การแยก สารด้วยวิธีการระเหยแห้งและการตกผลึกเหมือนเเละเเตกต่างกันอย่างไร

             การแยกสารด้วยวิธีนี้เหมาะสำหรับใช้แยกสารผสมที่เป็นของเหลวและมีของแข็ง ละลายในของเหลวนี้  จนทำให้สารผสมมีลักษณะเป็นของเหลวใส 

ซึ่งเราเรียกสารผสมนี้ว่า สารละลาย เช่น น้ำทะเล น้ำเชื่อมน้ำเกลือ เป็นต้น 

การแยกสารโดยวิธีการระเหยแห้งนิยมใช้ในการแยกเกลือออกจากน้ำทะเล มีการนำเกลือเพื่อแยกน้ำทะเลให้ได้เกลือสมุทรโดยวิธีการระเหยแห้ง  

ชาวนาเกลือเตรีมแปลงนาแล้วใช้กังหันฉุดน้ำทะเลเข้าสู้แปลงนาเกลือหลังจาก นั้นปล่อยให้น้ำทะเลได้รับแสงแดดเป็นเวลานานจนกระทั่งน้ำระเหยจนแห้ง 

จะเหลือเกลืออยู่ในนา เกลือที่ได้นี้เรียกว่า เกลือสมุทรซึ่งเป็นเกลือที่นำมาปรุงอาหาร ทำเครื่องดื่ม

การเปลี่ยนอุณหภูมิและความดัน

วิธีนี้ใช้สำหรับแยกของผสมที่องค์ประกอบทั้งหมดเป็นก๊าซแต่ละชนิดมีจุดเดือดไม่เท่ากัน

การใช้ความร้อน

วิธีนี้แยกของผสมชนิดก๊าซละลายในของเหลว

การเปลี่ยนอุณหภูมิและความดัน

วิธีนี้ใช้สำหรับแยกของผสมที่องค์ประกอบทั้งหมดเป็นก๊าซแต่ละชนิดมีจุดเดือดไม่เท่ากัน

Uncategorized

การแยกสารเนื้อเดียว

             สารเนื้อเดียวนอกจากจะเป็นสารละลายแล้ว อาจเป็นธาตุหรือสารประกอบก็ได้ ซึ่งมีวิธีการตรวจสอบว่าเป็นสารละลายหรือสารบริสุทธิ์ได้โดยวิธีตรวจสอบทางเคมี และทางกายภาพ

             1) การระเหยแห้ง  การแยกสารด้วยวิธีนี้เหมาะสำหรับใช้แยกสารผสมที่เป็นของเหลวและมีของแข็งละลายในของเหลวนี้  จนทำให้สารผสมมีลักษณะเป็นของเหลวใส ซึ่งเราเรียกสารผสมนี้ว่าสารละลาย เช่น น้ำทะเล น้ำเชื่อมน้ำเกลือ เป็นต้น การแยกสารโดยวิธีการระเหยแห้งนิยมใช้ในการแยกเกลือออกจากน้ำทะเลมีการนำเกลือเพื่อแยกน้ำทะเลให้ได้เกลือสมุทรโดยวิธีการระเหยแห้ง

การแยก สารด้วยวิธีการระเหยแห้งและการตกผลึกเหมือนเเละเเตกต่างกันอย่างไร
ทำนาเกลือ … ใช้การแยกสารประกอบแบบไหน?!

             2) การตกผลึก  คือกระบวนการเกิดผลึกของแข็งจากสารละลาย(solution) จากของเหลว (melt) หรือไอ (vapor)โดยกระบวนการดังกล่าว อาจเกิดขึ้นเองในธรรมชาติหรือเกิดขึ้นจากการทดลองในห้องปฏิบัติการตัวอย่างการเกิดผลึกในธรรมชาติ เช่น ผลึกน้ำแข็ง(ice crystals) หิมะ (snow) เป็นต้น ผลึกของสารอินทรีย์เช่น อินซูลินและน้ำตาล ผลึกของธาตุเช่น แกลเลียม และซิลิกอน ซึ่งสามารถเกิดในธรรมชาติและถูกสังเคราะห์

การแยก สารด้วยวิธีการระเหยแห้งและการตกผลึกเหมือนเเละเเตกต่างกันอย่างไร
การตกผลึก (Crystallization)

 การเลือกตัวทำละลายที่เหมาะสมต่อการตกผลึก มีหลักในการเลือกดังนี้

     1. ละลายสารที่ต้องการตกผลึกในขณะร้อนได้ดี และละลายได้น้อยหรือไม่ละลายเลยที่อุณหภูมิต่ำ (ขณะเย็น)

