ขั้น ตอน แรก ของการประมวลผลข้อมูล เป็นสารสนเทศ คือ ข้อ ใด

ขั้น ตอน แรก ของการประมวลผลข้อมูล เป็นสารสนเทศ คือ ข้อ ใด

การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ มีขั้นตอน ดังนี้

การจัดเรียงข้อมูล

เมื่อจัดแบ่งกลุ่มเป็นแฟ้มแล้ว ควรมีการจัดเรียงข้อมูลตามลำดับ ตัวเลข หรือตัวอักษร หรือเพื่อให้เรียกใช้งานได้ง่ายประหยัดเวลา ตัวอย่างการจัดเรียงข้อมูล เช่น การจัดเรียงบัตรข้อมูลผู้แต่งหนังสือในตู้บัตรรายการของห้องสมุดตามลำดับตัวอักษร การจัดเรียงชื่อคนในสมุดรายนามผู้ใช้โทรศัพท์ ทำให้ค้นหาได้ง่าย
[http://www.school.net.th/library/snet2/knowledge_math/data_acc.htm]

 การคำนวณ

ข้อมูลที่เก็บมีเป็นจำนวนมาก ข้อมูลบางส่วนเป็นข้อมูลตัวเลขที่สามารถนำไปคำนวณเพื่อหาผลลัพธ์บางอย่างได้ ดังนั้นการสร้างสารสนเทศจากข้อมูลจึงอาศัยการคำนวณข้อมูลที่เก็บไว้ด้วย
[http://www.school.net.th/library/snet2/knowledge_math/data_acc.htm]

ที่มา : http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type2/tech03/06/__8.html

การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ

การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศนั้นมีหลายวิธี ทั้งวิธีที่จัดทำด้วยมือ  และให้คอมพิวเตอร์ประมวลผล  ซึ่งพอสรุปได้ดังนี้

1  วิธีการประมวลผลแบบง่ายๆ  และสามารถทำด้วยมือได้  แบ่งออกได้ดังนี้

    1.1  การจัดเรียง  คือการนำข้อมูลหลายๆ  ข้อมูลมาจัดเรียงลำดับตามเกณฑ์ที่กำหนดโดยปกติ  อาจเรียงจากมากไปหาน้อย  หรือจากน้อยไปหามากก็ได้

    1.2  การหาค่าค่าเฉลี่ย  คือการนำเอาคะแนนของทุกคนมารวมกันทั้งหมดได้ผลลัพธ์เท่าไหร่ ให้เอาจำนวนคนในกลุ่มหรือจำนวนคนในห้องดังกล่าวมาเป็นตัวหาร  ค่าที่ได้ก็จะเป็นค่าค่าเฉลี่ยหรือค่ามัชฌิมเลขคณิต    

    1.3  การเปรียบเทียบ  คือการนำเอาข้อมูลประเภทเดียวกันมาตั้งแต่ 2  กลุ่มขึ้นไป  มาทำการเปรียบเทียบเพื่อหาความแตกต่างหรือความเหมือนกัน

    1.4  การหาแนวโน้ม  คือการนำเอาข้อมูลประเภทเดียวกันและชุดเดียวกัน  มาทำการเปรียบเทียบตามระยะเวลาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน  และคาดคะเนในอนาคตจะเป็นเช่นไร

 2  วิธีประมวลผลโดยใช้คอมพิวเตอร์  สามารถแบ่งออกได้ดังนี้

     2.1  การประมวลผลแบบแบทซ์  ( Batch  Processing )  การประมวลผลแบบแบทซ์นั้นเมื่อข้อมูลมาถึงคอมพิวเตอร์แล้วจะถูกรวบรวมหรือเก็บไว้เป็นระยะเวลาหนึ่งแล้วจึงนำมาประมวลผล  จะอาศัยระยะเวลาในการเก็บนี้ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขที่ได้กำหนดไว้  หรืออาจจะเป็นเงื่อนไขเกี่ยวกับเวลาที่ได้กำหนดไว้ก็ได้

     2.2  การประมวลผลแบบเวลาจริงหรือแบบเรียลไทม์  เป็นการประมวลผลที่

คอมพิวเตอร์จะทำการประมวลผลในทันทีที่มีข้อมูลเข้ามาถึงคอมพิวเตอร์  และส่งผลลัพธ์จากการประมวลผลไปให้ผู้ใช้ในทันที  ซึ่งการประมวลผลแบบนี้จะทำให้ข้อมูลในระบบฐานข้อมูลเป็นปัจจุบันเสมอ  การประมวลผลแบบเวลาจริงนี้ระบบนำข้อมูลเข้า  ระบบแสดงผลของคอมพิวเตอร์จะเชื่อมโยงกันตลอดเวลา  หากอุปกรณ์ต่างๆ  อยู่ห่างไกลกันก็จะต้องมีเครือข่ายการสื่อสารเชื่อมโยงเข้ากับคอมพิวเตอร์  ทำให้ข้อมูลที่เกิดขึ้นถูกส่งเข้ามายังคอมพิวเตอร์ทันที  การะประมวลผลแบบนี้

