อุปกรณ์พื้นฐานที่จำเป็นในการเขียนภาพการ์ตูน คือข้อใด

เชิญชมคลิปวีดีโอการวาดภาพการ์ตูน

“การ์ตูน” มาจากภาษาอังกฤษว่า  cartoon  หมายถึง ภาพวาดต่างๆที่วาดขึ้นโดยไม่เน้นให้เหมือนกับความเป็นจริงทั้งหมด โดยจะตัดทอนรายละเอียดออกมา ภาพการ์ตูนจึงเขียนขึ้นด้วยลายรูปเส้นแบบง่ายๆ โดยเน้นคุณลักษณะพิเศษของรูปร่าง กริยา ท่าทาง หน้าต่าง ของคน สัตว์ วัตถุสิ่งของ ฯลฯ

   การ์ตูน จัดเป็นงานทัศนศิลป์ เพราะเป็นงานศิลปะที่รับรู้ได้ทางการมองเห็น การ์ตูนนั้นมักใช้ประกอบในงานต่างๆ ทั้งการ์ตูนประกอบหนังสือ  ภาพยนตร์ แผ่นป้ายโฆษนา ฯลฯ

ประเภทของการ์ตูน

   การ์ตูนแบ่งออกได้เป็น 4 ประเภท ดังนี้

1. การ์ตูนภาพเดี่ยว  หมายถึง ภาพการ์ตูนที่เขียนลงกระดาษหรือวัสดุอื่นๆ ซึ่งอาจเป็นภาพที่น่ารัก สวยงาม ล้อเลียน และอาจมีตัวหนังสือประกอบก็ได้

2. ภาพล้อเลียน เป็นภาพที่มีความผิดเพี้ยนหรือเกินกว่าความเป็นจริง โดยล้อเลียนลักษณะเฉพาะของผู้ที่เป็นแบบในการวาด ส่วนมากจะเป็นภาพล้อเลียนบุคคลสำคัญในแวดวงต่างๆ เล่น บุคคลสำคัญทางการเมือง นักแสดง นักร้องที่มีชื่อเสียง

3. นิยายภาพ เป็นภาพที่ใช้ประกอบการเล่าเรื่อง มีลักษณะของภาพที่สมจริง มีลักษณะของกายวิภาคแสง-เงา และรายละเอียดที่ชัดเจน

อุปกรณ์ที่ใช้ในการวาดการ์ตูน

1. ดินสอ ดินสอเป็นอุปกรณ์เริ่มต้นในการร่างภาพหรือวาดภาพ ดินสอจะมีความอ่อนแอและความเข้มของสีแตกต่างกัน โดยต้องเลือกใช้ให้เหมาะกับงาน ในการร่างภาพการ์ตูน ควรใช้ดินสอที่มีความเข้มข้นประมาณ HB-2B

2. ยางลบ ยางลบเป็นอุปกรณ์สำคัญที่ใช้ควบคู่กับดินสอ ยางลบที่เหมาะสมในการใช้งาน ควรเป็นยางลบชนิดอ่อนนิ่ม เพราะจะไม่ทำลายผิวกระดาษ และไม่ทำให้เส้นหมึกหลุดออกได้

3. ปากกา เป็นอุปกรณ์สำคัญที่ใช้เพื่อให้ภาพเกิดความสมบูรณ์ ปากกามีหลายลักษณะ ให้เลือกตามความต้องการของผู้วาด ได้แก่

 3.1 ปากกาเขียนแบบหรือรอตรง เป็นปากกาที่ใช้เส้นคมชัด หมึกมีให้เลือกหลายสี และสามารถกันน้ำได้

 3.2 ปากกาสักหลาดหรือปากกาเมจิก เป็นปากกาที่ให้ความสะดวก คล่องตัวในการวาด มีให้เลือกหลายสีหลายขนาด บางชนิดกันน้ำได้

 3.3 ปากกาสปีดบอลหรือปากกาคอแร้ง เป็นปากกาที่ต้องจุ่มหมึกก่อนที่จะเขียน สามารถเขียนเส้นได้หลายขนาด แต่ค่อยข้างมีความยุ่งยากในการใช้

4. พู่กัน  เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการวาดเส้นให้เกิดน้ำหนักแสง-เงา โดยเส้นจะมีความพริ้วไหวมากกว่ากรใช้ปากกา

