ศัพท์ทางทัศนศิลป์มีอะไรบ้าง

ศัทพ์ทางทัศนศิลป์ส่วนใหญ่เป็นศัพท์ที่มีรากฐานมาจากภาษาอังกฤษ และมีการบัญญัติศัพท์เป็นภาษาไทยโดยทางราชบัณฑิตยสถาน และบางคำก็ถูกกำหนดขึ้นโดยศิลปินไทยผู้เขียนตำรางทางศิลปะ ดังนั้นศัพท์เฉพาะทางทัศนศิลปืจึงยังไม่แพร่หลายนัก และคำบางคำเป็นศัพท์เฉพาะทางซึ่งไม่ใช่คำที่ใช้สนทนากันในชีวิตประจำวัน
ศัพท์ทางทัศนศิลป์มีอะไรบ้าง
ภาพมารผจญ
ผลงานของอาจารย์ถวัลย์ ดัชนี


ศัพท์ทางทัศนศิลป์ที่ควรรู้ มีดังนี้


การแกะสลัก (Carving)  ความหมาย เป็นวิธีการสร้างงานประติมากรรมโดยวัสดุ เช่น ไม้ หิน มาตัด ขุด แกะสลัด ให้เป็นรูปที่ต้องการ เช่น พระพุทธรูป หน้าบัน ประตู โขนเรือพระราชทาน


กลวิธีการพิมพ์ผ้าไหม (Silk Screen) ความหมาย เป็นกรรมวิธีพิมพ์ภาพอย่างหนึ่งที่พัฒนาจากการพิมพ์ลายฉลุ โดยใช้ผ้าไหมเป็นแม่แบบ


การหล่อ (Casting) ความหมาย เป็นการหล่อ หรือการถ่ายแบบจากงานประติมากรรมต้นแบบด้วยการทำแบบพิมพ์ขึ้นมาก่อน แล้วใช้กลวิธีการหล่อเพื่อให้ไหลลงไปในแม่พิมพ์ ก่อให้เกิดรูปทรงและรายละเอียดตามต้องการ


เครื่องปั้นดินเผา (Ceramic) ความหมาย เป็นผลงานศิลปะที่สร้างขึ้นมาจากดิน หิน แร่ธาตุๆ ปั้นให้เป็นรูปทรงตามต้องการ แล้วผ่านกรรมวิธีการเผาเพื่อให้เกิดความแข็งแรง อาจใช้น้ำยาเคลือบก่อนที่จะนำเตาเผาเคลือบอีกครั้งหนึ่ง


ค่าของแสงและเงา (Chisaroscuro) ความหมาย เป็นส่วนที่สำคัญที่สุดของการวาดเส้น จิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปัตยกรรม ด้วยการลงค่าน้ำหนักความอ่่อน-แก่ของแสง-เงาให้ถูกต้องตามธรรมชาติ จนเป็นผลงานศิลปะที่งดงาม


จิตรกรรม (Ralinting) ความหมาย ผลงานภาพเขียนที่ศิลปินสร้างสรรค์ขึ้นด้วยประสบการณ์ทางสุนทรียภาพ และทักษะความชำนาญ ด้วยสีชนิดต่างๆ เช่น สีน้ำ สีอะคริลิก สีน้ำมัน


จังหวะ (Rhythm) ความหมาย เป็นการจัดวางองค์ประกอบทางทัศนศิลป์ต่างๆ ให้มีความสัมพันธ์และเชื่อมโยงต่อเนื่องกัน


ฉากหลัง (Background) ความหมาย เป็นส่วนประกอบของภาพที่ปรากฏให้เห็นว่าอยู่ไกลที่สุด ซึ่งเป็นส่วนเสริมในจุดสนใจให้เห็นเด่นชัด ฉะนั้นงานจิตรกรรมจึงประกอบด้วยส่วนต่างๆ 3ส่วน คือ ฉากหน้า (Froe ground) ฉากกลาง (Middle ground) และฉากหลัง (Background)


ดุลยภาพ (Balance) ความหมาย เป็นรูปแบบของความสมดุลในการจัดองค์ประกอบของภาพที่ทำให้ภาพมีความรู้สึก มีน้ำหนักเท่าๆ กัน ทั้งสองข้าง ทำให้ภาพไม่มีน้ำหนักเอนไปทางใดทางหนึ่ง โดยการใช้เส้น สี องค์ประกอบ แสง-เงา และความใกล้-ไกล


ตราสัญลักษณ์ (Logo) ความหมาย เป็นคำที่มาจากคำว่า Logotype หมายถึง เครื่องหมายตราสัญลักษณ์ซึ่งเป็นการใช้สื่อความหมายในส่วนต่างๆ เช่น ราชการ มูลนิธิ สมาคม บริษัท ห้างร้านต่างๆ ซึ่งอาจจะเป็นอักษรหรือรูปภาพ หรือทั้ง 2 ชนิด มารวมก็ได้


