ตลาดนัดในปัจจุบันหากเทียบ ใน สมัยสุโขทัย จะ หมาย ถึง สิ่งใด

��������� ������ѵ���Թ���͹�� ��ä�Ң�������ӡѴ����੾����㹵�Ҵ������ҹ��Ҵ��ҹ�� ���ѧ�վ�ͤ����� ���;�ͤ�Ҥ���ҧ���Թ���仢���ѧ��ͧ��蹷����ҧ�Ũҡ��Ҵ ��觪�Ǩչ�繼�����������ä�Ң����ѡɳй���͹���ҵ���� ��Ǩչ����ҹ������ҵ����ѡ��������ͧ������ִ�Ҫվ��Ң�� �¹��Թ�����ҡ���»����� �� ���� ��� ����ѹ�Ѻ �ѡ ����� �ͧ�ӵ�ҧ� �� ���� ��� ������� ��ҡ��� �л� ��ӵ�� ���� �մ ����ѹ��Ҵ ��������� ������� �������ͼ�� 仢���ѧ�����ҹ��ҧ� ��ǹ�˭����Ǩ�价ҧ���� ���Т����Թ������繨ӹǹ�ҡ ���º����͹��Ҵ����͹��� ����;�����ͼ�ҹ��ҹ㴡��ѡ�����ѭ�ҳ �� �պ����������Ҥ��� ���ͺ͡�������������Թ����Ң������

��������� ��Ѫ���¾�кҷ���稾�й���������������� �繪�ǧ�������ҷ����������Դ��ͤ�Ң�¡Ѻ����ȵ��ѹ�� ��ǵ��ѹ�����ͷ��������¡��� "����" ���������ҵ��á�ҡ����ͧ�� ����ǹ�˭��繾ǡ��ͤ�� ��ҹ�������á�ͧ��ͤ�Ҫ�ǵ��ѹ������ͧ�� ��� ��ҧ�ѹ����������� �ͧ����ѹ���� ��ͤ�Ҫ���ѧ��� ��觢���Թ��ҷ���繷���ͧ��âͧ��ǵ��ѹ�� ��ҧ����������������������Ҿ���ҽ�觸����� ��Ҵ�ͧ��ǵ��ѹ������й�鹨֧����ҹ��ҷ�����¡��� "��ҧ" �������ҵ���ҡ��Դ����ա������ҧ �� ��ҧ������ ��ҧ�ѷ���

��������� ������ѵ���Թ���͹�鹹�� ���ѧ����ʧ�����Ѻ�Թᴹ�����§�����ҧ ��зء���駷������ª���֡ʧ���� ���ѡ�С�Ҵ��͹��餹�ҡ���ͧ��ҧ������ �� ����� ����� ���ǹ ����ҵ����ѡ����㹡�ا෾� ��е��������ͧ��ҧ� ��·��١��Ҵ��͹�ҹ������������ѹ�� ��������ҵ�����ͪҵԢͧ�� �֧�Դ�������� �����ᢡ ������ͭ ��Ъ������â�� �����駪�����ͧ��Ǩչ�������Ҥ�Ң����е�駶�蹰ҹ㹡�ا෾� ���Ъ������ҧ���յ�Ҵ㹪�����ͧ�� �����¡�ҹ���͵�Ҵ 仵���ѭ�ҵ�����ҹ�� ��
��������� ��Ҵᢡ �������dz����ҹ� ����ѡþ�ôԾ��� ����ҷ� ��������Ҿ
��������� ��Ҵ�ǹ �������dz�������ʹ �ҧ�
��������� ��Ҵ�ͭ �������dz�ҡ��� ���⤡
��������� ��Ҵ�չ �������dz���� �����Ҫ ��Ҵ����
�����
�������� ��Ѫ���¾�кҷ���稾�Ш�������������������ա�����ҧ�����Тش��ͧ ����������㹡�ا෾� ����Ͷ���Ѵ��ҹʶҹ���㴡������Դ�������Ф�����ԭ��� �������Ӥѭ��� �����ԭ��ا ��觶������繶������˭������Ƿ���ش����¹�� �ա����繶������ǵ��ѹ��������駺�ҹ���͹�ѡ�������������ǹ�ҡ �֧�繷���駢ͧ��Ҵ�ҧ�ѡ ��������觢������â�Ҵ�˭� ����դ����Ӥѭ����Ѻ��ǵ��ѹ��������Ѫ��ŷ�� � ��ǹ���������� �� ������ا���ͧ �����Ѵ ������� �����Ҫ ������ҹ��ä�Ңͧ��ǵ��ѹ����Ъ�Ǩչ�����蹡ѹ ��ҧ�ͧ���� �� ��ҧẴ ����͹��� ������躹������ا���ͧ ��ҧ�ѵ����������躹������ͧ��� ��ҧ��������ʡԹ������躹��������Ѵ ��ҧ�������͹��տ������躹���������� ��ǹ��ҧ�ͧ��Ǩչ ���� ��ҧ����§�͹��ѹ ��ҧ�ع����� ��ҧ�������� ��ҧ����ҹ����ǹ�˭��˹����Թ��ҨӾǡ���� ���ѡ���ä ��оת������ͧ�������Ҩҡ��ҧ�����

