คําที่ไม่ออกเสียง ห มีอะไรบ้าง

พยัญชนะที่ไม่ออกเสียงในภาษาไทย

Posted on 30/09/2011 by krupiyarerk

พยัญชนะที่ไม่ออกเสียงในภาษาไทย

 

โดยสรุป

พยัญชนะที่ไม่ออกเสียงในภาษาไทย  ได้แก่

๑.  พยัญชนะที่มีเครื่องหมายทัณฑฆาต    (       )   กำกับ เช่นคำว่า  ฤกษ์  สุขสันต์

๒.   พยัญชนะ  หรือ  สระที่ตามหลังตัวสะกดเป็นบางคำ เช่น  จักร   (ไม่ออกเสียง  ร)    พักตร์  (ไม่ออกเสียงทั้ง  ต  และ  ร)     เหตุ  (ไม่ออกเสียง  ุ  )

๓.   ร หรือ ห  ที่นำพยัญชนะตัวสะกดในบางคำ เช่นคำว่า   นารถ   พราหมณ์   พระพรหม

๔.   ร  ในอักษรควบไม่แท้ เช่นคำว่า  ทราบ  ทราม   ทราย   ทรุดโทรม   อินทรีย์   จริง   ไซร้   เศร้า  สระน้ำ

อ้างอิง 

กำชัย ทองหล่อ. หลักภาษาไทย. กรุงเทพฯ : บำรุงสาส์น,  ๒๕๓๓.

Share this:

  • Twitter
  • Facebook
  • Email

Like this:

ถูกใจ กำลังโหลด...

Related

Filed under: พยัญชนะที่ไม่ออกเสียงในภาษาไทย, เสียงพยัญชนะ, เสียงในภาษาไทย | Tagged: พยัญชนะที่ไม่ออกเสียง, พยัญชนะที่ไม่ออกเสียงในภาษาไทย, พยัญชนะไทย |

คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3 from Kansinee Kosirojhiran

เรียนมาตั้งแต่เด็ก แต่บางคำเราก็ยังไม่เข้าใจทั้งหมด อย่างผู้เขียนเองจะไม่สามารถเขียนคำว่า “กษัตริย์” ได้ง่ายๆ จะต้องเขียนพร้อมท่องใจในว่า “กะ สัด ตอ ริ ยอ” ฮ่าๆๆ นึกแล้วก็ยังแอบขำตัวเองไม่หาย หรืออย่างคำว่า “สับปะรด” ก็มักจะเขียนสลับตำแหน่งระหว่าง บ.ใบไม้ กับ ป.ปลา ทุกทีสิน่า วันนี้เลยหาความรู้ใส่ตัวเกี่ยวกับภาษาไทย ให้หายคาใจกับคำที่เคย เขียนยาก อ่านออกเสียงพลาดทุกที

พยัญชนะที่ไม่ออกเสียง ในภาษาไทย

พยัญชนะที่ไม่ออกเสียงในภาษาไทย ได้แก่

1. พยัญชนะที่มีเครื่องหมายทัณฑฆาต (  ) กำกับ เช่นคำว่า ฤกษ์ สุขสันต์

2. พยัญชนะ หรือ สระที่ตามหลังตัวสะกดเป็นบางคำ เช่น จักร (ไม่ออกเสียง ร) พักตร์ (ไม่ออกเสียงทั้ง ต และ ร) เหตุ (ไม่ออกเสียง สระ อุ )

3. ร หรือ ห ที่นำพยัญชนะตัวสะกดในบางคำ เช่นคำว่า นารถ พราหมณ์ พระพรหม

4. ร ในอักษรควบไม่แท้ เช่นคำว่า ทราบ ทราม ทราย ทรุดโทรม อินทรีย์ จริง ไซร้ เศร้า สระน้ำ

ตัวอย่างคำที่ไม่ออกเสียง ร ที่ตามตัวสะกด

กอปร , เกษตร , จักร , ฉัตร , นักษัตร , บุตร , มิตร , สมัคร , เพชร , บาตร , บัตร , กิจวัตร , สูตร , ธรรมวัตร , นักษัตร , เนตรนารี , บริพัตร , ปริมาตร

ตัวอย่างคำที่ไม่ออกเสียงตัว ร , ห ที่อยู่กลางคำ

ชลมารค , ปรารถนา , พรหม , สามารถ

ตัวอย่างคำที่ไม่ออกเสียงสระ อิ หรือสระ อุ

เกตุ , ชาติ , ญาติ , ธาตุ , เมรุ , เหตุ , ประวัติ , พยาธิ , ภูมิใจ , ภาคภูมิ , จักรพรรดิ , จักรวรรดิ , ปฐมสมโพธิ , โลกนิติ , สมมติ , สมมุติ , สัญชาติ , ประพฤติ , คุณวุฒิ , สมบัติ , อัตโนมัติ , จักรพรรดิ , บัญญัติ , ปริยัติ , ปฏิบัติ , ขัดสมาธิ

คําที่ไม่ออกเสียงมีอะไรบ้าง

1. คำที่มีพยัญชนะที่ไม่ออกเสียง 1.1 คำที่ไม่ออกเสียงที่ตามตัวสะกด เช่น กอปร เกษตร จักร ฉัตร สมุทร บุตร มิตร สมัคร เพชร บาตร บัตร สูตร สมัคร ศีรษะ เนตรนารี นักษัตร ปริมาตร ธรรมวัตร กิโลเมตร กิจวัตร 1.2 คำที่ไม่ออกเสียง ร และ ห ที่อยู่กลางคำ เช่น ชลมารค ปรารถนา พรหม สามารถ

คำที่ไม่ออกเสียงสระอุมีอะไรบ้าง

๒. คำที่ไม่ออกเสียงสระอุ ตัวอย่ำง ขัดมำธิ อ่ำนว่ำ ขัด - สะ - หมำด ชำติ อ่ำนว่ำ ชำด บัญญัติ อ่ำนว่ำ บัน - หยัด ประวัติ อ่ำนว่ำ ประ - หวัด ภูมิใจ อ่ำนว่ำ พูม – ไจ สมมุติ อ่ำนว่ำ สม - มุด เกตุ อ่ำนว่ำ เกด ธำตุ อ่ำนว่ำ ทำด เมรุ อ่ำนว่ำ เมน เหตุ อ่ำนว่ำ เหด ๗

คำใดที่ไม่ออกเสียงรเรือ

ความจริง ไม่ออกเสียง ร ก็ได้ อ๊ะ แต่หมายถึงเฉพาะบางคำเท่านั้นนะครับ เช่น ปรารถนา, เกียรติ, (คำว่า เกียรติ์ ใช้ เป็นตัวสะกด แม่กน), สามารถ, กอปร ฯลฯ คำพวกนี้ ส่วนมากมาจากภาษาสันสกฤต (หรือไม่ก็บาลีแผลง ภาษาบาลีแม้ไม่ค่อยมีเสียงพันๆ กันอย่างนี้) ส่วน หัน คือ ร เรือ สองตัว ก็ไม่ต้อง ออกเสียง ร อีกนั่นแหละ สรร, วรรณ, ...

สระมีคำอะไรบ้าง

- สระเดี่ยว มีจำนวน ๑๘ เสียง โดยสระเดี่ยว แบ่งออกเป็น สระเสียงสั้น (รัสสระ) ได้แก่ อะ อิ อึ อุ เอะ แอะ โอะ เอาะ เออะ สระเสียงยาว (ทีฆสระ) ได้แก่ อา อี อื อู เอ แอ โอ ออ เออ - สระประสม มีจำนวน ๓ เสียง โดยสระประสม แบ่งออกเป็น