ทัศนศิลป์ (Visual Art) ความหมาย เป็นลักษณะงานทัศนศิลป์ที่เราสามารถรับรู้จาการมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า


ภาพทิวทัศน์ทางทะเล (Seascape) ความหมาย เป็นลักษณะผลงานศิลปะทางด้านจิตรกรรม รูปแบบการสร้างสรรค์ขึ้นมาจากเรื่องราวและบรรยากาศของทะเลในลักษณะหลายๆ รูปแบบของมิติและกาลเวลา โดยเกิดจาการวาดเส้น การใช้สี


ทัศนียภาพวิทยา (Perspective) ความหมาย เป็นรูปแบบของงานศิลปะที่เกี่ยวกับการเขียนภาพบนพื้นระนาบ (2มิติ) ให้ดูเป็นภาพ 3 มิติ หรือแสดงให้เห็นในระยะใกล้-ไกลได้


น้ำหนัก (Value) ความหมาย เป็นความอ่อน-แก่ของสีต่างๆหรือของแสง-เงา ที่ก่อให้เกิดความงามตามอารมณ์ ความรู้สึกในผลงานศิลปกรรมได้อย่างถูกต้อง

เปน็ วธิ กี ารสร้างงานประติมากรรม โดย
วัสดุ เชน่ ไม้ หิน หรืองาชา้ ง มาตัด ขุดแกะ หรือ
สกัดให้เปน็ รูปท่ีตอ้ งการ

กลวิธพี มิ พ์ผา้ ไหม (Silk Screen)

เป็นกรรมวิธพี มิ พ์ภาพอย่าง
หน่ึงที่พัฒนาจาก การพมิ พ์ลายฉล ุ
โดยใชผ้ า้ ไหม เปน็ แม่พิมพ ์

การหลอ่ (Casting)

เปน็ การถา่ ยแบบจากงาน
ประตมิ ากรรมต้นแบบ

เครอื่ งปัน้ ดินเผา (Ceramic)

สรา้ งขึ้นมาจากดิน หนิ แร่ธาตใุ ห้เป็น
รปู ทรงตามตอ้ งการ แล้วนำไปเผาเพื่อใหเ้ กดิ ความแขง็ แกรง่

คา่ ของแสงและเงา (Chiaroscuro : คอี าร์รัสควิ โร)
การลงค่านํ้าหนกั ความออ่ น-แกข่ องแสง-เงาถูกตอ้ งตามธรรมชาต ิ

จิตรกรรม (Painting)

คือ ภาพเขยี นสที ศี่ ลิ ปนิ
สร้างสรรค์ขึ้นดว้ ยประสบการณท์ าง
สนุ ทรียภาพ และทกั ษะความชำนาญ
ด้วยสชี นิดตา่ ง ๆ

จงั หวะ (Rhythm)

คือ การจัดวางองค์ประกอบให้มคี วาม
สัมพนั ธ์ และเชือ่ มโยงต่อเนือ่ งกนั

ฉากหลงั (Background)

เป็นส่วนประกอบของภาพท่ี
ปรากฏใหเ้ ห็นวา่ อยูไ่ กลสุด ซง่ึ เป็น
ส่วนเสริมจดุ สนใจใหเ้ ด่นชดั สวยงาม

ดลุ ยภาพ (Balance)

หรือความสมดลุ คือหลักการ
จัดองคป์ ระกอบของภาพให้รสู้ ึกมนี ้ํา
หนักเทา่ ๆ กนั ทงั้ สองขา้ ง

ตราสัญลกั ษณ์ (Logo)

ทัศนยี ภาพวทิ ยา (Perspective)

การเขยี นภาพบนพน้ื ระนาบ(2 มติ ิ)
ให้ดูเป็นภาพ 3 มิติ แสดงให้ เหน็
ระยะ ใกล-้ ไกลได ้

ประตมิ ากรรม (Sculpture)

งานศลิ ปกรรมท่ีสรา้ งเป็นรูปทรง 3
มิติ ดว้ ยวิธกี ารปัน้ การแกะสลัก
สามารถมองไดร้ อบตัว

ภาพทวิ ทศั น์ทางบก (Landscape)

เป็นศิลปะประเภทงานจิตรกรรมวาด
เส้น หรืองานอ่ืน ๆ ท่แี สดทัศนยี ภาพ
ของภมู ปิ ระเทศตามธรรมชาติ

ภาพร่าง (Sketch)
ภาพทเี่ ขยี นด้วยดนิ สอ ปากกา พกู่ ัน
อยา่ งครา่ ว ๆเขยี นด้วยความรวดเรว็

