เครื่องดนตรีชนิดใดบ้างที่เหมาะสมในการใช้บรรเลงเดี่ยว

Soloist

  • ประกอบด้วยนักดนตรีจำนวน 1 ท่าน เล่นเครื่องดนตรี 1 ชิ้น สามารถเลือกได้ระหว่าง......

        กีต้าร์, เปียโน (หรือคีย์บอร์ด), ไวโอลิน, เชลโล่, แซ็กโซโฟน

        *** เลือกได้เพียง 1 เครื่องดนตรีที่ต้องการเท่านั้น

Music Connection - Soloist จัดเป็นรูปแบบวงดนตรีขนาดเล็กที่สุดที่สามารถบรรเลงในงานได้​ เหมาะสำหรับงานที่ต้องการความเรียบง่ายของดนตรีบรรเลงคลอบรรยากาศ หากเป็นเดี่ยวกีต้าร์ จะได้ซาวน์ดนตรีแบบอะคูสติกใสๆ ฟังสบายๆ เหมือนแนวดนตรี Cover ที่นิยมเผยแพร่ใน Youtube หากเป็นเดี่ยวเปียโน จะได้ความนุ่มละมุน ยิ่งโดยเฉพาะงานที่ใช้เปียโนไม้จริง นอกจากจะได้ความนุ่มของเสียงจากเนื้อไม้เปียโนแล้ว ยังได้ภาพของความหรูหราอีกด้วย ส่วนไวโอลินและแซ็กโซโฟนจัดเป็นเครื่องดนตรีโซโล่ หากต้องบรรเลงเดี่ยว จะนิยมใช้ Backing Track ประกอบการเล่นเพื่อความสมบูรณ์ของเพลง

TOTAL    :    13,000 Baht

สิ่งที่จะได้รับใน Package

  • นักดนตรีจำนวน 1 ท่าน (โดยเลือกประเภทเครื่องดนตรีที่ต้องการ 1 ชิ้นตามข้างต้นค่ะ)

  • ชุดเครื่องเสียง (Sound System) พร้อมด้วย Sound Engineer และทีม Back Stage ดูแลตลอดจนจบงาน

เงื่อนไขการทำงาน

  • ระยะเวลา Stand By ประมาณ 3 ชั่วโมง รวมเวลาพักของทีมงาน (ไม่รวมเวลาเข้า Set Up อุปกรณ์) 

  • นักดนตรีจะพิจารณารูปแบบและระยะเวลาการเล่นในแต่ละช่วง รวมถึงเพลงที่เหมาะบรรยากาศหน้างานจริง หรือตามที่ลูกค้ากำหนดมาอย่างเหมาะสม

  • สามารถ Request แนวเพลง หรือเพลงพิเศษที่ต้องการให้บรรเลงในงานได้

  • ราคานี้สำหรับเขตกรุงเทพฯ และใกล้เคียง สำหรับงานต่างจังหวัด ขอรับตั้งแต่ Package - Duo ขึ้นไป

  • ราคาข้างต้น เป็นราคาเริ่มต้นตามเงื่อนไขระยะเวลาการทำงานที่ระบุไว้ และสเปกเครื่องเสียงรองรับแขกได้ตั้งแต่ 50-350 ท่าน

  • กรณีที่ต้องการเพิ่มเวลา Stand By หรือเพิ่มสเปกเครื่องเสียงให้เหมาะกับสเกลงาน จะมีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม สอบถามได้ทาง Line นะคะ

รูปแบบการบรรเลงดนตรีไทย

                 