Ref : http://guru.sanook.com/encyclopedia/ 20/02/2008

ข่าว กระทิง ขุน ณรงค์ ตลาดนัด สวนจตุจักร ใน ปัจจุบัน หาก เทียบ กับ สมัย สุโขทัย จะ หมาย ถึง สิ่ง ใด

ค่าเงิน USD THB | อัตราแลกเปลี่ยน ดอลลาร์สหรัฐ บาทไทย

ช้อป Nutella ออนไลน์ หลากหลายสินค้ายอดนิยม | lazada.co.th

คณะรัฐมนตรี จึงเห็นชอบมาตรการคืนเงินภาษีมูลค่าเพิ่ม ร้อยละ 5 ของยอดใช้จ่ายผ่านบัตรเดบิต ระหว่างวันที่ 1-15 ก.พ.2562 โดยจะจ่ายเงินคืนผ่านบัญชีพร้อมเพย์ ที่ใช้หมายเลขบัตรประชาชน และลงทะเบียนเข้าโครงการคนละไม่เกิน 1,000 บาทในช่วงเดือน พ.ย.2562 โดยสาเหตุที่รัฐบาลกำหนดการจ่ายเงินคืนภาษีล่าช้าถึงช่วงปลายปี เพราะรัฐบาลไม่ได้จัดสรรงบประมาณสำหรับดำเนินโครงการนี้ไว้ล่วงหน้า ทำให้ต้องเข้ากระบวนการขอจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2563 วงเงิน 9,000 ล้านบาท จึงจะเริ่มจ่ายเงินคืนภาษีเข้าบัญชีพร้อมเพย์ได้

เว็บ พนัน ฟุตบอล

แต่ที่ผ่านมาพบการใช้โซเชียล ในการฝ่าฝืนพ.ร.ก.ฉุกเฉิน ใช้โซเชียลบิดเบือนข้อมูล สร้างความเกลียดชัง สร้างความรุนแรงในสังคม มีประชาชนถูกทำร้าย ด้วยความเกลียดชัง ยืนยันว่าสาเหตุจากโซเชียลมีเดียยุยงปลุกปั่น โซเชียลมีเดียล้างสมองคนเหล่านี้ ก่อให้เกิดความรุนแรงขึ้นมา

ล่าสุดได้มอบหมายให้กรมทรัพยากรน้ำบาดาล เข้าเจาะบ่อบาดาลในพื้นที่บ้านโป่งลึก-บางกลอย และได้รับรายงานว่า ได้น้ำขึ้นมาปริมาณมากพอสมควร จากนี้ก็ได้สั่งการให้จัดทำระบบประปาให้ครอบคลุมทั่วถึงมากขึ้นนอกจากนี้ ยังได้มอบหมายให้กรมทรัพยากรน้ำ ประสานงานกับหน่วยงานอื่นๆ ในพื้นที่ เช่น กรมพัฒนาที่ดิน เพื่อเข้าไปดูแลในพื้นที่ที่แจ้งว่าไม่สามารถดำเนินการเพาะปลูกได้ ให้มีความสมบูรณ์มากขึ้น

นูเทลล่า แอนด์ โก บิสกิตแท่งพร้อมช็อกโกแลตนูเทลล่า 52g. Nutella & Go ุ6 กระปุก 350 บาทปลีก 69 บาทEXP: 15/10/2023.

