ปลาฉลามกับเหาฉลามมีความสัมพันธ์แบบใด

ประชากรที่อยู่ร่วมกันและมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน อาศัยในสิ่งแวดล้อมเดียวกัน บทบาทของแต่ละกลุ่มมีความสัมพันธ์กัน ทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยแบ่งรูปแบบความสัมพันธ์ได้ดังนี้

1 ภาวะปรสิต (parasitism)

ปลาฉลามกับเหาฉลามมีความสัมพันธ์แบบใด

รูป ต้นฝอยทองกับต้นไม้ใหญ่

เป็นการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด โดยสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งไปอาศัยอยู่กับสิ่งมีชีวิตอีกชนิดหนึ่ง โดยผู้อาศัย(parasite) ได้ประโยชน์ และผู้ถูกอาศัย (host) เสียประโยชน์ มีความสัมพันธ์แบบ +, - เช่น เห็บกับสุนัข ต้นกาฝากบนต้นมะม่วง พยาธิกับคน ต้นฝอยทองกับต้นไม้ใหญ่

2 ภาวะอิงอาศัย หรือ ภาวะเกื้อกูล (commensalism) 

รูป ปลาฉลามกับเหาฉลาม

เป็นการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด โดยฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์ ส่วนอีกฝ่ายไม่ได้หรือไม่เสียประโยชน์ มีความสัมพันธ์แบบ +, 0 เช่น กบบนใบบัว ปลาฉลามกับเหาฉลาม  เฟินกับกล้วยไม้



3 ภาวะพึ่งพา (mutualism)

ปลาฉลามกับเหาฉลามมีความสัมพันธ์แบบใด

รูป ไลเคน

เป็นการอยู่อาศัยร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด โดยทั้งสองฝ่ายได้รับประโยชน์ร่วมกัน แต่ถ้าแยกออกจากกันแล้วไม่สามารถมีชีวิตต่อไปได้ มีความสัมพันธ์แบบ +, + เช่น ปลวกกับโพรโทซัวในลำไส้ปลวก รากับสาหร่ายในไลเคน



4 ภาวะล่าเหยื่อ (predation) 

ปลาฉลามกับเหาฉลามมีความสัมพันธ์แบบใด

รูป สิงโตกับกวาง


เป็นการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด โดยมีฝ่ายหนึ่งเป็นผู้ล่า (predater) และอีกฝ่ายจะถูกผู้ล่ากินเป็นอาหาร เราจะเรียกผู้ถูกล่านั้นว่า เหยื่อ (prey) มีความสัมพันธ์แบบ +, + เช่น สิงโตกับกวาง งูกับหนู วัวกับหญ้า 



5 ภาวะได้ประโยชน์ร่วมกัน (protocooperation) 

ปลาฉลามกับเหาฉลามมีความสัมพันธ์แบบใด

รูป นกเอี้ยงกับควาย


เป็นการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด โดยทั้งสองฝ่ายได้ประโยชน์ร่วมกัน ถ้าแยกจากกันก็สามารถมีชีวิตต่อไปได้ มีความสัมพันธ์แบบ +, + เช่น ดอกไม้กับแมลง นกเอี้ยงกับควาย มดดำกับเพลี้ย 



6 ภาวะเป็นกลาง (neutralism)

ปลาฉลามกับเหาฉลามมีความสัมพันธ์แบบใด

รูป กระต่ายกับกวาง

เป็นความสัมพันธ์ที่ทั้งสองฝ่ายไม่มีประโยชน์ต่อกัน มีความสัมพันธ์แบบ 0,0 เช่น ใบไม้กับเสือ กระต่ายกับกวาง 

7 ภาวะแก่งแย่ง (competition) 

ปลาฉลามกับเหาฉลามมีความสัมพันธ์แบบใด

รูป บัวกับผักตบชวาในคลอง


เป็นการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2  ชนิด โดยทั้งสองมีความต้องการปัจจัยในการดำเนินชีวิตเดียวกัน จึงเกิดการแย่งกันเกิดขึ้น เช่น สิงโตกับฮายีน่าแย่งฝูงกวาง บัวกับผักตบชวาในคลอง



8 ภาวะต่อต้าน (antibiosis)

ปลาฉลามกับเหาฉลามมีความสัมพันธ์แบบใด
รูป รากับแบคทีเรีย

การที่สิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งมีอิทธิพลกับอีกสิ่งมีชีวิตหนึ่ง มีความสัมพันธ์แบบ 0, -  เช่น รา Penicillium ที่ปล่อยสารปฏิชีวนะ ออกมายับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียในจานเพาะเชื้อ 


เหาฉลามกับปลาฉลามเป็นความสัมพันธ์รูปแบบใด

2. ภาวะอิงอาศัยหรือภาวะเกื้อกูล (commensalism) เป็นการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตโดยที่ฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์ ส่วนอีกฝ่ายหนึ่งไม่ได้ประโยชน์แต่ก็ไม่เสียประโยชน์ (+,0) เช่น ปลาฉลามกับเหาฉลาม เหาฉลามอาศัยอยู่ใกล้ตัวปลาฉลามและกินเศษอาหารจากปลาฉลาม ซึ่งปลาฉลามจะไม่ได้ประโยชน์ แต่ก็ไม่เสียประโยชน์

เหาฉลามกับปลาฉลามกล้วยไม้กับต้นไม้ใหญ่มีความสัมพันธ์กันแบบใดและมีลักษณะแบบใด

- ปลาฉลามกับเหาฉลาม - พืชอิงอาศัย (epiphyte) บนต้นไม้ใหญ่ เช่น กล้วยไม้ที่อยู่บนต้นมะม่วง - นก ต่อ แตน ผึ้ง ทำรังบนต้นไม้ ความสัมพันธ์แบบปรสิต (Parasitism : + , -) หมายถึง การอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด โดยฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์ เรียกว่า ปรสิต (parasite) อีกฝ่ายหนึ่งเสียประโยชน์เรียกว่าผู้ถูกอาศัย (host) เช่น

เพราะเหตุใดเหาฉลามจึงอยู่ร่วมกับปลาฉลามได้

เป็นความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิดที่อยู่ร่วมกัน โดยที่ฝ่ายหนึ่งได้รับประโยชน์ ส่วนอีกฝ่ายไม่ได้และไม่เสียประโยชน์ใด ๆ เช่น - ปลาฉลามกับเหาฉลาม เหาฉลามจะคอยยึดเกาะกับปลาฉลามเพื่อจะได้รับเศษอาหารที่ปลาฉลามกินไม่หมด แต่ก็ไม่ได้ส่งผลเสียตัวปลาฉลาม

ฉลามกับแมวน้ำมีความสัมพันธ์กันอย่างไร

ความสัมพันธ์ระหว่างแมวน้ำกับฉลามก็ไม่ได้รุนแรงเช่นนี้เสมอไป ในกรณีส่วนใหญ่ สัตว์เหล่านี้อยู่ร่วมกันอย่างกลมกลืน ฉลามไม่ได้ว่ายไปมากินแมวน้ำทุกตัวที่เห็น นั่นจะเหมือนกับการที่เราเดินไปตามถนนและกินอาหารทุกอย่างที่เราเจอ เมื่อฉลามหิว พวกมันจะกินแมวน้ำ และเช่นเดียวกัน เมื่อแมวน้ำหิว มันจะกินปลา เช่นเดียวกับสิงโตที่ไม่ไล่ ...