การบรรเลงดนตรีไทย แบ่งเป็น 2 รูปแบบ  ได้แก่ การบรรเลงเดี่ยว และการบรรเลงหมู่
            1. การบรรเลงเดี่ยว
             1.1 การบรรเลงเครื่องดนตรีชนิดใดชนิดหนึ่งตามลำพังคนเดียว ไม่มีเครื่องดนตรีใดๆมาร่วม การบรรเลงลักษณะนี้  ผู้บรรเลงสามารถกำหนดระดับเสียงได้ตามต้องการ ส่วนใหญ่ใช้บรรเลงเพื่อฝึกซ้อม หรือการบรรเลงที่ไม่เป็นพิธีการ ทำนองเพลงเป็นทำนองปกติ  ไม่มีลีลาพิเศษ
             1.2 การบรรเลงคนเดียวที่ผู้บรรเลงต้องแสดงความสามารถ หรือฝีมือในการแสดงโดยคำนึงถึงความสมบูรณ์แบบของการบรรเลง ทั้งเสียง ทำนอง จังหวะ  ตลอดจนเทคนิคการบรรเลง  การบรรเลงประเภทนี้จะมีเครื่องกำกับจังหวะ ได้แก่ ฉิ่ง  กลอง  ประกอบการบรรเลงด้วย

             2. การบรรเลงหมู่
                 การบรรเลงหมู่ หมายถึง การบรรเลงโดยผู้บรรเลงมากกว่า 1 คนขึ้นไป มีลักษณะ ดังนี้
              2.1 การบรรเลงเฉพาะเครื่องดนตรีชนิดใดชนิดหนึ่งพร้อมกันมากกว่า 1 คนขึ้นไป  มีแต่การบรรเลงไม่เกี่ยวข้องกับการขับร้อง เช่น การบรรเลงขิมหมู่ จะเข้หมู่  ระนาดเอกหมู่  เป็นต้น  การบรรเลงลักษณะนี้ผู้บรรเลงทุกคนต้องตรวจสอบเสียงของเครื่องดนตรีให้ตรงกัน ต้องบรรเลงให้ทำนองเหมือนกันและพร้อมเพรียงกัน ไม่ว่าขึ้นเสียงสูงหรือลงเสียงต่ำก็ต้องเหมือนกันทุกคน  การบรรเลงลักษณะนี้ ผู้บรรเลงทุกคนจึงจำเป็นต้องฝึกซ้อมร่วมกันให้มาก เพื่อให้เสียงที่บรรเลงออกมาเป็นเสียงเดียวดุจการบรรเลงเพียงคนเดียว

               

2.2 การบรรเลงเครื่องดนตรีหลายชนิดประสมกันเป็นวง  เป็นลักษณะการบรรเลงที่นำเครื่องดนตรีหลายชนิดมาประสมกันเป็นวงตามแบบแผนดนตรีไทย ได้แก่ วงปี่พาทย์ชนิดต่างๆ วงเครื่องสาย และวงมโหรี การบรรเลงลักษณะนี้  ผู้บรรเลงต้องตรวจสอบความพร้อมของเครื่องดนตรีอยู่เสมอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเครื่องดนตรีประเภทที่ใช้สาย  สายอาจตึง หย่อน หรือขาดได้  ต้องรู้จักหน้าที่ของเครื่องดนตรีที่ตนบรรเลง ไม่ก้าวก่ายหน้าที่ของเครื่องดนตรีอื่น  ทุกคนต้องขยันหมั่นฝึกซ้อมร่วมกัน เพื่อให้การบรรเลงพร้อมเพรียง ไพเราะ น่าฟัง ไม่ผิดพลาด


              