บทความนี้เกี่ยวกับตลาดนัด สำหรับความหมายอื่น ดูที่ จตุจักร

พิกัดภูมิศาสตร์: 13°47′56″N 100°33′03″E / 13.79889°N 100.55083°E

ภาพบรรยากาศตลาดนัดจตุจักร บริเวณถนนหน้าโครงการ 11 - 13

คนหนาแน่นในช่วงเย็น บริเวณโครงการ 1 และ โครงการ 26

ตลาดนัดจตุจักร เป็นตลาดนัดในกรุงเทพมหานครที่ได้รับความนิยมจากคนไทยและชาวต่างชาติ มีจำนวนแผงค้าทั้งหมดมากกว่า 8,000 แผงค้า แบ่งเป็น 27 โครงการ มีสินค้า 8 ประเภท ได้แก่ ผักและผลไม้ เสื้อผ้า สัตว์เลี้ยง ต้นไม้ อาหารปรุง อาหารสำเร็จรูป อาหารสด และเบ็ดเตล็ด

ตลาดนัดจตุจักรถูกสร้างขึ้นโดย พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันท์ ในสมัยปี พ.ศ. 2521 เป็นที่ดินของการรถไฟแห่งประเทศไทยซึ่งในขณะนั้น พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท์ เป็นประธานกรรมการรถไฟ โดยการเอากองขยะที่ดินแดง มาถม ที่ของการรถไฟแห่งประเทศไทย แล้วย้ายตลาดนัดสนามหลวงมาที่นี่ โดยใช้ทหารช่างมาทำการสร้างขึ้น[1]

ความเป็นมาของตลาดนัดจตุจักร[แก้]

ปี พ.ศ. 2491 จอมพล ป. พิบูลสงคราม อดีตนายกรัฐมนตรี มีนโยบายให้จัดตั้งตลาดนัดขึ้นในทุกจังหวัด สำหรับกรุงเทพมหานครนั้นได้เลือกสนามหลวงเป็นสถานที่จัดตลาดนัด แต่เพียงไม่ถึงปีรัฐบาลก็ย้ายตลาดนัด ไปอยู่ในพระราชอุทยานสราญรมย์แล้วจึงย้ายออกไปตั้งอยู่บริเวณสนามไชย และย้ายตลาดนัดกลับไปอยู่ที่สนามหลวงในปี พ.ศ. 2501

ต่อมาในปี พ.ศ. 2521 พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท์ อดีตนายกรัฐมนตรี ได้มีนโยบายใช้สนามหลวงเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ และจัดงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี การรถไฟแห่งประเทศไทยจึงได้มอบที่ดินย่านพหลโยธิน โดยการดำเนินการโดยนายเชาวน์วัศ สุดลาภา อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร จึงจัดที่ดินสวนจตุจักรด้านทิศใต้ให้แก่ กรุงเทพมหานครเพื่อใช้ในกิจการสาธารณประโยชน์ และกรุงเทพมหานครได้ปรับพื้นที่เพื่อให้ผู้ค้าหาบเร่แผงลอยและขณะเดียวกันก็พยายามย้ายผู้ค้าจากสนามหลวงมาด้วย จนกระทั่งดำเนินการสำเร็จ เมื่อปี พ.ศ. 2525 โดยใช้ชื่อว่าตลาดนัดย่านพหลโยธิน ต่อมาเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น “ตลาดนัดจตุจักร” ให้สอดคล้องกับสวนสาธารณะจตุจักรในบริเวณใกล้เคียง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2530 จนถึงปัจจุบัน[1]

ตลาดนัดสวนจตุจักรได้เปลี่ยนอำนาจการดูแลจากกรุงเทพมหานครไปยังการรถไฟแห่งประเทศไทยตั้งแต่วันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2555 ซึ่งก็มีผู้ค้าขายแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ทั้งเห็นด้วยและไม่เห็นด้วย[2] แต่ในวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2561 การรถไฟแห่งประเทศไทยก็ได้คืนพื้นที่ตลาดนัดจตุจักรกลับไปอยู่ในอำนาจการดูแลของยังกรุงเทพมหานครตามเดิม

การค้าสัตว์ป่าผิดกฎหมาย[แก้]

