การแบ่งปันข้อมูลหมายถึงอะไร

บทที่ 1 การแบ่งปนั ข้อมูล รายวชิ า เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 6 สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

1.1 องค์ประกอบและรูปแบบ พื้นฐานในการสือ่ สาร

1.1 องค์ประกอบพ้นื ฐานของการสือ่ สาร ผู้ส่ง สาร ช่องทาง ผูร้ ับ ทกั ษะการตดิ ตอ่ สื่อสาร เน้ือหา การได้ยนิ ทกั ษะการตดิ ต่อสอ่ื สาร ทศั นคติ องคป์ ระกอบ การมองเห็น ทัศนคติ ความรู้ สง่ิ ปรุงแต่ง เชน่ น้าเสยี ง การสัมผัส ความรู้ สงั คม โครงสรา้ ง การรบั ร้รู สชาด สังคม วฒั นธรรม รหัสในการสง่ สาร ความรูส้ กึ วัฒนธรรม

1.1 องคป์ ระกอบพื้นฐานของการสอื่ สาร ผู้ส่ง สาร คือ บุคคลผสู้ ่งสาร คือ ส่อื (Media) ท่ตี อ้ งการส่ง เชน่ เสียง ข้อความ ภาพ เปน็ ต้น ชอ่ งทาง เพอื่ ให้ผู้รบั ไดเ้ ข้าใจอยา่ งรวดเรว็ คือ วิธกี ารสง่ สารไปยงั ผู้รับ เชน่ ผรู้ บั การพดู คุยโดยตรง การใช้โทรศพั ท์ เป็นต้น คอื ผูแ้ ปรความหมายของสารท่ไี ด้รบั โดยขนึ้ อยกู่ บั ประสบการณ์และ ความสามารถของผู้รับสารดว้ ย

กจิ กรรมที่ 1.1 ก่อนจะเป็นบลอ็ กเกอร์ ให้นกั เรียนรวมกลมุ่ กัน 3-4 คน ศกึ ษาบล็อกท่ี สนใจ และท้าใบกจิ กรรมที่ 1.1 กอ่ นจะเป็นบลอ็ กเกอร์

1.2 เทคนิคและวิธกี ารแบง่ ปนั ขอ้ มลู

1.2 เทคนิควิธกี ารแบง่ ปันข้อมูล การส่อื สารโดยตรง สอื่ มวลชน สอ่ื สงั คม (Direct Communication) (Mass Media) (Social Media)

บล็อก (Blog) มาจากคา้ วา่ เวบ็ -ลอ็ ก (web-log) ซึ่งเป็นการเขียนบทความอธิบายหรือ ให้ขอ้ มลู เพอ่ื น้าไปเผยแพรบ่ นเวบ็ ไซต์ โดย ผู้เขยี นบลอ็ กจะเรียกว่า “บล็อกเกอร”์ หากมี ผ้ตู ิดตามจ้านวนมากและเปน็ ท่ีนยิ มจะกลายเปน็ “อินฟลเู อนเซอร”์ ผู้ใหบ้ รกิ ารเว็บบล็อก ไดแ้ ก่ Medium, Blognone, Dek-D เปน็ ต้น

1.การวางแผน 2.ค้นคว้า 3.ตรวจสอบ 4.การเขียน 5.การเขียน 6.การใช้ 7.การตรวจทาน ข้อมูล คาโปรย ภาพประกอบ แก้ไข

1.การวางแผน 2.ค้นคว้า 3.ตรวจสอบ 4.การเขียน 5.การเขียน 6.การใช้ 7.การ ข้อมูล คาโปรย ภาพประกอบ ตรวจทาน แก้ไข

Call to Action (CTA) ขอ้ ความทช่ี กั ชวนหรอื แนะนา ใหผ้ อู้ า่ นกระทาตามเน้ือหาทผ่ี เู้ ขยี น ไดเ้ ขยี นในบลอ็ กหรอื ในสอ่ื อ่นื