5. หมึก เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ควบคู่กับปากกาและพู่กัน โดยนิยมให้หมึกสีดำในการตัดเส้น

6. กระดาษ กระดาษที่เหมาะแก่การเขียนการ์ตูนมี 2 ลักษณะด้วยกัน คือ

 6.1 กระดาษผิวมันหรือกระดาษอาร์ต เหมาะสำหรับการเขียนการ์ตูน ลายเส้น แต่ไม่เหมาะกับการลงสี

 6.2 กระดาษผิวด้าน เหมาะสำหรับการลงสี เพราะเนื้อกระดาษดูดซับสีได้ดี

การเขียนภาพการ์ตูน

 ขั้นตอนการเขียนภาพการ์ตูน มีดังนี้

. กำหนดแนวคิด เริ่มจากการจินตนาการถึงการ์ตูนว่าต้องการวาดออกมาในรูปแบบใด

    2. กำหนดโครงสร้าง โดยการร่างภาพที่จะวาดเป็นโครงสร้างภาพรวม ด้ายเส้นและรูปทรงเรขาคณิตหรือรูปทรงต่างๆ ผสมผสานกัน

   3.กำหนดความรู้สึก คือการถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกที่ผู้เขียนต้องการให้ปรากฎในภาพการ์ตูนนั้น เพื่อให้ผู้ชมทราบว่าตัวการ์ตูนเหล่านั้นมีอารมณ์ความรู้สึกอย่างไร

อุปกรณ์พื้นฐานที่จำเป็นในการเขียนภาพการ์ตูน คือข้อใด
อุปกรณ์พื้นฐานที่จำเป็นในการเขียนภาพการ์ตูน คือข้อใด

ที่มา  https://sites.google.com/site/artsthasnsilp/hnwy-kar-reiyn-ru-thi-6-kar-wad-phaph-kartun

ในงานเขียนแบบทั่วไปช่างเขียนแบบจะต้องมีความรู้ในเรื่องเรขาคณิตพื้นฐาน และสามารถดัดแปลง เพื่อนำไปประกอบในการเขียนรูปทรงต่างๆ ของชิ้นงานที่พบในงานเขียนแบบ การสร้างรูปในวิชาเรขาคณิต เราใช้เพียงวงเวียนและไม้บรรทัดเท่านั้น แต่เมื่อนำมาใช้ในงานเขียนแบบแล้ว ช่างเขียนแบบจะต้องมี ไม้ที, ไม้ฉาก, วงเวียน, และเครื่องมือประกอบอื่นๆ ประกอบอีกด้วย เครื่องมือเหล่านี้จะช่วยให้งานเขียนแบบที่เกี่ยวข้องกับรูปทรงเรขาคณิต สร้างได้ง่ายและรวดเร็วยิ่งขึ้น
การ เขียนแบบด้วยวิธีการเรขาคณิตนี้ ต้องฝึกการใช้เครื่องมือต่างๆ ให้ชำนาญ เช่น การเขียนส่วนโค้งโดยใช้บรรทัดเขียนโค้ง (Curve) ต้องมีความละเอียดในการวัด จะทำให้แบบต่างๆ ที่เขียนถูกต้องและเรียบร้อย ซึ่งเราจะต้องรู้จักเทคนิคในการใช้เครื่องมือต่างๆ เหล่านี้เป็นอย่างดี

2. การสร้างรูปทรงเรขาตณิต
การ เขียนแบบด้วยวิธีทางเรขาคณิตนี้ ต้องฝึกการใช้เครื่องมือต่างๆ ให้ชำนาญ เช่น การเขียนส่วนโค้ง ต้องมีความละเอียดในการวัด จะทำให้แบบต่างๆที่เขียนเป็นไปอย่างถูกต้องและเรียบร้อย ซึ่งเราต้องรู้จักเทคนิคในการใช้เครื่องมือต่างๆ เหล่านี้เป็นอย่างดี ซึ่งมีการสร้างหลายวิธี เช่น

2.1 การแบ่งเส้นตรง

วิธีสร้าง
1. กำหนดสร้างเส้นตรง AB ใช้จุด A และจุด B เป็นจุดศูนย์กลางรัศมีเกิน
2. ลากเส้นตรง CD ตัดเส้นตรง AB ที่จุด O และเส้นตรง CD จะแบ่งครึ่งเส้นตรง
3. เส้นตรง AO จะเท่ากับ OB