ที่มา: http://www.gotoknow.org/blogs/posts/336301

การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ

ในการนำข้อมูลไปใช้ให้เกิดประโยชน์ หรือการทำข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ เพื่อที่จะนำไปใช้ประโยชน์ได้ จำเป็นต้องมีการประมวลผลข้อมูลก่อน
ในการนำข้อมูลไปใช้ให้เกิดประโยชน์ หรือการทำข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ เพื่อที่จะนำไปใช้ประโยชน์ได้ จำเป็นต้องมีการประมวลผลข้อมูลก่อน
การประมวลผลข้อมูล จึงเป็นกิจกรรมที่มีความสำคัญ เพราะข้อมูลที่มีอยู่รอบ ๆ ตัวเรามีเป็นจำนวนมาก ในการใช้งานจึงต้องมีการประมวลผลเพื่อให้เป็นสารสนเทศ กิจกรรมหลักของการให้ได้มาซึ่งสารมนเทศจึงประกอบด้วยกิจกรรมการเก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งต้องมีการตรวจสอบความถูกต้องด้วย กิจกรรมการประมวลผลซึ่งอาจจะเป็นการแบ่งแยกข้อมูล การจัดเรียงข้อมูล การคำนวณ และกิจ กรรมการเก็บรักษาข้อมูลซึ่งอาจต้องมีการทำสำเนา หรือทำรายงานเพื่อแจกจ่าย

ขั้น ตอน แรก ของการประมวลผลข้อมูล เป็นสารสนเทศ คือ ข้อ ใด

ภาพ  :  ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล

1. วิธีการประมวลผล 
วิธีการประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งได้ตามสภาวะการนำข้อมูลมาประมวลผล ซึ่งได้แก่
1.1 การประมวลผลแบบกลุ่ม ( batch processing) หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้ง ๆ เช่น เมื่อต้องการทราบผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลโดยการเก็บรวมรวมข้อมูล เมื่อการเก็บรวมรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูลนั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานผลหรือสรุปหาคำตอบ กรณีการประมวลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้ง ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน เช่น การสำรวจดารายอดนิยม สำรวจนักร้องยอดนิยม สำรวจความคิดเห็นต่อรายการโทรทัศน์ต่าง ๆ เป็นต้น
ในการประมวลผลทั้ง 2 แบบนี้เป็นวิธีการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยดำเนินการกับข้อมูลจำนวนมาก เพื่อแยกแยะ คำนวณ หรือดำเนินการตามที่กำหนดไว้ในโปรแกรม การทำงานของคอมพิวเตอร์ในการประมวลผลจึงต้องมีซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมคอยสั่งการ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ในรูปแบบที่ต้องการ

ขั้น ตอน แรก ของการประมวลผลข้อมูล เป็นสารสนเทศ คือ ข้อ ใด

ภาพ  :  ประมวลผลข้อมูลแบบกลุ่ม

1.2 การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (Real Time processing) เป็นการประมวลผลแต่ละรายการและให้ผลลัพธ์ทันทีเมื่อมีการป้อนข้อมูลเข้าสู่ระบบ การประมวลผลแบบทันทีถ้าเป็นการประมวลผลรายการแบบออนไลน์จะเรียกว่า Online Transaction Processing หรือ OLTP  เช่น  การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินผ่านตู้เอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีการที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

ขั้น ตอน แรก ของการประมวลผลข้อมูล เป็นสารสนเทศ คือ ข้อ ใด

ภาพ  :  ประมวลผลข้อมูลแบบเชื่อมตรง

ที่มา : http://www.radompon.com/web/pages/view/289/23-

ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ มีอะไรบ้าง

การนำข้อมูลมาประมวลผลให้เป็นสารสนเทศนั้น มีขั้นตอนในการทำงานหลายขั้นตอนประกอบกัน เช่น การรวบรวมข้อมูล การแยกแยะข้อมูลออกเป็นกลุ่ม การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล การคำนวณหาค่าต่าง ๆ การจัดลำดับ และการรายงานผล เช่น การจัดทำสมุดรายงานของนักเรียนมีขั้นตอนดังนี้ การรวบรวมข้อมูลของนักเรียนแต่ละคน ได้แก่ เลขประจำตัว ชื่อ ...

ขั้นตอนในการประมวลผลข้อมูลคือข้อใด

ในการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ หรือการทำข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ ที่จะนำไปใช้ประโยชน์ได้ จำเป็นต้องมีการประมวลผลข้อมูลก่อน การประมวลผลข้อมูล เป็นกระบวนการที่มีกระบวนการย่อยหลายอย่าง ประกอบกันคือ 1. การรวบรวมข้อมูล 2. การแยกแยะ 3. การตรวจสอบความถูกต้อง

ข้อใดคือการประมวลผลข้อมูลในระบบสารสนเทศ

การประมวลสารสนเทศ หรือ Information processing เป็นการเปลี่ยนแปลง (การประมวลผล) ของ ข้อมูลสารสนเทศด้วยวิธีการใด ๆ ที่สามารถมองเห็นได้ด้วยการสังเกต ลักษณะที่กล่าวถึงเป็นกระบวนการที่สามารถอธิบายได้ว่า ทุก ๆ สิ่งที่เกิดขึ้นในโลกนี้ ตั้งแต่ การตกของก้อนหินหนึ่งก้อน (ลักษณะของตำแหน่งที่ถูกเปลี่ยนแปลง) ไปจนถึง การพิมพ์ตัว ...

ข้อใดเป็นกระบวนการของสารสนเทศ

กระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศประกอบด้วย - การรวบรวมข้อมูล - การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล - การประมวลผลเพื่อให้ได้สารสนเทศ และความรู้ที่นำมาใช้ในการตัดสินใจ - การเผยแพร่สารสนเทศ