1.การ 2.ค้นคว้า 3.ตรวจสอบ 4.การเขียน วางแผน ขอ้ มูล คาโปรย 7.การ ตรวจทาน 6.การใช้ 5.การเขียน ภาพประกอบ แก้ไข

2.ค้นคว้า การค้นคว้าหาข้อมูลในสิ่งท่ีสนใจ สามารถท้าได้ง่ายและสะดวกในยุคดิจิทัล การก้าหนดเร่ืองท่ีเราสนใจ จะเข้ามามี บทบาทในข้ันตอนนี้เพราะการท่ีเราสนใจ เราจะมีความสุขและความมุ่งมั่นในการ คนั ควา้ หาขอ้ มูล

1.การวางแผน 2.ค้นคว้า 3.ตรวจสอบ 4.การเขียน ข้อมูล คาโปรย 7.การ ตรวจทาน 6.การใช้ 5.การเขียน ภาพประกอบ แก้ไข

ข้อมูลที่ได้จากการค้นคว้า หรือ 3.ตรวจสอบข้อมลู จากประสบการณ์ตรงของผู้เขียน อาจ ไม่ใช่สิ่งท่ีถูกต้องเสมอไป และหาก เผยแพร่ข้อมูลที่ผิดพลาดเพยี งคร้ังเดียว อ า จ ส่ ง ผ ล ต่ อ ค ว า ม น่ า เ ช่ื อ ถื อ ข อ ง ผู้เขยี น

1.การวางแผน 2.ค้นคว้า 3.ตรวจสอบ 4.การเขียน ขอ้ มูล คาโปรย 7.การ ตรวจทาน 6.การใช้ 5.การเขียน ภาพประกอบ แก้ไข

4.การเขียนคาโปรย การเขียนค้าโปรยควรใช้ภาษาท่ีจูง ใจหรือดึงดูดความสนใจของผู้อ่านให้อยากรู้ เนอ้ื หาโดยละเอยี ด

1.การวางแผน 2.ค้นคว้า 3.ตรวจสอบ 4.การเขียน ข้อมูล คาโปรย 7.การ ตรวจทาน 6.การใช้ 5.การเขียน ภาพประกอบ แก้ไข

การเขียนน้ัน อาจเขียนคราวเดียวจบ หรือ 5.การเขียน อาจจะแบ่งเป็นส่วนๆ แล้วค่อยๆ เขียนไปทีละส่วนก็ ได้ แต่นักเขียนส่วนใหญ่จะแนะน้าว่า ควรที่จะเขียน ให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ในคราวเดียวเพ่ือให้ มีสมาธิจดจ่อยู่กับเน้ือหาท่ีเขียนท้าให้ไม่ลืมเนื้อหาท่ี เปน็ จุดสา้ คญั ที่ต้องการใหป้ รากฎในบทความ

1.การวางแผน 2.ค้นคว้า 3.ตรวจสอบ 4.การเขียน ข้อมูล คาโปรย 7.การ ตรวจทาน 6.การใช้ 5.การเขียน ภาพประกอบ แก้ไข

6.การใช้ภาพประกอบ ผูอ้ า่ นส่วนใหญ่อาจให้ความสนใจไปรบั ขอ้ มูลจากสอื่ อ่ืน เช่น Facebook หรือ Youtobe การใชภ้ าพประกอบชว่ ยลด ความรสู้ ึกอดึ อดั ในการเห็นเฉพาะตวั หนงั สือ และการใช้ ภาพประกอบจะช่วยให้ผอู้ ่านเขา้ ใจการดาเนนิ เรือ่ งของบทความ โดยผูอ้ ่านสามารถกวาดตามองทัง้ บทความเพือ่ ดวู า่ บทความนี้ เกี่ยวกบั อะไร นอกจากน้กี ารใชภ้ าพยังชว่ ยสร้างจุดสนใจหรือ เสริมความเข้าใจในการอ่านขอ้ ความ รวมท้งั ช่วยให้ผูอ้ ่านเขา้ ใจ เน้อื หาท่ไี ม่สามารถบรรยายดว้ ยตวั อกั ษรได้

