โพรซีเยอร์ procedure คืออะไร

#1
โพรซีเยอร์ procedure คืออะไร

naruponk

    New Member

  • โพรซีเยอร์ procedure คืออะไร
  • Members
  • โพรซีเยอร์ procedure คืออะไร
  • 13 posts

    Posted 26 July 2011 - 10:45 AM

    สวัสดีครับ

    สับสนนิดนึงครับว่า WI กับ Procedure ต่างกันอย่างไรครับ
    ตอนนี้ผมเข้าใจว่า Procedure เป็นการอธิบายกระบวนการ เป็นระเบียบปฏิบัติ แต่ WI จะลงรายละเอียด
    แล้วในการทำ ISO ต้องมีทั้ง WI + Procedure หรือเปล่าครับ
    หรือว่าอย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ครับ

    ขอบคุณครับ


    #2 ต๊อกAsst.QMR

    ต๊อกAsst.QMR

    • Gender:Male
    • Location:พระราม3 กรุงเทพฯ

    Posted 26 July 2011 - 03:22 PM

    สวัสดีครับ

    สับสนนิดนึงครับว่า WI กับ Procedure ต่างกันอย่างไรครับ
    ตอนนี้ผมเข้าใจว่า Procedure เป็นการอธิบายกระบวนการ เป็นระเบียบปฏิบัติ แต่ WI จะลงรายละเอียด
    แล้วในการทำ ISO ต้องมีทั้ง WI + Procedure หรือเปล่าครับ
    หรือว่าอย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ครับ

    ขอบคุณครับ

    ที่คุณเข้าใจน่ะถูกต้องแล้วครับ
    ส่วนในการทำ ISO ต้องมีทั้งWI และ Procedure หรือเปล่านั้นมันอยู่ที่กระบวนการมากกว่านะครับ
    บางกระบวนการอาจมีแค่Procedure เช่น ฝ่ายขาย Procedure ของฝ่ายขาย เรื่องการขาย เค้าก็อาจไม่มีWI แยกออกมาอีกเพราะรายละเอียดต่างๆนั้นอยู่ในProcedure แล้ว
    แต่บางกระบวนการก็ต้องมีทั้ง Procedure และ WI เช่น QA Procedure ของQA เรื่องการตรวจสอบและทดสอบ ในการตรวจสอบและทดสอบนั้นมีหลายกระบวนการย่อย จึงต้องมีWI เรื่องการตรวจสอบวัตถุดิบรับเข้า การตรวจรอบระหว่างกระบวนการ การตรวจสอบสินค้าสำเร็จรูป แยกย่อยออกมาอีกเป็นต้น ครับ
    แต่อย่างน้อยคุณก็ต้องมีProcedure แหล่ะครับ

    โพรซีเยอร์ procedure คืออะไร


    #3 pakdoo2002

    pakdoo2002

      New Member

    • โพรซีเยอร์ procedure คืออะไร
    • Members
    • โพรซีเยอร์ procedure คืออะไร
    • 9 posts

      Posted 26 July 2011 - 03:56 PM

      ที่ผมใช้อยู่คือ
      Procedure และ WI ต่างเป็นขั้นตอนการปฏิบัติงาน
      โดยที่ Procedure เป็นขั้นตอนกาารปฏิบัติงาน กรณีที่ต้องเกี่ยวข้ิองกับหลายแผนก คนอนุมัติ คือ QMR
      แต่ WI เป็นขั้นตอนกาารปฏิบัติงานเฉพาะภายในแผนก คนอนุมัติ คือ Mgr. ของแผนกนั้นๆ

      ซึ่งในข้อกำหนด ISO9000 ข้อ 4.2.1 จะกำหนดว่า องค์กรจำเป็นต้องจัดทำขั้นตอนการปฏิบัติงานเหล่านั้นเป็นเอกสาร หากมีข้อความ "เอกสารขั้นตอนการปฏิบัติงาน"
      "A document procedure shall be established."