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

เครื่องหมาย และสัญลักษณ์ในดนตรีสากล

เครื่องดนตรีชนิดใดบ้างที่เหมาะสมในการใช้บรรเลงเดี่ยว

เครื่องหมาย และสัญลักษณ์ทางดนตรีสากลที่ประดิษฐ์ขึ้น  เพื่อใช้ในการบันทึกบทเพลงต่างๆมิให้สูญหาย และเป็นที่ยอมรับกันในระดับสากล มีดังนี้       1.  บรรทัด 5 เส้น  (Staff)             บรรทัด 5 เส้น เป็นสัญลักษณ์ทางดนตรีที่ผู้เรียนดนตรีสากลควรทราบต่อจากตัวโน้ตและตัวหยุด  เป็นสิ่งที่แสดงว่าตัวโน้ตที่บันทึกลงในบรรทัด  5 เส้นนี้มีระดับใด เสียงสูง  หรือต่ำ กว่าตัวโน้ตตัวอื่นๆ  หรือไม่        ลักษณะของบรรทัด 5 เส้น หรือเส้นบันทึกโน้ต เป็นเส้นตรงแนวนอน  5 เส้น ที่ขนานกันและมีระยะห่างเท่าๆกัน ใช้สำหรับบันทึกตัวโน้ตและตัวหยุด       วิธีการนับเส้นและช่อง จะนับจากเส้นข้างล่างขึ้นไปหาเส้นข้างบน ดังนี้         นอกจากบรรทัด 5 เส้น ซึ่งใช้เป็นหลักในการบันทึกตัวโน้ต  และตัวหยุดแล้ว  ยังมีเส้นที่ใช้ขีดใต้ บรรทัด 5 เส้น หรือ เหนือบรรทัด 5 เส้น เป็นเส้นสั้นๆ ที่ใช้ขีดเฉพาะตัวโน้ตที่มีระดับเสียงต่ำกว่า หรือมีระดับเสียงสูงกว่าเส้นที่ปรากฏในบรรทัด 5 เส้น เรียกเส้นสั้นๆนี้ว่า   เส้นน้อย  (Ledger Line)           2. ลักษณะตัวโน้ต และตัวหยุด               1) ตัวโน้ต   คือ เครื่องหมายที่ใช้บันทึกแสด

ปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี

เครื่องดนตรีชนิดใดบ้างที่เหมาะสมในการใช้บรรเลงเดี่ยว

การสร้างสรรค์บทเพลง  หรือประพันธ์เพลงไทยแต่ละเพลง  เปรียบได้กับการประพันธืบทร้อยกรองในลักษณะต่างๆ เช่น  โคลง  ฉันท์  กาพย์   กลอน เป็นต้น เพราะการสร้งสรรค์บทเพลงไทยจะต้องพิจารณษนำเสียงแต่ละเสียงมาเรียบเรียงให้สอดประสานกลมกลืนกันอย่างเหมาะสมสามารถสื่ออารมณ์ความรู้สึกต่างๆ ตามที่ตนต้องการถ่ายทอดให้แก่ผู้ฟังได้  ขณะเดียวกันต้องคำนึงถึงรูปแบบของเพลงแต่ละประเภทให้เป็นไปตามแบบแผนที่กำหนดไว้ด้วย เช่นเดียวกับการประพันธ์บทร้อยกรองต่างๆ ที่ผู้ประพันธ์ต้องคัดสรรคำแต่ละให้มีทั้งเสียงและความหมาที่สัมผัสคล้องจองกัน  มีสัมผัสใน  สัมผัสนอก  แบ่งวรรคตอนให้ครบถ้วนตามแบบแผนที่กำหนดไว้ โดยปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี มีดังนี้         ๑) ธรรมชาติ   เป็นสิ่งหนึ่งที่มีอิทธิพลอย่างยิ่งต่อจินตนาการของผู้ประพันธ์บทเพลงไทย  การได้เห็นธรรมชาติที่สวยงามไม่ว่าจะเป็นภูเขา  นำ้ตก ทะเล ต้นไม้ ดอกไม้ หรือได้ยินได้ฟังเสียงของสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เช่น เสียงคลื่น   ลม น้ำตก ฝน ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า เสียงร้องของสัตว์ต่างๆ เป็นต้น ย่อมทำให้ศิลปิน  หรือผู้ที่ได้สัมผัสสิ่งต่างๆเหล่า่นั้น  เกิดจิน

วิวัฒนาการของดนตรีไทยในแต่ละยุคสมัย (สุโขทัยและอยุธยา)