1.การวางแผน 2.ค้นคว้า 3.ตรวจสอบ 4.การเขียน ข้อมูล คาโปรย 7.การ ตรวจทาน 6.การใช้ 5.การเขียน ภาพประกอบ แก้ไข

7.การตรวจทานแก้ไข ในการตรวจทาน อาจอ่านออกเสียงเพ่ือตรวจสอบความ ต่อเนื่องของบทความ หรืออาจให้ผู้อื่นช่วยอ่านเพื่อตรวจทาน ด้วย การเขียนบล็อกอาจเป็นเรื่องที่ดูไม่ยากนัก หากยังไม่เคย ทดลองเขียน แต่ในการเขียนจริงนั้น มีส่ิงท่ีต้องค้านึงถึงเป็น อย่างมาก ผู้ท่ีต้องการเป็นบล็อกเกอร์ต้องใช้เวลาในการฝึกฝน ควรท่ีจะเขียนบทความออกมาให้มากที่สุด และต้องยอมรับว่า ไม่มีงานเขียนใดที่สมบูรณ์แบบ แม้ในปัจจุบันจะมีเคร่ืองมือที่ ชว่ ยให้เขยี นได้งา่ ยข้ึนก็ตาม

แฟ้มสะสมผลงานมีความสาคญั อย่างไร? หากจะสรา้ งแฟ้มสะสมผลงานเพื่อใช้ ในการเข้าศึกษาต่อควรมีเนื้อหา หรอื ข้อมลู ที่จาเป็นใดบา้ ง?

ชมวดี ทิ ศั น์ เรอ่ื ง Portfolio | เคลด็ ลบั งา่ ย ๆ จากรนุ่ พพ่ี ชิ ติ TCAS https://youtu.be/-QGJg7LbGFo

1.2.2 การทาแฟ้มผลงาน (Portfolio) แฟ้ มผลงาน เป็ นเอกสารท่ีรวบรวม หลกั ฐานท่แี สดงถึงความสามารถและ ผลงานของบุคคลเพ่อื ใชใ้ นการนาเสนอ ประกอบการพจิ ารณาการประเมนิ การ ทางาน การสมคั รเข้าเรียน หรือการ สมคั รเขา้ ทางาน

ขนั้ ตอนการทาแฟ้มผลงาน 1. รวบรวมผลงาน 2. จดั หมวดหมู่ 3. คดั เลือกผลงาน 6. ตรวจทาน 5. ลาดบั และร้อยเรียง 4. จดั ลาดบั ความ เร่ืองราวให้น่าสนใจ น่าสนใจของผลงาน และประเมินตนเอง

ขนั้ ตอนการทาแฟ้มผลงาน

1.3 ข้อควรระวงั ในการแบง่ ปันข้อมลู

1.3 ข้อควรระวงั ในการแบง่ ปันข้อมลู ⚠️ ไม่มีความลบั ในสงั คมออนไลน์ ⚠️ ข้อมลู บางชนิดไม่ควรเปิ ดเผย ⚠️ ข้อมลู บางชนิดอาจถกู นามาใช้หลอกลวง ⚠️ การรกั ษาขอ้ มูลที่ได้รบั การปกป้องตามกฎหมาย