มีการศึกษาระบุว่าตลาดนัดจตุจักรเป็นศูนย์กลางการค้าสัตว์ป่าผิดกฎหมาย[3] ในการสำรวจเมื่อวันที่ 28–29 มีนาคม 2558 นักวิจัยพบนก 1,271 ตัว 117 ชนิดขายในร้านค้าหรือแผงลอย 45 ร้าน มี 9 ชนิดอยู่ในรายการ "เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์" ของบัญชีแดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ และอีกแปดชนิดอยู่ใน "เกือบอยู่ในข่ายสูญพันธุ์"[4]:24-29[5]

โครงการในตลาดนัดจตุจักร[แก้]

  • โครงการ 1
    • ของเก่าและของสะสม
    • ศิลปะ
    • หนังสือ
    • สินค้าหัตถกรรม
  • โครงการ 2
    • สินค้าหัตถกรรม
  • โครงการ 3
    • ต้นไม้และอุปกรณ์สวน
    • เสื้อผ้าและเครื่องประดับ
    • เฟอร์นิเจอร์และของตกแต่งบ้าน
    • อาหารและเครื่องดื่ม
  • โครงการ 4
    • ต้นไม้และอุปกรณ์สวน
    • เฟอร์นิเจอร์และของตกแต่งบ้าน
    • อาหารและเครื่องดื่ม
  • โครงการ 5
    • เสื้อผ้ามือสองและสินค้าเบ็ดเตล็ด
  • โครงการ 6
    • เสื้อผ้ามือสองและสินค้าเบ็ดเตล็ด
  • โครงการ 7
    • ศิลปะ
  • โครงการ 8
    • สินค้าหัตถกรรม
    • สัตว์เลี้ยงและอุปกรณ์สำหรับสัตว์เลี้ยง
    • เฟอร์นิเจอร์และของตกแต่งบ้าน
  • โครงการ 9
    • สินค้าหัตถกรรม
    • สัตว์เลี้ยงและอุปกรณ์สำหรับสัตว์เลี้ยง
  • โครงการ 10
    • อาหารและเครื่องดื่ม
    • สินค้าหัตถกรรม
  • โครงการ 11
    • สินค้าหัตถกรรม
    • สัตว์เลี้ยงและอุปกรณ์สำหรับสัตว์เลี้ยง
  • โครงการ 12
    • เสื้อผ้าและเครื่องประดับ
  • โครงการ 13
    • สินค้าหัตถกรรม
    • สัตว์เลี้ยงและอุปกรณ์สำหรับสัตว์เลี้ยง
    • เครื่องปั้นดินเผาและเซรามิค
  • โครงการ 14
    • เสื้อผ้าและเครื่องประดับ
  • โครงการ 15
    • สินค้าหัตถกรรม
    • เครื่องปั้นดินเผาและเซรามิค
  • โครงการ 16
    • เสื้อผ้าและเครื่องประดับ
  • โครงการ 17
    • สินค้าหัตถกรรม
    • เครื่องปั้นดินเผาและเซรามิค
  • โครงการ 18
    • เสื้อผ้าและเครื่องประดับ
  • โครงการ 19
    • สินค้าหัตถกรรม
    • เครื่องปั้นดินเผาและเซรามิค
  • โครงการ 20
    • เสื้อผ้าและเครื่องประดับ
    • สินค้าหัตถกรรม
    • เครื่องปั้นดินเผาและเซรามิค
  • โครงการ 21
    • เสื้อผ้าและเครื่องประดับ
  • โครงการ 22
    • เสื้อผ้าและเครื่องประดับ
  • โครงการ 23
    • เสื้อผ้าและเครื่องประดับ
  • โครงการ 24
    • สินค้าหัตถกรรม
  • โครงการ 25
    • สินค้าหัตถกรรม
    • เครื่องปั้นดินเผาและเซรามิค
    • ผ้าไหม
  • โครงการ 26
    • อาหารและเครื่องดื่ม
    • ของเก่าและของสะสม
  • โครงการ 27
    • เสื้อผ้าและเครื่องประดับ
    • หนังสือ
    • อาหารและเครื่องดื่ม

หอนาฬิกาตลาดนัดจตุจักร[แก้]