      และใน ISO9000:2005 กำหนด ความหมายของ Procedure ว่า
      "3.4.5
      procedure
      specified way to carry out an activity or a process (3.4.1)
      NOTE 1 Procedures can be documented or not.
      NOTE 2 When a procedure is documented, the term “written procedure” or “documented procedure” is frequently used.
      The document (3.7.2) that contains a procedure can be called a “procedure document”."

      ยังไง รอท่านอื่นๆ เข้ามาแนนะนำเพิ่มนะครับ


      #4 naruponk

      naruponk

        New Member

      • โพรซีเยอร์ procedure คืออะไร
      • Members
      • โพรซีเยอร์ procedure คืออะไร
      • 13 posts

        Posted 27 July 2011 - 11:02 AM

        ขอบคุณมากๆครับ เข้าใจมากขึ้นแล้วครับ ^ ^


        กระบวนการทำงานหรือโพรซีเยอร์ หมายถึง ขั้นตอนที่ผู้ใช้จะต้องทำตาม เพื่อให้ได้งานเฉพาะอย่างจากคอมพิวเตอร์ซึ่งผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทุกคนต้องรู้การทำงานพื้นฐานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อที่จะสามารถใช้งานได้อย่างถูกต้อง ตัวอย่างเช่น การใช้เครื่อง ฝาก-ถอนเงินอัตโนมัติ ถ้าต้องการถอนเงินจะต้องผ่านกระบวนการต่าง ๆ ดังนี้

        1. จอภาพแสดงข้อความเตรียมพร้อมที่จะทำงาน
        2. สอดบัตร และพิมพ์รหัสผู้ใช้
        3. เลือกรายการ
        4. ใส่จำนวนเงินที่ต้องการ
        5. รับเงิน
        6. รับใบบันทึกรายการ และบัตร

        การใช้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติงานในส่วนต่าง ๆ นั้นมักจะมีขั้นตอนที่สลับซับซ้อน และเกี่ยวข้องกับช่วงเวลาต่าง ๆ ในการปฏิบัติงานด้วย จึงต้องมีคู่มือการปฏิบัติงานที่ชัดเจน เช่น คู่มือสำหรับผู้ควบคุมเครื่อง (Operation Manual) คู่มือสำหรับผู้ใช้ (User Manual) เป็นต้น

        1 หน่วยรับข้อมูลเข้า (Input Unit)
        หน่วยรับข้อมูลเข้า เป็นหน่วยที่ทําหน้าที่รับข้อมูล หรือคําสั่งเข้าสู่คอมพิวเตอร์เพื่อให้คอมพิวเตอร์นําข้อมูล หรือคําสั่งดังกล่าวไปประมวลผลกลางต่อไป ตัวอย่างของอุปกรณ์ที่จัดอยู่ในหน่วยรับข้อมูลเข้าได้แก่

        -แป้นพิมพ์ (Keyboard)

        -เมาส์ (Mouse)

        -ไมโครโฟน (Microphone)

        -แสกนเนอร์ (Scanner)

        -กล้องดิจิตอล

        -ตัวอย่างของหน่วยรับข้อมูลเข้าแสดงในรูป

        2 หน่วยประมวลผล (Central Process Unit)
        หน่วยประมวลผลกลาง เป็นหน่วยที่สําคัญที่สุด เปรียบได้กับสมองของคอมพิวเตอร์มีหน้าที่ประมวลผลของมูล หรือคําสั่งต่าง ๆ และมีหน้าที่ควบคุมระบบต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ ให้ทุกหน่วยทํางานสอดคล้องกัน ซึ่งหน่วยประมวลผลการจะประกอบด้วยหน่วยย่อย ๆ ดังต่อไปนี้

        หน่วยความจํา (Memory Unit)

        รีจิสเตอร์ (Register) คือ หน่วยความจําที่อยู่ภายใน CPU ทําหน้าที่เก็บข้อมูลที่ส่งมาจากหน่วยความจําหลัก และจะนําข้อมูลดังกล่าวไปประมวลผล