      2. ไม่ละลายสารปนเปื้อนขณะร้อนหรือละลายได้น้อยขณะร้อน แต่ละลายได้ดีขณะเย็น

      3. ควรมีจุดเดือดต่ำ เพื่อสามารถกำจัดออกจากผลึกได้ง่าย

      4. ไม่ทำปฏิกิริยากับสารที่ต้องการตกผลึก

      5. ควรทำให้สารที่ที่ต้องการทำให้บริสุทธิ์เกิดเป็นผลึกที่มีรูปร่างชัดเจน

      6. ไม่เป็นพิษ

      7. หาง่าย และราคาถูก

                3) การกลั่น เป็นการแยกสารละสายที่เป็นของเหลวออกจากของผสม  โดยอาศัยหลักการระเหยกลายเป็นไปและควบแน่น  โดนที่สารบริสุทธิ์แต่ละชนิดเปลี่ยนสถานะได้ที่อุณหภูมิจำเพาะ  สารที่มีจุดเดือดต่ำจะเดือดเป็นไอออกมาก่อน  เมื่อทำให้ไอของสารมีอุณหภูมิต่ำลงจะควบแน่นกลับมาเป็นของเหลวอีกครั้ง               

3.1 การกลั่นแบบธรรมดาหรือการกลั่นอย่างง่าย (simple distillation)   เป็นวิธีการที่ใช้กลั่นแยกสารที่ระเหยง่ายซึ่งปนอยู่กับสารที่ระเหยยากการกลั่นธรรมดานี้จะ ใช้แยกสารออกเป็นสารบริสุทธิ์เพียงครั้งเดียวได้สารที่มีจุดเดือดต่างกันตั้งแต่ 80 องศาเซลเซียส ขึ้นไป

การแยก สารด้วยวิธีการระเหยแห้งและการตกผลึกเหมือนเเละเเตกต่างกันอย่างไร
การกลั่นอย่างง่าย (Simple Distillation)

การแยก สารด้วยวิธีการระเหยแห้งและการตกผลึกเหมือนเเละเเตกต่างกันอย่างไร
3.2 การกลั่นลำดับส่วน (fractional distillation) เป็นวิธีการแยกของเหลวที่สามารถระเหยได้ตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป มีหลักการเช่นเดียวกันกับการกลั่นแบบธรรมดา คือเพื่อต้องการแยกองค์ประกอบในสารละลายให้ออกจากกัน แต่ก็จะมีส่วนที่แตกต่างจากการกลั่นแบบธรรมดา คือ การกลั่นแบบกลั่นลำดับส่วนเหมาะสำหรับใช้กลั่นของเหลวที่เป็นองค์ประกอบของสารละลายที่จุดเดือดต่างกันน้อยๆ ในขั้นตอนของกระบวนการกลั่นลำดับส่วน จะเป็นการนำไอของแต่ละส่วนไปควบแน่น แล้วนำไปกลั่นซ้ำและควบแน่นไอเรื่อย ๆ ซึ่งเทียบได้กับเป็นการการกลั่นแบบธรรมดาหลาย ๆ ครั้งนั่นเอง ความแตกต่างของการกลั่นลำดับส่วนกับการกลั่นแบบธรรมดา จะอยู่ที่คอลัมน์ โดยคอลัมน์ของการกลั่นลำดับส่วนจะมีลักษณะเป็นชั้นซับซ้อน เป็นชั้นๆ ในขณะที่คอลัมน์แบบธรรมดาจะเป็นคอลัมน์ธรรมดา ไม่มีความซับซ้อนของคอลัมน์

การแยก สารด้วยวิธีการระเหยแห้งและการตกผลึกเหมือนเเละเเตกต่างกันอย่างไร
ตัวอย่างการกลั่นลำดับส่วนที่เราคุ้นเคยที่สุด




3.3 การสกัดโดยการกลั่นด้วยไอน้ำ   เป็นวิธีการสกัดสารออกจากของผสมโดยใช้ไอน้ำเป็นตัวทำละลาย วิธีนี้ใช้สำหรับแยกสารที่ละเหยง่าย ไม่ละลายน้ำ และไม่ทำปฏิกิริยากับน้ำ ออกจากสารที่ระเหยยาก ได้แก่การแยกน้ำมันหอมระเหยออกจากส่วนต่างๆ ของพืชเช่นการแยกน้ำมันยูคาลิปตัสออกจากใบยูคาลิปตัส การแยกน้ำมันมะกรูดออกจากผิวมะกรูด  ในการกลั่นนี้ ไอน้ำจะไปทำให้น้ำมันหอมระเหยกลายเป็นไอแยกออกมาพร้อมกับไอน้ำเมื่อทำให้ไอของของผสมควบแน่นโดยผ่านเครื่องควบแน่นก็จะได้น้ำและน้ำมันหอมระเหยปนกันแต่แยกชั้นกันอยู่ทำให้สามารถแยกเอาน้ำมันหอมระเหยออกจากน้ำได้ง่าย