หอนาฬิกาเป็นจุดนัดพบยอดนิยมที่ในตลาดนัดจตุจักร สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2530 เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ เนื่องในโอกาสที่ทรงเจริญพระชนมพรรษา 5 รอบ วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2530 โดยความร่วมมือของกองอำนวยการตลาดนัดกรุงเทพมหานคร และ สมาคมพ่อค้า ไทย - จีน

ตลาดนัดในปัจจุบันหากเทียบ ใน สมัยสุโขทัย จะ หมาย ถึง สิ่งใด

หอนาฬิกา สัญลักษณ์ตลาดนัดจตุจักร

หอนาฬิกา สัญลักษณ์ตลาดนัดจตุจักร (ได้รับการบูรณะใหม่ ในปี พ.ศ. 2549)

บริการต่างๆ ภายในตลาดนัดจตุจักร[แก้]

  • ศูนย์ประชาสัมพันธ์ ให้บริการตามหาญาติ สอบถามร้านค้า หาของสูญหาย
    • เปิดบริการวันพุธ ถึง อาทิตย์ เวลา 8.00 - 20.00 น.
      • ซุ้มประชาสัมพันธ์ (ประตู 1) ให้บริการสอบถามร้านค้า แผนที่ตลาดนัด
        • เปิดบริการวันเสาร์ - อาทิตย์ เวลา 08.00 - 20.30 น.

          ซุ้มประชาสัมพันธ์ ตลาดนัดจตุจักร ตั้งอยู่ที่ประตู 1

  • ธนาคารต่างๆ ให้บริการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ฝากเงิน เปิดบัญชี สินเชื่อ
    • ธนาคารทหารไทย (อาคารกองอำนวยการฯ)
    • ธนาคารกรุงเทพ (อาคารกองอำนวยการฯ)
    • ธนาคารออมสิน (ข้างๆ ฝ่ายปฏิบัติการ)
    • ธนาคารไทยพาณิชย์ (ใกล้ประตู 1 ถ.กำแพงเพชร 2)
    • ธนาคารกสิกรไทย (ตรงข้ามโครงการ 11)
  • รถไฟฟ้ารอบๆ ตลาดนัดจตุจักร
    • ให้บริการเวลาวันเสาร์ - อาทิตย์ เวลา 10.00 - 17.00 น.
  • ห้องน้ำ
  • ห้องพยาบาล (หลังอาคารกองอำนวยการฯ โครงการ 27)

สถานที่ใกล้เคียง[แก้]

  • จตุจักรพลาซ่า
  • จตุจักรตลาดนัดติดแอร์ (JJ Mall)
  • จตุจักร เดย์ แอนด์ ไนท์
  • จตุจักร สแควร์
  • ร้านอาหาร ชมรมมังสวิรัติ จตุจักร
  • ตลาด อ.ต.ก.
  • ซันเดย์ มอลล์
  • พิพิธภัณฑ์เด็ก กรุงเทพมหานคร
  • สวนจตุจักร
  • สวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ
  • สวนวชิรเบญจทัศ
  • ลานจอดรถจอดแล้วจร (โบเบ๊จตุจักร)
  • สถานีขนส่งสายเหนือและสายตะวันออกเฉียงเหนือ (หมอชิต 2)
  • ศูนย์การค้า อินสแควร์

การเดินทาง[แก้]

มีหลายรูปแบบทั้งรถยนต์ส่วนตัวซึ่งต้องนำไปจอดที่ลานจอดรถตลาดนัดจตุจักรหรือ Park & Ride และมีรถรับส่งระหว่างลานจอดรถกับตลาดนัดจตุจักร (ประตู 2) หรือนั่งรถประจำทางซึ่งมีหลายสายผ่าน และที่สะดวกมากก็คือโดยสารรถไฟฟ้าบีทีเอส ให้ลงที่สถานีหมอชิต หรือรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลสามารถเลือกลงได้ทั้งสถานีกำแพงเพชร หรือสถานีสวนจตุจักร นอกจากนี้ก็ยังมีรถแท็กซี่ และรถตู้หลายสายให้บริการ

จุดเชื่อมต่อการเดินทาง[แก้]