2.2 การแบ่งมุม

วิธีสร้าง
1. กำหนดมุม BAC ใช้จุด A เป็นจุดศูนย์กลาง (รัศมีพอสมควร) เขียนส่วนโค้ง
2. ใช้จุด E และ F เป็นจุดศูนย์กลาง เขียนเส้นโค้งตัดกันที่จุด D
3. ลากเส้นตรง AD จะแบ่งครึ่งมุม BAC ออกเป็น 2 มุม เท่าๆ กัน

2.3 การแบ่งเส้นตรงแบบขนาด

วิธีสร้าง
1. กำหนดเส้นตรง AB ต้องการแบ่งเส้นตรง AB เออกเป็น 5 ส่วน เท่าๆ กัน เป็นจุด
2. ที่จุด A ลากเส้นตรงทำมุมกับจุด A (มุมเท่าไรก็ได้)
3. ใช้จุด A เป็นจุดศูนย์กลาง รัศมีพอสมควรตัดเส้นตรง AC 5 ส่วน
4. ลากเส้นตรงผ่านจุดตัดให้ขนานกันทุกเส้น จะได้ส่วนแบ่งบนเส้นตรง AB เท่าๆ กัน เป็นต้น

อุปกรณ์พื้นฐานที่จำเป็นในการเขียนภาพการ์ตูน คือข้อใด

ที่มา http://lvptrpk.myreadyweb.com/article/topic-9577.html

ผู้ที่เริ่มฝึกหัดวาดเขียนใหม่ๆ มักมีปัญหาว่าจะเขียนอะไรก่อนและเขียนอย่างไร ทั้งนี้เพราะสิ่งที่เป็นแบบในการวาดเขียนนั้นมีหลายประเภทและมีส่วนของราย ละเอียดต่างๆมากมาย จนไม่รู้ว่าจะเริ่มต้นอย่างไร สิ่งที่มองเห็นไม่ว่าจะเป็นรูปทรง แสง เงา และพื้นผิว ชนิดต่างๆ ก่อให้เกิดความซับซ้อนจนผู้ที่ฝึกวาดเขียน มองเห็นว่ายากเกินไปที่จะจับลักษณะสำคัญได้

เปรียบเสมือนการ สร้างบ้าน เราไม่สามารถเริ่มต้นด้วยการมุงหลังคา ติดประตูหน้าต่างหรือเดินสายไฟก่อน แต่จะเริ่มต้นด้วยการตั้งเสาและคาน ซึ่งเป็นโครง สร้างทั้งหมดของบ้านเสียก่อน เมื่อโครงสร้างถูกต้อง มั่นคงแข็งแรงดีแล้ว จึงไล่ลำดับไปสู่การมุงหลังคา ทำฝาผนัง ทำพื้น ตกแต่งภายใน กับการเขียนภาพก็เช่นเดียวกัน ผู้เขียนภาพจะต้องพิจารณาหุ่นต้นแบบอย่างละเอียดถี่ถ้วนเสียก่อน แล้วจะค้นพบและเข้าใจโครงสร้างของหุ่นต้นแบบจากนั้นก็จะกลาย เป็นเรื่อง ง่ายเพราะลำดับวิธีการที่ถูกต้องนั่นเอง

วาดเส้น (Drawing)

อุปกรณ์พื้นฐานที่จำเป็นในการเขียนภาพการ์ตูน คือข้อใด

การวาดเส้นมีวิธีการและขั้นตอนที่ไม่ยุ่งยากโดยใช้เส้นต่างๆ แสดงถึงลักษณะการเคลื่อนไหวของเส้น น้ำหนักของเส้น และความมั่นใจในการวาดเส้น สิ่งที่ี่ผู้ฝึกควรฝึกด้วยตัวเองในขั้นแรกให้เขียนเส้นตรง เส้นตั้ง และเส้นเอียง เส้นเฉียงซ้ำๆ กัน ฝึกฝนจนเกิดความชำนาญในการใช้เส้น-ผสานกับมือและสายตา โดยให้สังเกตจากแสงเงาเป็นตัวกำหนดน้ำหนัก

ลักษณะของเส้น (CHARACTERISTICS OF LINE)

