ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้วัยรุ่นมีพฤติกรรมเสี่ยงมีอะไรบ้าง

พฤติกรรมที่นำมาหรือเป็นสาเหตุให้เกิดความเสี่ยงต่อการดำเนินชีวิตทำให้ร่างกายเป็นอันตราย สูญเสียหน้าที่ ขาดโอกาสพัฒนาตามปกติหรือเสียชีวิต เพื่อให้วัยรุ่นผ่านพ้นช่วงวัยไปได้อย่างราบรื่น ตัววัยรุ่นและสมาชิกในครอบครัวควรทำความเข้าใจพฤติกรรมเสี่ยงนี้พร้อมป้องกันค่ะ

วัยรุ่นจะมีพฤติกรรมเสี่ยงมาก เนื่องจากจิตใจวัยนี้ต้องการความสนุกตื่นเต้นท้าทาย ต้องการเป็นที่ยอมรับ อยากรู้อยากลอง มีอารมณ์ทางเพศ แต่ยังขาดการยั้งคิดและควบคุมตนเอง

โดย ผศ.นพ. พนม  เกตุมาน ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ได้แบ่งพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่นเป็น 6 ประเภท ได้แก่ พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ, การใช้สารเสพติด, พฤติกรรมความรุนแรง, พฤติกรรมเสี่ยงต่ออุบัติเหตุ, ภาวะซึมเศร้าและการฆ่าตัวตาย, พฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันในวัยกลางคน

ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้วัยรุ่นมีพฤติกรรมเสี่ยงมีอะไรบ้าง

การป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงวัยรุ่น

ทำได้โดยลดปัจจัยสาเหตุ เพิ่มปัจจัยป้องกัน และจัดการสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม ดังนี้

  1. การให้ความรู้ที่จำเป็นสำหรับวัยรุ่น ได้แก่ การเลี่ยนแปลงตนเองในวัยรุ่น ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยอันตรายและความเสี่ยงต่างในการดำเนินชีวิต ความรู้เกี่ยวกับเรื่องเพศ
  1. การฝึกทักษะในการรู้จักอารมณ์และความคิดตนเอง จัดการกับอารมณ์ได้ จัดการอารมณ์เพศตนเองการแก้ไขปัญหาต่างๆ ในชีวิต การปฏิเสธ การมีกิจกรรมที่เป็นสุขเป็นประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่น
  1. สร้างความตระหนักในการป้องกันความเสี่ยง จริงจังต่อการป้องกันตนเอง เห็นประโยชน์ของการป้องกันและเห็นโทษหรือพิษภัยจากพฤติกรรมเสี่ยง จนใช้เป็นหลักในจิตใจที่จะไม่ทำพฤติกรรมนั้น
  1. ฝึกการควบคุมตนเอง ฝึกจิตใจให้เข้มแข็ง การรู้จักจิตใจตนเองและควบคุมได้ รู้จักยั้งคิด ฝึกระเบียบวินัยที่มาจากภายในใจตนเอง ฝึกการปฏิเสธเหล้าและยาเสพติดเป็นสาเหตุที่ทำให้จิตใจเสียการควบคุมตนเอง
  1. ให้วัยรุ่นมีกิจกรรมที่ทำให้ตนเองพึงพอใจสิ่งที่ถูกต้อง วัยรุ่นต้องการกิจกรรมที่ช่วยให้ตนเองเกิดความพึงพอใจ ความสุข เป็นที่ยอมรับ วัยรุ่นที่มีจุดเด่นเป็นที่ยอมรับของเพื่อนด้านบวกอยู่แล้ว จะไม่แสวงหากิจกรรมด้านลบที่อาจเป็นพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ
  1. สร้างสิ่งแวดล้อมที่ดี พ่อแม่ ผู้ปกครองเป็นแบบอย่าง มีทัศนคติที่ดีต่อลูก หากิจกรรมที่เป็นประโยชน์ ครอบครัวมีความสุข ทัศนคติดีต่อการเรียนรู้ที่ถูกต้อง ส่งเสริมกลุ่มเพื่อนที่ดี ให้เป็นที่ยอมรับของเพื่อนครอบครัว ชุมชน และสังคม

ลำพังตัววัยรุ่นคนเดียวคงไม่สามารถก้าวผ่านความสี่ยงต่างๆ ไปได้อย่างราบรื่น ฉะนั้นจึงเป็นหน้าที่ของทุกคนในครอบครัวที่จะคอยดูแลกันและกันเพื่อป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงวัยรุ่นค่ะ