บริการ สถานี/ป้ายหยุดรถสายทาง
รถไฟฟ้าขนส่งมวลชน
ตลาดนัดในปัจจุบันหากเทียบ ใน สมัยสุโขทัย จะ หมาย ถึง สิ่งใด
หมอชิต
รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท
ตลาดนัดในปัจจุบันหากเทียบ ใน สมัยสุโขทัย จะ หมาย ถึง สิ่งใด
สวนจตุจักร
รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล
ตลาดนัดในปัจจุบันหากเทียบ ใน สมัยสุโขทัย จะ หมาย ถึง สิ่งใด
กำแพงเพชร
รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล
รถโดยสารประจำทาง
ตลาดนัดในปัจจุบันหากเทียบ ใน สมัยสุโขทัย จะ หมาย ถึง สิ่งใด
สวนจตุจักร
ช่วงเวลาปกติ

A1 A2 3 8 26 27 29 34 1-5 44 52 59 63 77 90 96 104 108 122 134 136 138 145 157 182 502 503 509 510 517 524 529 Y70E
เฉพาะช่วงเช้า
28 108
กะสว่าง
3 29 34 59 63 134 145

ตลาดนัดในปัจจุบันหากเทียบ ใน สมัยสุโขทัย จะ หมาย ถึง สิ่งใด
ตลาดนัดจตุจักร (ประตู 1)
ช่วงเวลาปกติ

26 77 96 104 122 134 136 138 145 157 182 509 517 529 536
กะสว่าง
134 145

สิ่งสืบเนื่อง[แก้]

ในปี พ.ศ. 2548 คาราบาวได้แต่งเพลงชื่อ สวนจตุจักร อยู่ในอัลบั้มชุด "สามัคคีประเทศไทย" โดยมีเนื้อหาประชาสัมพันธ์ถึงตลาดนัดจตุจักร และมีเนื้อร้องบางท่อนเป็นแร็ปภาษาอังกฤษด้วย[6]

อ้างอิง[แก้]

  • เฟซบุกชมรมคนรักสุนัขไทยหลังอาน

  1. ↑ 1.0 1.1 ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. กาลานุกรมสยามประเทศไทย 2485-2554. กรุงเทพฯ : โพสต์ พับลิชชิง, 2555. 356 หน้า. หน้า 178. ISBN 978-974-228-070-3
  2. [https://web.archive.org/web/20140405091959/http://www.matichon.co.th/daily/view_news.php?newsid=01edi01070155&sectionid=0102&selday=2012-01-07 เก็บถาวร 2014-04-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ขุมทรัพย์จตุจักร จากมติชน]
  3. "Bangkok market a hub for illegal international trade in freshwater turtles and tortoises". International Union for Conservation of Nature (IUCN). 2008-04-25. สืบค้นเมื่อ 28 July 2016.
  4. Ching, Serene C L; Eaton, James A (2016). "Snapshot of an on-going trade: an inventory of birds for sale in Chatuchak weekend market, Bangkok, Thailand" (PDF). BirdingASIA. 25. สืบค้นเมื่อ 28 July 2016.
  5. "Persistent illegal bird trade highlighted at notorious Bangkok Market". Traffic. 28 July 2016. สืบค้นเมื่อ 28 July 2016.
  6. เนื้อเพลง :: เพลง >> สวนจตุจักร

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

ตลาดนัดในปัจจุบันหากเทียบ ใน สมัยสุโขทัย จะ หมาย ถึง สิ่งใด
คอมมอนส์ มีภาพและสื่อเกี่ยวกับ:
ตลาดนัดจตุจักร
  • กองอำนวยการตลาดนัดจตุจักร กรุงเทพมหานคร
  • การรถไฟแห่งประเทศไทยลั่น!! ยึดคืนตลาดจตุจักร
  • ร้านเสื้อผ้าไอเดียสำนวนไทยของหนุ่มนักผวน ที่ใครผ่านไปผ่านมาแล้วต้องสะดุด...
  • เที่ยวตลาดนัดจตุจักรอย่าเผลอสูบบุหรี่โดนแน่2,000 บาท

ตลาดที่มีชื่อเสียงในกรุงเทพมหานคร

ตลาดประตูน้ำ • ตลาดนัดจตุจักร • ตลาดรถไฟ • ตลาดรัชโยธิน • ตลาดพัฒน์พงศ์ • ตลาดโบ๊เบ๊ • ปากคลองตลาด • สวนลุมไนท์บาซาร์รัชดาภิเษก • ตลาดคลองถม-สะพานเหล็ก • ตลาดวังหลัง

