การแยกสารโดยวิธีการตกผลึกมีลักษณะอย่างไร

Uncategorizedใบความรู้: การแยกสาร (2)

การแยกสารโดยวิธีการตกผลึกมีลักษณะอย่างไร
การแยกสารโดยวิธีการตกผลึกมีลักษณะอย่างไร

การตกผลึก จึงนับเป็นกระบวนการแยกสารหรือวิธีการทำสารให้บริสุทธิ์ที่เก่าแก่วิธีหนึ่ง ซึ่งนิยมนำมาประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมเคมีและการวิจัยในด้านต่าง ๆ ทั้งจากประสิทธิภาพในการแยกสารและความคุ้มค่าด้านพลังงาน ซึ่งในปัจจุบัน กระบวนการตกผลึกถูกนำมาใช้ประโยชน์มากมาย ทั้งในการผลิตเกลือบริโภค หรือการผลิตผลึกของธาตุแกลเลียม (Gallium) และซิลิคอน (Silicon) รวมไปถึงการผลิตน้ำตาลชนิดต่าง ๆ อีกด้วย

การแยกสารโดยวิธีการตกผลึกมีลักษณะอย่างไร
การแยกสารโดยวิธีการตกผลึกมีลักษณะอย่างไร
นาเกลือและผลึกเกลือ

การเกิดกระบวนการตกผลึก

การทำให้ตัวถูกละลายในสารละลายตกผลึก สารละลายดังกล่าวจะต้องอิ่มตัวอย่างยิ่งยวด จากการมีปริมาณของตัวถูกละลายไม่ว่าจะอยู่ในรูปของอะตอม โมเลกุล หรือไอออน มากกว่าปกติภายใต้สภาวะสมดุล (Equilibrium) ของสารละลายอิ่มตัว ซึ่งผลึกที่สมบูรณ์ของสารแต่ละชนิดจะมีรูปร่างและโครงสร้างที่แตกต่างกันออกไป ตามกระบวนการตกผลึกหรือการเย็นตัวลงของสารละลายดังกล่าว โดยทั่วไป สารละลายอิ่มตัวที่มีอุณหภูมิลดต่ำลงอย่างรวดเร็วมักก่อให้เกิดผลึกของแข็งหรือคริสตัลขนาดเล็ก ขณะที่การเย็นตัวลงอย่างช้า ๆ มักก่อให้เกิดผลึกที่มีขนาดใหญ่

กระบวนการตกผลึกประกอบไปด้วย 2 ขั้นตอนหลัก คือ

  • การเกิดเกล็ดหรือนิวเคลียสของผลึก (Nucleation) คือ จุดเริ่มต้นของการสร้างนิวเคลียสหรือการเกิดเกล็ดของผลึก จากการรวมตัวกันของโมเลกุลตัวถูกละลาย เกิดเป็นกลุ่ม (Cluster) ของสารกระจายตัวอยู่ในสารละลาย จนกระทั่งการรวมตัวดังกล่าวสามารถคงตัวอยู่อย่างมั่นคง จึงก่อให้เกิดนิวเคลียสหรือเกล็ดของผลึกขึ้นในท้ายที่สุด แต่ถ้าหากการจับกลุ่มกันไม่สามารถคงอยู่อย่างเสถียรภาพ โมเลกุลของสารจะสลายตัว และถูกนำกลับไปละลายในสารละลายอีกครั้ง ดังนั้น การเกิดผลึกจึงต้องมีการจับกลุ่มกันของโมเลกุลซึ่งมีขนาดที่มั่งคงและมีเสถียรภาพ จากปัจจัยทางด้านอุณหภูมิ ความดัน และความอิ่มตัวยิ่งยวด (Supersaturation) ของสาร นอกจากนี้ รูปแบบหรือโครงสร้างของคริสตัลและผลึก เกิดจากการเรียงตัวของเกล็ดหรือนิวเคลียสของผลึกในขั้นตอนนี้นั่นเอง
  • การขยายตัวของผลึก (Crystal Growth) คือ การเติบโตของผลึกหรือคริสตัล จากการเติบโตของนิวเคลียสที่มีเสถียรภาพ การขยายตัวของผลึกจะยังคงดำเนินต่อไปตราบเท่าที่สารละลายยังอิ่มตัวด้วยตัวถูกละลาย ซึ่งสารละลายที่ยังหลงเหลืออยู่หลังจากกระบวนการตกผลึก ถูกเรียกว่า “สารละลายตั้งต้น” (Mother Liquors)