        รอม (Read Only Memory: ROM) คือ หน่วยความจําหลักชนิดถาวรของคอมพิวเตอร์ทําหน้าที่เก็บคําสั่งต่าง ๆ ไม่สามารถแก้ไข้ข้อมูลในรอมได้ เปรียบได้กับหนังสือที่จะเก็บความรู้ต่าง ๆ เอาไว้

        แรม (Random Access Memory: RAM) คือ หน่วยความจําหลักชนิดหนึ่งของคอมพิวเตอร์ทําหน้าที่เก็บข้อมูล หรือคําสั่งต่าง ๆ ที่ใช้ในการประมวลผล สามารถแก้ไขข้อมูลในแรมได้ และข้อมูลจะหายไปเมื่อปิดเครื่อง

        คอมพิวเตอร์ เปรียบได้กับกระดาษทดหน่วยคํานวณ และ    ตรรกะ (Arithmetic and Login Unit: ALU) เป็นหน่วยที่ทําหน้าที่คํานวณทางด้านคณิตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คูณ หาร หรือคํานวณทางตรรกะศาสตร์ เช่น เปรียบเทียบข้อเท็จ เป็นต้น

        หน่วยควบคุม (Control Unit)  เป็นหน่วยที่ทําหน้าที่ควบคุมการทํางานทุกๆ หน่วยในCPU และอุปกรณ์ต่อพ่วงให้ทํางานได้อย่างสัมพันธ์กัน

        3 หน่วยแสดงผล (Output Unit)
        หน่วยแสดงผลเป็นหน่วยที่ทําหน้าที่นําผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลกลางไปแสดง
        ตัวอย่างอุปกรณ์ที่จัดเป็นชนิดหน่วยแสดงผลได้แก่

        -จอภาพ

        -เครื่องพิมพ์

        -ลําโพง

        4 หน่วยเก็บข้อมูลสํารอง (Secondary Storage)

        หน่วยเก็บข้อมูลสํารอง คือ สื่อในการเก็บบันทึกข้อมูล เช่น Hard disk, CD-ROM,Tape, Floppy disk เป็นต้น

        Posted by นิ้ว Uncategorized

        ข้อใดหมายถึง Procedure

        (พระ-′ซี-เจอ-ร) procedure หมายความว่า 1 ขั้นตอน หรือ กระบวนการ ซึ่งคือลำดับการกระทำหรือการปฎิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งอย่างถูกต้องหรืออย่างเป็นทางการ

        กระบวนการทํางาน หมายถึงอะไร

        กระบวนการทำงาน หมายถึง กระบวนการสร้างคุณค่าที่สำคัญที่สุดภายในองค์กรซึ่งอาจรวมถึง การ ออกแบบผลิตภัณฑ์ การผลิต และการส่งมอบ การสนับสนุนผู้รับบริการ การจัดการเครือข่ายอุปทาน กระบวนการทางธุรกิจ และกระบวนการสนับสนุน กระบวนการทำงานเป็นกระบวนการทำงานที่สำคัญของ องค์การมักเกี่ยวข้องกับสรรมถนะหลักขององค์การ ปัจจัยที่กำหนดความ ...

        Procedure กับ process ต่างกันยังไง

        procedure เน้นขั้นตอนแต่ละขั้น ส่วน process กระบวนการจะเน้นผลสำเร็จโดยไม่ได้ให้ความสำคัญกับขั้นตอนปลีกย่อย อย่างที่ในการผลิตสินค้ามักพูดกันว่า input process output. input คือ ปัจจัยนำเข้าหรือวัตถุดิบ

        ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Procedure) มีขั้นตอนอะไรบ้าง

        5. ขั้นตอนการปฏิบัติหรือระเบียบปฏิบัติ (Procedure) ∎ ความหมาย: เป็นการอธิบายขั้นตอนการท างานอย่างละเอียด ว่าใคร ท าอะไร ที่ไหน อย่างไร เมื่อใด โดยสามารถ จัดท าได้ในรูปแบบต่าง ๆ ได้แก่ การใช้ข้อความอธิบาย การใช้ตารางอธิบาย การใช้แผนภูมิ และการ ใช้ Flow Chart.