รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 มีความเป็นมาอย่างไร

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 มีความเป็นมาอย่างไร

หน้านี้ได้ทำลิงก์สารบัญไว้ แต่ยังไม่ได้ทำสารบัญ
คุณสามารถช่วยทำได้ โดยดูตัวอย่างจากหน้าอื่น (เช่น พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537)

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
โดย สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (พ.ศ. 2549)

แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1)→

  • รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 มีความเป็นมาอย่างไร
    สถานีย่อย: กฎหมาย ร. 9, รัฐธรรมนูญไทย
  • รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 มีความเป็นมาอย่างไร
    โครงการพี่น้อง: บทความที่วิกิพีเดีย, ไอเทมวิกิสนเทศ

หน้านี้เป็นบทบัญญัติที่ประกาศครั้งแรก สำหรับการแก้ไขเพิ่มเติมและงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ดูที่สถานีย่อย

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 มีความเป็นมาอย่างไร

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย


  • สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
  • สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร

  • ตราไว้ ณ วันที่ ๒๔ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๕๐
  • เป็นปีที่ ๖๒ ในรัชกาลปัจจุบัน

สารบัญ

คำปรารภหมวด
  1. บททั่วไป (มาตรา 1–7)
  2. พระมหากษัตริย์ (มาตรา 8–25)
  3. สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย (มาตรา 26–69)
  4. หน้าที่ของชนชาวไทย (มาตรา 70–74)
  5. แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ (มาตรา 75–87)
  6. รัฐสภา (มาตรา 88–162)
  7. การมีส่วนร่วมทางการเมืองโดยตรงของประชาชน (มาตรา 163–165)
  8. การเงิน การคลัง และงบประมาณ (มาตรา 166–170)
  9. คณะรัฐมนตรี (มาตรา 171–196)
  10. ศาล (มาตรา 197–228)
  11. องค์กรตามรัฐธรรมนูญ (มาตรา 229–258)
  12. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ (มาตรา 259–278)
  13. จริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ (มาตรา 279–280)
  14. การปกครองส่วนท้องถิ่น (มาตรา 281–290)
  15. การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ (มาตรา 291)
บทเฉพาะกาล (มาตรา 292–309)

บรรณานุกรม[แก้ไข]

  • "รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย". (2550, 24 สิงหาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 124, ตอน 47 ก. หน้า 1–127.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 มีความเป็นมาอย่างไร

งานนี้ไม่มีลิขสิทธิ์ เพราะเป็นงานตามมาตรา 7 (2) แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ของประเทศไทย ซึ่งบัญญัติว่า

"มาตรา 7 สิ่งต่อไปนี้ไม่ถือว่าเป็นงานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ (1) ข่าวประจำวัน และข้อเท็จจริงต่าง ๆ ที่มีลักษณะเป็นเพียงข่าวสาร อันมิใช่งานในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ(2) รัฐธรรมนูญ และกฎหมาย(3) ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง คำชี้แจง และหนังสือโต้ตอบของกระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐหรือของท้องถิ่น(4) คำพิพากษา คำสั่ง คำวินิจฉัย และรายงานของทางราชการ(5) คำแปลและการรวบรวมสิ่งต่าง ๆ ตาม (1) ถึง (4) ที่กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐหรือของท้องถิ่น จัดทำขึ้น"

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 มีความเป็นมาอย่างไร

เข้าถึงจาก "https://th.wikisource.org/w/index.php?title=รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2550&oldid=192026"

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยมีความสําคัญอย่างไร

รัฐธรรมนูญนับว่ามีความสำคัญต่อประชาชนเป็นอย่างมาก เพราะว่ารัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายที่มีไว้รับรองสิทธิ เสรีภาพ ผลประโยชน์ประชาชนและเป็นกฎหมายที่บัญญัติขึ้นเพื่อคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ ผลประโยชน์ของ ประชาชนด้วย นอกจากนั้นรัฐธรรมนูญยังกำหนดขอบเขตอำนาจหน้าที่ของผู้ปกครอง ซึ่งเป็นหลักประกันไม่ให้ ผู้ปกครองล่วงละเมิดในสิทธิอัน ...

สาระสําคัญของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 มีอะไรบ้าง

1.คุ้มครอง ส่งเสริม ขยายสิทธิและเสรีภาพของประชาชนอย่างเต็มที่ 2.ลดการผูกขาดอำนาจรัฐ และเพิ่มอำนาจประชาชน 3.การเมืองมีความโปร่งใส มีคุณธรรม และจริยธรรม 4.ทำให้องค์กรตรวจสอบมีความเป็นอิสระ เข้มแข็ง และทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2560 มีความเป็นมาอย่างไร

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 เป็นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 20 มีที่มาจากการตั้งคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ.) ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2558 เพื่อจัดทำร่างฯ ฉบับใหม่ ประกอบด้วยสมาชิก 21 คน มีมีชัย ฤชุพันธุ์ เป็นประธาน เมื่อร่างเสร็จแล้ว มีการลงประชามติในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2559 ซึ่งผู้มาใช้สิทธิร้อย ...

ความเป็นมาของรัฐธรรมนูญมีความเป็นมาอย่างไร

ส่วนคำว่า “รัฐธรรมนูญ” นั้น เกิดขึ้นมาภายหลังจากพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 ใช้บังคับไปแล้ว โดยเกิดจาก 'พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์' เมื่อครั้งทรงพระอิสริยยศเป็น 'หม่อมเจ้าวรรณไวทยากร' ได้ทรงเสนอผ่านหนังสือพิมพ์ประชาชาติว่าคำว่า “ธรรมนูญการปกครองแผ่นดิน” นั้นยืดยาว ...