การตกผลึกของสารทั้ง 2 ขั้นตอนนั้น เกิดขึ้นเฉพาะในสารละลายอิ่มตัวยิ่งยวดเท่านั้น โดยมีอัตราการเกิดนิวเคลียสและการขยายตัวของผลึกเป็นปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อขนาดและรูปร่างของผลึกที่เกิดขึ้น รวมไปถึงคุณสมบัติอื่น ๆ ของสาร อย่างเช่น ความบริสุทธิ์และความเข้มข้นของสาร ซึ่งสารประกอบหลายชนิดสามารถสร้างผลึกที่มีโครงสร้าง ขนาด และคุณสมบัติที่แตกต่างกันออกไป

�����Է�ҹԾ��� �Ţͧ���ԡҵ���ҧ�������͹�������Ѻ�����Ǵ�˹���ҧ
EFFECT OF SILICA ON CARBON BLACK FILLED RUBBER FOR TREAD COMPOUND ���͹��Ե ����Է��� ���褧
Prasit Youkong �����Ҩ�������֡�� �.��. �ѷþ�ó �����ʹ���áԨ
Prof. Pattarapan Prasassarakich, Ph.D. ����ʶҺѹ ����ŧ�ó�����Է�����. �ѳ�Ե�Է�����
Chulalongkorn University. Bangkok. (Thailand). Graduate School. �дѺ��ԭ�������������´�Ң��Ԫ� �Է�ҹԾ�����Һѳ�Ե. �Է����ʵ�� (�����������Է����ʵ����������)
Master. Science (Petrochemistry and Polymer Science) �շ�診����֡�� 2546 ���Ѵ���(��) �����Ǵ�˹���ҧ�ҡ�ҧ����ͧ�ҧ�����ҵԡѺ �ҧ���չ��Ƿ���չ ��ѵ����ǹ��ҧ � �ѹ (100:0, 80:20, 70:30, 60:40, 30:70, 20:80) �������ҡ�Ըա�ú������͹ ���ԡ���Ф���͹��������������ç����ѵ����ǹ��ҧ � (5:0, 4:1, 3:2,2:3, 1:4, 0:5) �Դ�繹��˹ѡ 30 �����繵�ͧ���˹ѡ���㹤����Ǵ����������֡�����ѵԷҧ����Ҿ����Ӥѭ��ͤ����Ǵ�˹���ҧ ����ҡ����������ҳ���ԡ��ռŷ��������״���蹢ͧ�����Ǵ��դ��������� ��Ф�Ҥ�����͹����Դ���㹤����Ǵ�Ŵŧ �ѧ��鹷���������ҹ�ҹ�����ع�ͧ�ҧŴŧ ���ö¹���ա����������ԧ���Ŵŧ���ҧ�á������ѵԤ�����ҹ�ҹ�ç�֧ ������ҹ�ҹ��éա�Ҵ ������ҹ�ҹ����֡�����Ф�Ҥ������դ��Ŵŧ ����ö��������ء����ҹ�ͧ�ҧ���ŧ 㹧ҹ�Ԩ����ӡ���֡�ҼŢͧ����ҳ�ҧ���չ��Ƿ���չ ������ѵԷҧ����Ҿ�ͧ�����Ǵ� ����ͻ���ҳ�ҧ ���չ��Ƿ���չ������� �ռŷ�����Ҥ����״���蹤�����ҹ�ҹ��éա�ҴŴŧ ��Ҥ�����͹����Դ���㹤����Ǵ�������� ��觡��ҹ�鹻�ԡ�������Ť��૪ѹ �����ҹҹ��� ���Ѵ���(English) Tread compounds from rubber blends with different natural rubber andstyrene butadiene rubber ratio (100:0, 80:20, 70:30, 60:40, 30:70, 20:80)were prepared by melt-mixing process. The silica and carbon black mixtureas reinforcing filler at different proportions (5:0, 4:1, 3:2, 2:3, 1:4,0:5) was 30%wt blended in rubber compounds. The important physicalproperties for tread compound were investigated. As silica contentincreased, the % resilience increased and heat build up in the compounddecreased. Thus, the lower rolling resistance and the reduction of fuelconsumption could be obtained. However, the tensile strength, tearresistance, abrasion resistance and hardness decreased, they could alsodecrease the tire life. The effects of styrene butadiene rubber content on the physicalproperties of the compounds were also studied in this work. As SBR contentincreased, %resilience and tear resistance decreased-and heat build upincreased. Moreover, the vulcanization reaction takes longer time. ���ҷ������¹�Է�ҹԾ��� �ӹǹ˹�Ңͧ�Է�ҹԾ��� 76 P. ISBN 974-17-5892-8 ʶҹ���Ѵ���Է�ҹԾ��� ���Ӥѭ SILICA, TREAD COMPOUND, CARBON BLACK, NR, SBR �Է�ҹԾ���������Ǣ�ͧ