เครื่องดนตรีชนิดใดบ้างที่เหมาะสมในการใช้บรรเลงเดี่ยว

การศึกษาเรื่องราวของดนตรีไทยนั้น  จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทราบถึงแหล่งกำเนิด ความเป็นมา และวิวัฒนาการของดนตรีไท่ยในแต่ละยุคสมัย เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความซาบซึ้ง  มองเห็นคุณค่าของดนตรีไทย อันเป็นมรดกทางศิลปวัฒนธรรมประจำชาติไทย ซึ่งการแบ่งยุคสมัยทางดนตรีของไทยจะนิยมกำหนดตามยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  ดังต่อไปนี้           1. สมัยสุโขทัย            สมัยสุโขทัยนับเป็นสมัยเริ่มต้นที่คนไทยรวตัวกันเป็นชาติอย่างสมบูรณ์  แทนที่จะเป็นเพียงอาณาจักรที่มีเขตอิทธิพลอย่างจำกัดดังแต่กอ่น เรื่องราวของสุโขทัยมีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น เมื่อพ่อขุนรามคำแหงได้ประดิษฐ์อักษรไทยและจารึกเรื่องราวต่างๆ ลงในหลักศิลาจารึก  และจากศิลาจารึกนี้เองทำให้คนรุ่นหลังทราบว่าสมัยสุโขทัยเป็นยุคสมัยหนึ่งที่มีความเจริญก้าวหน้าทางด้านสังคม เศรษฐกิจ  การเมือง  การทหาร  ภาษา  และศิลปวัฒนธรรม  ชาวเมืองมีเครื่องเล่นสร้างควงามรื่นเริงบันเทิงใจ  และมีอิสระเสรีที่จะแสดงออกในเรื่องราวของบทเพลงและดนตรี  เพลงและเรื่องราวของดนตรีบางส่วนจึงปรากฏอยู่บนหลักศิลาจารึก  เช่น ข้อความที่ว่า "เสียงพาทย์ เสียงพิณ  เสียงเลื่อน  เสียงขับ"

ข้อใดเป็นการบรรเลงเดี่ยว

เป็นการบรรเลงโดยใช้ผู้บรรเลงมากกว่า ๑ คนขึ้นไป สามารถแบ่งออกเป็น ๒ ลักษณะเช่นเดียวกับการบรรเลงเดี่ยว คือ การบรรเลงเครื่องดนตรีชนิดเดียวกัน โดยมีผู้บรรเลงมากกว่า ๑ คนขึ้นไป ไม่เกี่ยวข้องกับการขับร้อง เช่น การบรรเลงขิมหมู่การบรรเลงจะเข้หมู่การบรรเลงระนาดเอกหมู่เป็นต้น

เพลงใดเหมาะสมกับการบรรเลงเดี่ยว

เพลงที่ใช้ในการเดี่ยว เพลงที่นำมาจากเพลงหน้าพาทย์ ได้แก่ กราวใน เชิดนอก เพลงที่นำมาจากโหมโรงเสภา ได้แก่ เชิดใน เพลงเบ็ดเตล็ด เช่นเดี่ยวเพลงแขกบรเทศชั้นเดียว เชิดจีน เพลงหางเครื่อง

เทคนิคที่ใช้ในการบรรเลงเดี่ยวมีอะไรบ้าง

1. การบรรเลงเดี่ยว คือ การบรรเลงด้วยเครื่องดนตรีชิ้นเดียว เป็นการบรรเลงคนเดียว แสดงถึง ความสามารถของผู้บรรเลงทั้งในเรื่องความแม่นย าในด้านจังหวะ ท านองเพลง เทคนิคในการบรรเลงเดี่ยว 1.1 ผู้บรรเลงต้องมีความสามารถและฝีมือในการบรรเลง 1.2 ผู้บรรเลงต้องฝึกจดจ าจังหวะท านองของบทเพลงเพื่อให้บรรเลงได้ถูกต้อง 1.3 ผู้บรรเลงต้องฝึก ...

เครื่องดนตรีไทยมีวิธีการบรรเลงกี่ชนิด

เครื่องดนตรีไทยแบ่งตามลักษณะการทำให้เกิดเสียงได้เป็น 4 ประเภท คือ เครื่องดีด เครื่องสี เครื่องตี และเครื่องเป่า