ความรุนแรงในวัยรุ่นเป็น พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพในวัยรุ่น ที่อาจส่งผลต่อการเรียนรู้ พัฒนาการ สุขภาพร่างกาย รวมถึงอาจส่งผลเสียต่อโรงเรียนและสังคมด้วย ตัวอย่างพฤติกรรมรุนแรงในโรงเรียน ดังนี้

  • การกลั่นแกล้งทั้งต่อหน้าและในโลกอินเทอร์เน็ต
  • การทำร้ายร่างกาย
  • การใช้อาวุธ
  • ความรุนแรงทางเพศ

พฤติกรรมทางเพศ

พฤติกรรมทางเพศในวัยรุ่นอาจนำไปสู่การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น หรืออาจเสี่ยงต่อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น การมีเพศสัมพันธ์เมื่ออายุยังน้อย การเปลี่ยนคู่นอนหลายคน ไม่ป้องกันเมื่อมีเพศสัมพันธ์ ไม่ได้รับการตรวจโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ หรือการใช้สารเสพติดระหว่างมีเพศสัมพันธ์

พฤติกรรมการกิน

พฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่น ในเลือกการรับประทานอาหารที่มีดีต่อสุขภาพ ได้แก่ ไม่รับประทานผักและผลไม้ ไม่ดื่มนม ชื่นชอบในเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลมาก เช่น น้ำอัดลม หรือไม่รับประทานอาหารเช้า

ออกกำลังกายไม่เพียงพอ

พฤติกรรมเสี่ยงอีกข้อที่ส่งผลต่อสุขภาพวัยรุ่นคือ การไม่ออกกำลังกาย เพราะในปัจจุบัน วัยรุ่นส่วนใหญ่มักชื่นชอบในการเล่นวิดีโอเกม เล่นคอมพิวเตอร์หลายชั่วโมงต่อวัน หรือดูโทรทัศน์มากเกินไป จนอาจส่งผลต่อการนอนหลับและไม่ใส่ใจในการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ

พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพในวัยรุ่นและเยาวชนมีพฤติกรรมใดบ้าง

องค์การ UNICEF (2007 อ้างถึงใน กรเกล้า สาลี, 2558) ได้กล่าวไว้ว่า พฤติกรรมเสี่ยง หมายถึง การกระทำของบุคคลที่อาจส่งผลให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ ชีวิต หรือทรัพย์สิน ได้แก่การสูบ บุหรี่ การดื่มสุรา การเสพยาเสพติด การมีเพศสัมพันธ์ การไม่ใช้ถุงยางอนามัย และการตั้งครรภ์ใน วัยรุ่น

ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้วัยรุ่นมีพฤติกรรมเสี่ยงมีกี่ข้ออะไรบ้าง

โดย ผศ.นพ. พนม เกตุมาน ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ได้แบ่งพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่นเป็น 6 ประเภท ได้แก่ พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ, การใช้สารเสพติด, พฤติกรรมความรุนแรง, พฤติกรรมเสี่ยงต่ออุบัติเหตุ, ภาวะซึมเศร้าและการฆ่าตัวตาย, พฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันในวัยกลางคน

พฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่นเกิดจากสาเหตุอะไร

พฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น คือพฤติกรรมที่นำมาหรือเป็นสาเหตุให้เกิดความเสี่ยงต่อการดำเนินชีวิต ทำให้ร่างกายเป็นอันตราย สูญเสียหน้าที่ ขาดโอกาสพัฒนาตามปกติ หรือเสียชีวิต วัยรุ่นจะมีพฤติกรรมเสี่ยงมาก เนื่องจากจิตใจวัยนี้ต้องการความสนุกสนาน ตื่นเต้น ท้าทาย ต้องการเป็นที่ยอมรับของคนอื่น อยากรู้อยากเห็นอยากลอง มีอารมณ์ทางเพศมาก ...

ประเภทของพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่นมีอะไรบ้าง

การศึกษาพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องพบว่า พฤติกรรมเสี่ยงที่สำคัญของวัยรุ่นจำแนกได้ 7 ด้าน หลักๆ คือ ด้านความปลอดภัยและความรุนแรง การสูบบุหรี่ การดื่มสุราและใช้สารเสพติด พฤติกรรม เสี่ยงทางเพศ การรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม การออกกำลังกายและพฤติกรรมความเครียด โดย ผู้วิจัย ...