การตกผลึกเหมาะสมสำหรับการแยกสารชนิดใด

การตกผลึก คือ การแยกของผสมที่เป็นของแข็งที่มีสมบัติการละลายในตัวทำละลายต่างกันและได้ไม่เท่ากันทุกอุณหภูมิ มีหลักการ คือ เมื่อนำของผสมละลายในตัวทำละลายต้มสารละลายนั้นจนละลายหมด แล้วทิ้งให้อุณหภูมิลดลง สารที่ละลายน้อยกว่าจะอิ่มตัวแล้วตกผลึกแยกออกมาก่อน เช่น น้ำตาลกับเกลือซิลเวอร์ไนเตรตกับโพแทสเซียมไนเตรต การแยกเกลือ ...

เราสามารถนําความรู้เกี่ยวกับการแยกสารด้วยวิธีการตกผลึกไปใช้ประโยชน์อะไรได้บ้าง จงยกตัวอย่าง

การตกผลึก จึงนับเป็นกระบวนการแยกสารหรือวิธีการทำสารให้บริสุทธิ์ที่เก่าแก่วิธีหนึ่ง ซึ่งนิยมนำมาประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมเคมีและการวิจัยในด้านต่าง ๆ ทั้งจากประสิทธิภาพในการแยกสารและความคุ้มค่าด้านพลังงาน ซึ่งในปัจจุบัน กระบวนการตกผลึกถูกนำมาใช้ประโยชน์มากมาย ทั้งในการผลิตเกลือบริโภค หรือการผลิตผลึกของธาตุแกลเลียม (Gallium ...

การแยกสารโดยวิธีการกลั่นมีหลักการอย่างไร

การกลั่นเป็นการแยกสารละสายที่เป็นของเหลวออกจากของผสม โดยอาศัยหลักการระเหยกลายเป็นไอ และควบแน่น โดนที่สารบริสุทธิ์แต่ละชนิดเปลี่ยนสถานะได้ที่อุณหภูมิจำเพาะ สารที่มีจุดเดือดต่ำจะเดือดเป็นไอออกมาก่อน เมื่อทำให้ไอของสารมีอุณหภูมิต่ำลงจะควบแน่นกลับมาเป็นของเหลวอีกครั้ง

การแยกสารด้วยวิธีการระเหยแห้งและการตกผลึกเหมือนกันและแตกต่างกันอย่างไร

การระเหยแห้งเป็นการให้ความร้อนแก่สารละลาย ให้ตัวทำละลายระเหยเป็นไอออกไปจนหมด เหลือแต่ตัวละลาย ส่วนการตกผลึกเป็นการแยกสารโดยละลายสารในตัวทำละลายที่อุณหภูมิห้องจนกระทั่งเลยจุดอิ่มตัว แล้วปล่อยให้อุณหภูมิของสารละลายลดลง ช้า ๆ ตัวละลายจะค่อย ๆ แยกออกจากสารละลาย มีการจัดเรียงอนุภาคใหม่ที่เป็นระเบียบ มีลักษณะเป็นรูปทรง ...