ลักษณะของเส้นก็คือคุณค่าทางกายภาพของเส้นนั่นเอง ขนาดและทิศทางของเส้นจะมีลักษณะของความ
หมาย เช่นเดียวกับลักษณะนั้นๆ เช่น
ลักษณะที่ 1 เส้นดิ่ง และ เส้นตั้ง แสดงถึงความมั่นคงแข็งแรง,สง่า สงบ,คงอยู่ตลอดไป,มั่นคงถาวร,ไม่เคลื่อนไหว นิยมใช้สำหรับการเขียนภาพอาคาร อย่างเช่น สร้างรูปแบบของธนาคารที่มีเส้นตรงๆ ให้ความรู้สึกถึงความมั่นคงแข็งแรง ไม่ล้มง่าย หมายถึงความรู้สึกของผู้ที่เข้าไปฝากธนาคารด้วย อย่างนี้เป็นต้น
ลักษณะที่ 2 เส้นขนาน และ เส้นนอน แสดงถึงความรู้สึกไม่สิ้นสุดไปได้เรื่อยๆ ความสงบ,ความราบรื่น ความเรียบง่าย
ลักษณะที่ 3 เส้นเฉียง แสดงถึงความรู้สึกไม่มั่นคง,อันตราย,กำลังจะล้มแล้ว,โอนเอน,โอนอ่อนผ่อนตาม
ความไม่สมดุล
ลักษณะที่ 4 เส้นหยัก โดยใช้เส้นเฉียงมาต่อกันในลักษณะคล้ายๆ กับฟันปลา แสดงถึงความแหลมคม บาดเจ็บ,อันตราย,การทำลาย,การเคลื่อนไหวที่มีพลังอย่างต่อเนื่อง การขึ้นๆ ลงๆ ของดัชนีอย่างตลาดหุ้น ซึ่งมี
เป็นเส้นพารากราฟขึ้นมา
ลักษณะที่ 5 เส้นโค้ง แสดงถึงความอ่อนน้อม,นุ่มนวล
ลักษณะที่ 6 เส้นขยุกขยิก แสดงถึงความสับสน,ยุ่งเหยิง,วุ่นวาย,ตื่นเต้น
นอก จากลักษณะของเส้นแล้วยังมีทิศทางของเส้น ได้แก่แนวราบ แนวเฉียง แนวลึก แนวดิ่ง จากทิศทางก็เป็นขนาด ขนาดของเส้นนั้นไม่มีความกว้างมีแต่ความหนา ความบาง เส้นใหญ่หรือเส้นเล็ก ความหนาของเส้นจะต้องพิจารณาเปรียบเทียบกับความยาวเป็นหลัก เพราะเส้นที่สั้นมากจะมีความหนาดูคล้ายกับเป็นรูปสี่เหลี่ยม ซึ่งจะหมดคุณสมบัติของเส้นจะกลายเป็นรูปร่างสี่เหลี่ยมผืนผ้า

หน้าที่ของเส้น เส้นมีหน้าที่ที่พอจะจำกัดความได้ดังนี้

อุปกรณ์พื้นฐานที่จำเป็นในการเขียนภาพการ์ตูน คือข้อใด

1.ใช้เป็นสำหรับการแบ่งพื้นที่ หรือที่ว่างให้แยกออกจากกัน
2.ใช้เป็นส่วนจำกัดพื้นที่ของรูปทรง
3.ใช้สร้างลักษณะต่างๆ ที่ศิลปินต้องการสร้างขึ้นมา เช่น สร้างเส้นตรง เส้นโค้งคด เส้นหยักฟันปลาหรือ
เส้นวงเป็นก้นหอย
4.ใช้สร้างความเป็น 2 มิติ และ 3 มิติให้แก่รูปทรง ให้เป็นรูประยะตื้น ลึก หนา บาง
5.ใช้แสดงแกนของสิ่งทั้งหลาย
6.ใช้สร้างให้เกิดทิศทางและการเคลื่อนไหว
7.ใช้สร้างให้เกิดแสงและเงา ด้วยการประสานเส้นโดยเส้นที่ถี่ และเส้นที่ห่าง
8.ใช้พัฒนาเทคนิคในการใช้เส้นของตัวเองที่ถ่ายทอดเพื่อถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึกที่อยากจะถ่ายทอด
ออกมาให้ได้ตรงที่สุด