สรุปทา้ ยบท การส่ือสาร ประกอบด้วย ผู้ส่ง สาร ช่องทางและผู้รับ โดยผู้ส่งสามารถสร้างสารและแบ่งปันข้อมูลได้อย่าง เหมาะสม ในการแบ่งปนั ขอ้ มูลท้าได้หลายรปู แบบ เชน่ บล็อก อนิ โฟกราฟิก วดิ ีโอ และแฟ้มผลงาน บล็อก เป็นบทความที่อธิบายหรือให้ข้อมูล เพ่ือน้าไปเผยแพร่บนเว็บไซต์ บล็อกเกอร์ควรใช้เทคนิคที่สามารถ ชกั ชวนใหผ้ ูอ้ ่านคล้อยตาม และติดตามเป็นจ้านวนมาก แฟม้ ผลงาน เป็นเอกสารท่ีรวบรวมหลักฐานท่ีแสดงถึงความสามารถและผลงานของบุคคล แฟ้มผลงานเป็นสาร ที่ส่งไปยังผู้รับที่เก่ียวข้อง จึงควรก้าหนดรูปแบบในการน้าเสนอโดยค้านึงถึงผู้รับสารจะท้าให้สามารถสื่อสารได้อย่าง ถูกต้องและมปี ระสิทธิภาพ การแบ่งปันข้อมูลอาจท้าให้ข้อมูลส่วนตัวของเรามีโอกาสท่ีจะถูกเปิดเผยสู่สาธารณะ ไม่ว่าด้วยความต้ังใจหรือไม่ก็ตาม ด้วยเหตุนี้ เราจงึ ควรระวงั และเรยี นรเู้ ทคนิคตา่ ง ๆ เพ่อื ปอ้ งกนั ตนเองไม่ใหต้ กเป็นเหยื่อของผูป้ ระสงค์ร้าย

วิธีการแบ่งปันข้อมูลมีอะไรบ้าง

เทคนิคและวิธีการแบ่งปันข้อมูล ในการแบ่งปันข้อมูลนั้น ผู้ส่งสารต้องจัดเตรียมสารให้อยู่ในรูปแบบที่เหมาะสมกับช่องทางและผู้รับ โดยช่องทางในการสื่อสารแบ่งได้ดังนี้ การสื่อสารโดยตรง – พูดคุยต่อหน้า โทรศัพท์ แชท หรือวิดีโอคอล (สื่อสาร 2 ทาง) สื่อมวลชน – ฟังวิทยุ ดูโทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ (สื่อสารทางเดียว)

ารแบ่งปันข้อมูล หมายถึงอะไร พร้อมยกตัวอย่าง

การแบ่งปันข้อมูล(Sharing) คือ การความรู้ ข้อมูล หรือสิ่งต่าง ๆ ที่ได้จากประสบการณ์จริง หรือการค้นคว้ามาบอกต่อไปยังผู้อื่น ซึ่งปัจจุบันการแบ่งปันข้อมูลต่าง ๆ ท ได้ง่ายและ กลายเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจ วันไปแล้ว เช่น การถ่ายรูปตนเองเพื่อโพสต์ขึ้นบนเฟซบุก นับได้ว่าเป็นการแบ่งปันข้อมูลเช่นกัน โดยการแบ่งปันสิ่งต่าง ๆ ...

การแบ่งปันข้อมูลมีผลดีอย่างไร

การรู้ว่าคุณเป็นใครทำให้คุณมีความน่าเชื่อถือมากขึ้น ซึ่งจะช่วยให้ได้รับความไว้วางใจจากผู้อ่าน นอกจากนี้ยังช่วยให้สร้างชุมชนของคนที่มีใจเดียวกัน ในโลกบล็อกได้ง่ายขึ้น การบอกให้โลกรู้ว่าคุณช่วยสร้างตัวเองให้เป็นแบรนด์ได้ เราทุกคนเคยเห็นเหล่าบล็อกเกอร์ที่มีชื่อเสียงมากจนเป็นคนดังที่มีชื่อและรูปภาพอยู่ทุกที่!

ข้อใดคือเทคนิคและวิธีการแบ่งปันข้อมูลแบบ การสื่อสารโดยตรง (Direct Communication)

เทคนิคและวิธีการแบ่งปันข้อมูล การสื่อสารโดยตรง (direct communication) เช่น การพูดคุยต่อหน้าหรือทางโทรศัพท์ การรายงานหน้าห้อง เป็นช่องทางที่ผู้ส่งสามารถสังเกตและรับรู้ปฏิกิริยาของผู้รับได้โดยตรง