสอบ ซึ่งข้อมูลแบบสอบถามรูปแบบนี้ในภายหลังสามารถเอาไปขั้นตอนสรุปวัดผลได้

ใช้งานได้ (Practicality)

ต้องเป็นแบบเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยที่สามารถใช้งานได้ โดยผู้ออกแบบต้องทำการวินิจฉัยคุณสมบัติของตัวอุปกรณ์ที่เป็นตัวแปรควบคุมของแบบสอบถามอยู่สม่ำเสมอ หรือทำการทดลองแบบสอบถามก่อนเอาให้กลุ่มเป้าหมายทำตลอดทุกครั้ง เพื่อให้หลักการดำเนินการให้ผู้ทำนั้นไม่เกิดปัญหาในภายหลัง

วัดผลได้ (Measurability)

เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยในขอบเขตของผู้ออกแบบ สามารถสรุปผลและวัดค่าข้อมูลดัชนีได้อย่างครอบคลุมพื้นที่ที่ต้องการศึกษา และเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยสำหรับการทำแบบสอบถามที่สามารถสรุปผลลัพธ์และชี้ผลตรงตามวัตถุประสงค์ได้อย่างเที่ยงตรง เชื่อถือได้ มีประสิทธิภาพ จำแนก และใช้งานได้ในทั้งภาคปฎิบัติและทฤษฎี


บทความนี้เกิดจากการเขียนและส่งขึ้นมาสู่ระบบแบบอัตโนมัติ สมาคมฯไม่รับผิดชอบต่อบทความหรือข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือไม่ ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และหากท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือทำให้เกิดความเสียหาย หรือละเมิดสิทธิใดๆ กรุณาแจ้งมาที่ ht.ro.apt@ecivres-bew เพื่อทีมงานจะได้ดำเนินการลบออกจากระบบในทันที

เครื่องมือการวิจัยที่นิยมใช้กันมากได้แก่เครื่องมือชนิดใด

ส่วนเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล จะเป็นเครื่องมือที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล มีด้วยการหลายประเภท โดยเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลที่นิยมใช้มาก ได้แก่ แบบสอบถาม (Questionnaire), แบบสัมภาษณ์ (Interview), แบบสังเกต (Observation) และแบบทดสอบ (Test) ซึ่งมีข้อดี-ข้อเสียต่างกัน ดังนี้

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเชิงสำรวจควรใช้เครื่องมือประเภทใด

เครื่องมือวิจัยที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลนั้นประกอบด้วยเครื่องมือต่าง ๆ ดังนี้ - แบบสอบถาม (Questionnaire) - แบบสัมภาษณ์ (Interview schedule) - แบบตรวจรายการ (Check list) - แบบทดสอบ (Test) - การสังเกต (Observation) ทั้งนี้ในการสร้างเครื่องมือวิจัยโดยเฉพาะประเภทแบบสอบถามมีข้อควรพิจารณา คือ ข้อถามแต่ละข้อ ในแบบสอบถาม ...

เครื่องมือวิจัยที่ดีควรมีคุณสมบัติอะไรบ้าง

ลักษณะของเครื่องมือวิจัยที่ดี 1. ความเที่ยงตรง (Validity) การวัดในสิ่งที่ต้องการจะวัดได้อย่างถูกต้อง 2. ความเชื่อมั่น (Reliability) การวัดที่ให้ผลแน่นอน สม่าเสมอ คงเส้นคงวาของการ ได้คะแนน คะแนนที่วัดได้จากผู้สอบไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ให้ผลคงเดิม ถึงแม้จะมีการวัดซ้าอีก ผลที่ได้ก็ย่อม ไม่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม

เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลมีอะไรบ้าง

อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลภายนอก.
HDD และ SSD ภายนอก ... .
อุปกรณ์หน่วยความจำแฟลช ... .
สื่อจัดเก็บข้อมูลด้วยแสง ... .
ฟลอปปีดิสก์ ... .
พื้นที่จัดเก็บข้อมูลหลัก: หน่วยความจำเข้าถึงโดยสุ่ม (Random Access Memory: RAM) ... .
พื้นที่จัดเก็บข้อมูลสำรอง: ฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์ (HDD) และโซลิดสเทตไดรฟ์ (SSD) ... .
ฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์ (HDD) ... .
โซลิดสเทตไดรฟ์ (SSD).