เขตจตุจักร

แขวง

  • ลาดยาว
  • เสนานิคม
  • จันทรเกษม
  • จอมพล
  • จตุจักร

ตลาดนัดในปัจจุบันหากเทียบ ใน สมัยสุโขทัย จะ หมาย ถึง สิ่งใด

ประวัติศาสตร์

  • จังหวัดพระนคร
    • ตำบลลาดยาว
  • เขตบางเขน
    • แขวงลาดยาว

ภูมิศาสตร์

  • คลองเปรมประชากร
  • คลองบางซื่อ
  • คลองบางเขน
  • คลองลาดยาว
  • คลองบางบัว
  • คลองลาดพร้าว
  • คลองน้ำแก้ว
  • คลองพระยาเวิก
  • คลองประปา

เศรษฐกิจ
คมนาคม

  • ถนน
    • พหลโยธิน
    • วิภาวดีรังสิต
    • รัชดาภิเษก
    • ลาดพร้าว
    • งามวงศ์วาน
    • ประเสริฐมนูกิจ
    • กำแพงเพชร
    • กำแพงเพชร 2
  • ทางด่วน
    • อุตราภิมุข
    • ศรีรัช
  • รายชื่อทางแยก
  • สถานีขนส่ง
    • หมอชิต (ยุติ)
    • จตุจักร
  • รถโดยสารประจำทางสาย 8
  • รถไฟทางไกลและรถไฟชานเมือง
    • สายเหนือ
    • สายตะวันออกเฉียงเหนือ
    • รถไฟชานเมือง รฟท.
    • รถไฟฟ้าชานเมือง สายธานีรัถยา
    • สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ (บางซื่อ)
    • สถานีจตุจักร
    • สถานีวัดเสมียนนารี
    • สถานีบางเขน
  • รถไฟฟ้าขนส่งมวลชน
    • รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท
      • หมอชิต
      • ห้าแยกลาดพร้าว
      • พหลโยธิน 24
      • รัชโยธิน
      • เสนานิคม
      • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
      • กรมป่าไม้
      • บางบัว
    • รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล
      • บางซื่อ
      • กำแพงเพชร
      • สวนจตุจักร
      • พหลโยธิน
      • ลาดพร้าว
    • รถไฟฟ้าสายสีเหลือง (กำลังก่อสร้าง)
    • รถไฟฟ้าสายสีน้ำตาล (โครงการ)

ธุรกิจ

  • การบินไทย
  • ปตท.
  • สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7
  • หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ
  • บริษัท ขนส่ง จำกัด
  • ตลาดนัดจตุจักร
  • ตลาด อ.ต.ก.
  • เซ็นทรัล ลาดพร้าว
  • โลตัส ลาดพร้าว

สังคม
การศึกษา

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น
  • มหาวิทยาลัยศรีปทุม
  • มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
  • โรงเรียนประชานิเวศน์
  • โรงเรียนสารวิทยา
  • โรงเรียนหอวัง
  • โรงเรียนสตรีวรนาถบางเขน
  • อุทยานผีเสื้อและแมลงกรุงเทพฯ
  • พิพิธภัณฑ์เด็ก กรุงเทพมหานคร
  • หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ
  • พิพิธภัณฑ์อัยการไทย
  • พิพิธภัณฑ์ธนาคารไทย

หน่วยงาน

  • องค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ
  • การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
  • กรมพัฒนาที่ดิน
  • กรมประมง
  • กรมวิชาการเกษตร
  • กรมส่งเสริมการเกษตร
  • สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
  • สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ
  • กรมฝนหลวงและการบินเกษตร
  • กรมการข้าว
  • กรมหม่อนไหม
  • กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ
  • กรมการขนส่งทางบก
  • กรมทรัพยากรน้ำบาดาล
  • สถาบันการบินพลเรือน
  • องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร
  • สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ
  • กองบังคับการปราบปราม

วัฒนธรรม

  • สวนจตุจักร
  • สวนวชิรเบญจทัศ
  • สวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ
  • วัดเสมียนนารี
  • วัดเทวสุนทร (สุนทริการาม)

ตลาดนัดในปัจจุบันหากเทียบ ใน สมัยสุโขทัย จะ หมาย ถึง สิ่งใด
หมวดหมู่