ภาพวาดเสน้ (Drawing)
รูปคนเหมอื น (Portrait)

ศลิ ปะกึ่งนามธรรม (Semi-Abstract)
วิจติ รศิลป์ (Fine Art)

ศลิ ปะนามธรรม (Abstract)
ศลิ ปะรปู ธรรม (Realism)

ศิลปะพ้นื บา้ น (Folk Art)
ส่อื ผสม (Mixed Media)

อุตสาหกรรมศิลป์ (Industrial Art)
เอกรงค์ (Monochrome)

การบรรยายผลงาน  MONA LISA
BY LEONARDO DA VINCI
โมนาลิซา คือผลงานจิตกรรม สี
น้ำมัน ของเลโอนาร์โด ดาวินชี
ศิลปนิ เอกของโลก ซ่งึ ใช้เวลาวาด
ทั้งหมด 4 ปี เป็นภาพPortrait
ครึ่งตวั เป็นผลงาน StyleRealism

ดว้ ยรอยยิ้ม ทด่ี ูคลมุ เครือ
ทิวทัศนฉ์ ากหลงั ท่ีดูเลือนราง สอื่
ถงึ ความลึกลับยากจะรูว้ า่ ผูห้ ญงิ
คนนีค้ ดิ อะไรอยู่ ตลอด 509 ป ี

การบ้านการบรรยายผลงาน  PIETÀ

คำชแี้ จง ใหน้ ักเรยี นบรรยายผลงานทัศนศิลป์ ตอ่ THE STARRY NIGHT
ไปน้ี (เลอื กเพยี งรปู เดียว)  THE SCREAM
  EDVARD MUNCH
THE STARRY NIGHT
VENUS OF WILLENDORF  VENUS OF
THE SCREAM EDVARD MUNCH  WILLENDORF
THE LAST SUPPER
PIETÀ   THE LAST SUPPER

บรรยายโดยใช้ศพั ท์ทางทศั นศิลป์ไมต่ ่ำกวา่ 2 คำ
จำนวน 3 บรรทดั  


ศัพท์ทางทัศนศิลป์มีความสําคัญอย่างไร

การมีความรู้พื้นฐานเรื่องศัพท์ทางทัศนศิลป์จะทำให้เข้าใจและเกิดความชื่นชมในผลงาน สามารถประเมินหรือวิจารณ์งานทัศนศิลป์ได้

ศัพท์ทางทัศนศิลป์มีรากศัพท์มาจากภาษาใด

ศัพท์ทางทัศนศิลป์ส่วนใหญ่เป็นศัพท์ที่มีรากฐานมาจากภาษาอังกฤษ และมีการบัญญัติศัพท์ เป็นภาษาไทยโดยราชบัณฑิตยสถาน และบางค าก็ถูกก าหนดขึ้นโดยศิลปินไทยผู้เขียนต าราทาง ทัศนศิลป์ ดังนั้น ศัพท์เฉพาะทางทัศนศิลป์จึงยังไม่แพร่หลายมากนัก และค าบางค าเป็นศัพท์ เฉพาะทาง ซึ่งไม่ใช่ค าที่ใช้สนทนากันในชีวิตประจ าวัน ศัพท์ทางทัศนศิลป์ ...

รูปร่าง" ศัพท์ทางทัศนศิลป์ว่าอย่างไร

รูปนูนต่ำ เป็นประติมากรรมที่มีลักษณะความนูนที่สูงขึ้นมาจากระดับพื้นเพียงเล็กน้อย ทั้งนี้เพื่อให้แสงและเงาเป็นสิ่งช่วยเน้น รูปร่าง (Shape) รูปร่าง คือ พื้นที่ที่เกิดจากการนำเส้นมาประกอบกัน มี 2 มิติ คือ ความกว้างและความยาว รูปร่างแบ่งเป็น3 ประเภท ได้แก่ รูปเรขาคณิต รูปอินทรีย์ และรูปอิสระ รูปทรง (Form)

เพราะเหตุใดจึงต้องมีการนำคำศัพท์ทางทัศนศิลป์มาใช้ในการบรรยายผลงานทางทัศนศิลป์

การบรรยายผลงานทางทัศนศิลป์ เพื่อสื่อให้เห็นถึงจุดประสงค์ของการสร้างสรรค์งาน เพื่อให้ เข้าถึงอารมณ์ความรู้สึกที่ศิลปินต้องการสื่อ จ าเป็นต้องใช้ศัพท์ทางทัศนศิลป์ในการสื่อความหมาย เพื่อชี้ ให้เห็นถึงเบื้องหลังของการสร้างสรรค์ผลงานว่า เกิดจากความคิดหรือเงื่อนไขอะไรในการสร้างสรรค์ งานชิ้นใดชิ้นหนึ่งหรือเนื้อหาใดเนื้อหา ...