ค่าของแสงและเงา แบ่งได้เป็น 6 ค่าระดับ

1.แสงสว่างที่สุด (HIGH LIGHT) เป็นส่วนของวัตถุที่กระทบแสงโดยตรง จึงจะทำให้บริเวณนั้นสว่างมากที่สุด
2.แสงสว่าง (LIGHT) เป็นส่วนของวัตถุที่ไม่ได้ปะทะกับแสงที่ส่องมาโดยตรง แต่อยู่ในอิทธิพลของแสงนั้นด้วย
3.เงา (SHADOW) อยู่ในส่วนรับอิทธิพลของแสงน้อยมาก
4.เงามืด (CORE OF SHADOW) อยู่ในส่วนที่ไม่ได้รับอิทธิพลของแสงเลย
5.แสงสะท้อน (REFLECTED LIGHT) บริเวณของวัตถุที่ไม่ได้รับแสงโดยตรง แต่เป็นการสะท้อนของแสง จากวัตถุใกล้เคียง
6.เงาตกทอด (CAST SHADOW) บริเวณที่เงาของวัตถุนั้นตกทอดไปตามพื้นหรือตามวัตถุอื่นที่รองรับน้ำหนักแก่กว่าบริเวณแสงสะท้อน

แสง – เงา

อุปกรณ์พื้นฐานที่จำเป็นในการเขียนภาพการ์ตูน คือข้อใด

แสง-เงา = ความสว่างและความมืด มีผลต่อความรู้สึกและการรับรู้อิทธิพลของแสง เป็นสิ่งสำคัญในการที่ต้องศึกษา ทั้งในด้านความงามในธรรมชาติบนวัตถุ สามารถทำให้เกิดอารมณ์และความรู้สึก

ที่มา http://blog.eduzones.com/superman/33992

1. กระดานรองวาด (DRAWING BORD)
ลักษณะเป็นกระดานไม้อัด กระดานอัดหรือพลาสติกเนื้อแข็งที่มีพื้นผิวเรียบ ไม่มีรอยขูดขีด เวลาวาดอาจรองด้วยกระดาษปรู๊ฟเพื่อให้เกิดความนุ่มขณะวาด มีขนาดตามความเหมาะสมของชิ้นงานเพราะฉะนั้นอาจมีกระดานรองวาดหลายแผ่นตาม ขนาดของกระดาษ
2. กระดาษ (PAPER)
กระดาษสำหรับวาดเส้นมีหลายชนิด เช่น ปรู๊ฟมีทั้งผิวมันและผิวเรียบธรรมดา ซึ่งเหมาะกับการฝึกวาดภาพเพราะมีราคาไม่แพงมากนิยมใช้กับดินสอ 6B หรือ EE ถ่านเกรยอง ถ่านชาร์โคล ปอนด์ นิยมใช้ 60-100 ปอนด์ ซึ่งมีราคาแตกต่างกันตามความหนาของกระดาษ สามารถเลือกใช้ได้ตามเทคนิคของการวาดเส้นซึ่งต้องดูคุณสมบัตรและความแหมะสม เช่นน้ำหนัก การซึมซับและพื้นผิว
3. คัวหนีบกระดาษ (CLIP)
ใช้หนีบกระดาษกับกระดานไม่ให้เลื่อนออกจากกัน
4. ยางลบ (RUBBER)
เลือกใช้ยางลบที่สำหรับลบเส้นดินสอโดยเฉพาะคุณภาพความนิ่มพอควร
5. มีดเหลาดินสอ (CUTTER)
ใช้เหลาดินสอให้แหลมสำหรับเก็บส่วนละเอียดของภาพวาด 
6. ปากกาและหมึก (PEN AND INK)
สีที่ใช้นิยมใช้ในการวาดเส้น คือ สีดำหรือสีน้ำตาลควรเลือกใช้กระดาษที่มีความหนา เช่น 80 ปอนด์ หรือ 100 ปอนด์ จะเลือกใช้ผิวเรียบหรือหยาบก็ได้

อุปกรณ์พื้นฐานที่จำเป็นในการเขียนภาพการ์ตูน คือข้อใด
อุปกรณ์พื้นฐานที่จำเป็นในการเขียนภาพการ์ตูน คือข้อใด
อุปกรณ์พื้นฐานที่จำเป็นในการเขียนภาพการ์ตูน คือข้อใด


7. ดินสอ (PENCIL)