การแยก สารด้วยวิธีการระเหยแห้งและการตกผลึกเหมือนเเละเเตกต่างกันอย่างไร
การสกัดโดยการกลั่นด้วยไอน้ำ

4) โครมาโทรกราฟี เป็นวิธีแยกองค์ประกอบของสารเนื้อเดียวที่มีองค์ประกอบของสารตั้งแต่ 2ชนิดขึ้นไปละลายในของเหลวเดียวกัน โดยโครมาโทกราฟีจะเป็นการแยกสารผสมที่มีสีหรือสารที่สามารถทำให้เกิดสีได้ อาศัยสมบัติ 2 ประการคือ

การแยก สารด้วยวิธีการระเหยแห้งและการตกผลึกเหมือนเเละเเตกต่างกันอย่างไร

การแยก สารด้วยวิธีการระเหยแห้งและการตกผลึกเหมือนเเละเเตกต่างกันอย่างไร

  • สารต่างชนิดกันมีความ สามารถในการละลายในตัวทำละลายได้ต่างกัน
  • สารต่างชนิดกันมีความสามารถในการถูกดูดซับด้วยตัวดูดซับได้ต่างกัน
  • หมายเหตุ  

    สารที่ละลายได้ดีจะเคลื่อนที่บนตัวดูดซับไปอยู่ไกลจุดเริ่มต้น  

    December 4, 2011/

    http://i4happiness.motilux.com/wp-content/uploads/2011/12/25E0-25B8-2599-25E0-25B8-25B2-25E0-25B9-2580-25E0-25B8-2581-25E0-25B8-25A5-25E0-25B8-25B7-25E0-25B8-25AD.jpg 380 583 admin http://i4happiness.motilux.com/wp-content/uploads/2018/05/logo-di-cut-300x208.pngadmin2011-12-04 08:08:002019-10-06 12:13:58ใบความรู้: การแยกสาร (2)

    เราสามารถนําความรู้เกี่ยวกับการแยกสารด้วยวิธีการระเหยแห้งไปใช้ประโยชน์อะไรได้บ้าง จงยกตัวอย่าง

    1) การระเหยแห้ง การแยกสารด้วยวิธีนี้เหมาะสำหรับใช้แยกสารผสมที่เป็นของเหลวและมีของแข็งละลายในของเหลวนี้ จนทำให้สารผสมมีลักษณะเป็นของเหลวใส ซึ่งเราเรียกสารผสมนี้ว่าสารละลาย เช่น น้ำทะเล น้ำเชื่อมน้ำเกลือ เป็นต้น การแยกสารโดยวิธีการระเหยแห้งนิยมใช้ในการแยกเกลือออกจากน้ำทะเลมีการนำเกลือเพื่อแยกน้ำทะเลให้ได้เกลือสมุทรโดย ...

    การระเหยแห้งและการตกผลึกเหมือนกันอย่างไร

    1.การระเหยแห้งและการตกผลึกเป็นการแยกสารเหมือนกัน โดยการระเหยแห้งให้ความร้อนแก่สารละลาย ให้ตัวทำละลายระเหยเป็นไอออกไปจนหมดเหลือแต่ตัวละลาย ส่วนการตกผลึกลดอุณหภูมิแก่สารละลายอิ่มตัว อย่างช้า ๆ ตัวละลายจะค่อย ๆ แยกออกจากสารละลาย มีการจัดเรียงอนุภาคใหม่ที่เป็นระเบียบ มีลักษณะเป็นรูปทรงเรขาคณิตที่แน่นอนเฉพาะตัว มีความ ...

    การระเหยแห้งใช้แยกสารได้อย่างไร

    1. การระเหยแห้งเป็นวิธีการแยกสารผสมประเภทสารละลาย ที่มีตัวละลายที่มีสถานะเป็นของแข็งละลายอยู่ในตัวท า ละลายที่มีสถานะเป็นของเหลวโดยน าไปให้ความร้อน ตัวท าละลายจะระเหยไปจนหมดเหลือตัวละลายติดอยู่ที่ ก้นภาชนะ

    การแยกสารโดยใช้วิธีการระเหยแห้งเหมาะสำหรับของผสมในข้อใดมากที่สุด

    การแยกสารด้วยวิธีนี้เหมาะสำหรับใช้แยกสารผสมที่เป็นของเหลวและมีของแข็ง ละลายในของเหลวนี้ จนทำให้สารผสม มีลักษณะ เป็นของเหลวใส ซึ่งเราเรียกสารผสมนี้ว่า สารละลาย เช่น น้ำทะเล น้ำเชื่อมน้ำเกลือ เป็นต้น การแยกสารโดยวิธีการระเหยแห้ง นิยมใช้ในการแยกเกลือออกจากน้ำทะเล มีการนำเกลือเพื่อแยกน้ำทะเลให้ได้เกลือสมุทรโดยวิธีการระเหย ...