 เป็นอุปกรณ์พื้นฐานของการวาดเส้น ง่ายต่อการพกพาสามารถลบออกได้ด้วยยางลบดินสอมีให้เลือกทั้งไส้อ่อนและไส้ แข็ง ซึ่งผู้ผลิตได้กำหนดอักษรเครื่องหมายไว้ เช่น H หมายถึง HARD คือ แข็ง เช่น 1H, 2H, 3H, 4H ฯลฯ หมายถึงไส้ดินสอที่แข็งขึ้นตามลำดับ เหมาะแก่การวาดเส้นที่คม เช่น การสานเส้น ดินสอขนาด B หมายถึง ขนาดที่ใช้เขีย

อุปกรณ์ที่ใช้ในการวาดการ์ตูนมีอะไรบ้าง

A : อุปกรณ์ในการวาดเส้นที่จำเป็นพื้นฐาน ได้แก่อะไรบ้าง.
ยางลบ ... .
กระดาษ ... .
ไม้บรรทัด ... .
พู่กัน-แปรง ... .
สี ... .
จานผสมสี ... .
แผ่นกระดานรอง.

ลักษณะสําคัญของการ์ตูน คือข้อใด

การ์ตูน” มาจากภาษาอังกฤษว่า cartoon หมายถึง ภาพวาดต่างๆที่วาดขึ้นโดยไม่เน้นให้เหมือนกับ ความเป็นจริงทั้งหมด โดยจะตัดทอนรายละเอียดออกมา ภาพการ์ตูนจึงเขียนขึ้นด้วยลายรูปเส้นแบบง่ายๆ โดยเน้นคุณลักษณะ พิเศษของรูปร่าง กริยา ท่าทาง หน้าต่าง ของคน สัตว์ วัตถุสิ่งของ ฯลฯ

การเขียนภาพการ์ตูน คือ การเขียนภาพแบบใด

ความหมายของการ์ตูนการ์ตูน” มาจากภาษาอังกฤษว่า cartoon หมายถึง ภาพวาดต่างๆที่วาดขึ้นโดยไม่เน้นให้เหมือนกับความเป็นจริงทั้งหมด โดยจะตัดทอนรายละเอียดออกมา ภาพการ์ตูนจึงเขียนขึ้นด้วยลายรูปเส้นแบบง่ายๆ โดยเน้นคุณลักษณะพิเศษของรูปร่าง กริยา ท่าทาง หน้าต่าง ของคน สัตว์ วัตถุสิ่งของ ฯลฯ การ์ตูนจัดเป็นงานทัศนศิลป์ เพราะเป็น ...

ภาพการ์ตูนเป็นงานทัศนศิลป์ประเภทใด

การ์ตูน (อังกฤษ: cartoon) คือทัศนศิลป์สองมิติรูปแบบหนึ่ง ซึ่งความหมายที่เฉพาะเจาะจงแปรเปลี่ยนไปตามเวลา ความหมาย ในสมัยใหม่โดยทั่วไปหมายถึง การวาดเส้นหรือจิตรกรรมแบบกึ่งสัจนิยมหรืออสัจนิยม (กึ่งเหมือนจริงหรือไม่เหมือนจริง) เพื่อการ เสียดสี การล้อเลียน ความขบขัน หรือการแสดงออกซึ่งกระบวนแบบเชิงศิลปะ ศิลปินผู้วาดการ์ตูน ...

อุปกรณ์ที่ใช้ในการวาดการ์ตูนมีอะไรบ้าง ลักษณะสําคัญของการ์ตูน คือข้อใด การเขียนภาพการ์ตูน คือ การเขียนภาพแบบใด ภาพการ์ตูนเป็นงานทัศนศิลป์ประเภทใด การ์ตูนเป็นงานทัศนศิลป์ประเภทใด หลักการพื้นฐานที่สำคัญที่สุดในการวาดภาพการ์ตูน คือข้อใด ใบหน้าภาพการ์ตูนที่แสดงความสุข จะมีลักษณะอย่างไร การวาดภาพตัวละครแบบการ์ตูน ควรฝึกทักษะในเรื่องใดก่อน ตัวละครในข้อใด มีบุคลิกลักษณะเป็นตัวละครในอุดมคติมากที่สุด ข้อใดกล่าวถึงความหมายของคำว่า “บุคลิกลักษณะ” ได้ถูกต้องที่สุด ถ้านักเรียนจะวาดภาพแสดงบุคลิกลักษณะของพระเอก ควรวาดอย่างไร