ปี่ในเป็นเครื่องดนตรีภาคใด

ปี่ใน: บทบาทในวงปี่พาทย์

ผู้แต่ง

  • วรวิทย์ วราสินธ์

คำสำคัญ:

ปี่ใน, ปี่พาทย์, บทบาทหน้าที่, ดนตรีไทย

บทคัดย่อ

            ดนตรีไทยมีพัฒนาการมาตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัยจนถึงกรุงรัตนโกสินทร์ในปัจจุบันทั้งในเรื่องของการปรับเปลี่ยนรูปแบบของวงดนตรีไทย ไม่ว่าจะเป็นการเพิ่มเติมเครื่องดนตรีให้มากชิ้นขึ้น เพื่อเพิ่มอรรถรสในการฟังดนตรี รวมถึงการพัฒนารูปแบบของวงปี่พาทย์ นอกจากนี้ยังมีการรับวัฒนธรรมดนตรีของประเทศเพื่อนบ้านมาปรับใช้ ไม่ว่าจะเป็นวงปี่พาทย์นางหงส์ วงปี่พาทย์มอญ และวงปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์ ในขณะที่การปรับเปลี่ยนของวงปี่พาทย์เกิดขึ้นเป็นระยะ ๆ นั้น ปี่ใน เป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่า เพียงชิ้นเดียวที่มีบทบาทในวงปี่พาทย์ที่เกือบจะครอบคลุมทุกวงปี่พาทย์

            ปี่ในมีบทบาทในการเป็นผู้ช่วยผู้นำวงและบางเวลาเป็นผู้นำวงเอง มีลักษณะการบรรเลงแบบโหยหวนบ้าง เก็บบ้าง ตามลักษณะของปี่ การสร้างสำนวนยึดจากทำนองหลัก และบางครั้งมีการหยิบยืมสำนวนของเครื่องดนตรีชนิดอื่นมาใช้ นอกจากนี้มีการสอดแทรกเทคนิคเฉพาะ ระหว่างการดำเนินทำนองในทางเสียงยาว คือ การระบายลม เพื่อให้เสียงปี่ดังกังวานอยู่ตลอดเวลา

Downloads

Download data is not yet available.

ปี่ในเป็นเครื่องดนตรีภาคใด

Downloads

  • PDF (English)

How to Cite

More Citation Formats

  • ACM
  • ACS
  • APA
  • ABNT
  • Chicago
  • Harvard
  • IEEE
  • MLA
  • Turabian
  • Vancouver

Download Citation

  • Endnote/Zotero/Mendeley (RIS)
  • BibTeX

ฉบับ

ปีที่ 23 ฉบับที่ 44 (2017): มกราคม - มิถุนายน 2560

บท

บทความวิชาการ

License

บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว

สำหรับภาคใต้นี้ก็เป็นอีกหนึ่งภาค ที่มีความน่าสนใจ และมีเอกลักษณ์ทางด้านดนตรีอย่างล้ำลึก ซึ่งแน่นอนว่าจะต้องมีเครื่องดนตรีประจำ ที่ภาคสร้างขึ้นมาไว้เพื่อบรรเลงเพลงขับขาน ในยามทำกิจกรรมต่าง ๆ ของผู้คนในภาคใต้ ซึ่งเครื่องดนตรีของภาคใต้ในแต่ละชิ้นนั้น ต่างก็มีความน่าสนใจเป็นอย่างมาก จะมีเครื่องดนตรีชิ้นไหนมีความโดดเด่นบ้างมาดูกันเลย

ทับ

อีกชื่อหนึ่งเรียกว่า ทับโนรา เครื่องดนตรีชนิดนี้ จะต้องเล่นเป็นคู่โดยนักดนตรีเพียงแค่คนเดียว โดยความแตกต่างของของเครื่องดนตรีทั้ง 2 ชิ้นนั้น ก็มีความแตกต่างกันเพียงเล็กน้อย แต่จะใช้คนตีเพียงแค่คนเดียวเท่านั้น ซึ่งถือได้ว่าเป็นเครื่องดนตรีที่มีความสำคัญที่สุด เนื่องจากใช้ใช้คุมจังหวะ อีกทั้งยังใช้เป็นตัวนำในการเปลี่ยนจังหวะท่วงทำนองอีกด้วย โดยผู้ที่จะเล่นทับนี้ จะต้องมีความรู้ และประสบการณ์สังเกตการณ์เป็นอย่างมาก เนื่องจากว่าการเล่นพับ จะต้องมีการเปลี่ยนแปลงตามผู้รำ ไม่ใช่ผู้รำเปลี่ยนแปลงตามจังหวะของทับ เพราะฉะนั้นผู้เล่นที่ดี จะต้องมีสมาธิ จดจำท่าทาง และนั่งในตำแหน่งที่มองเห็นผู้ร่ายรำตลอดเวลา และจะต้องตาม ท่วงท่าของผู้รำให้ทัน

ปี่

จัดเป็นเครื่องดนตรีประเภทเป่าชิ้นเดียวของวงดนตรีในภาคใต้ ซึ่งได้รับความนิยมทั้งปี่ใน และปี่นอก เท่านั้นสำหรับปี่นี้ความจริงแล้ว มีวิธีเป่าที่ใกล้เคียงกับขลุ่ยมาก แต่ปีจะมีเพียงแค่ 7 รู และสามารถสร้างเสียงได้มากถึง 21 เสียง ซึ่งถือกันว่ามีความคล้ายคลึงกับเสียงพูดของมนุษย์มากที่สุด ใช้ในการเป่าเพื่อสะกดใจผู้ฟัง

โหม่ง

ในอีกชื่อหนึ่งเรียกว่าฆ้องคู่ โดยมีเสียงที่ต่างกัน สามารถให้ทั้งเสียงแหลม หรือเสียงทุ้มก็ได้ บางครั้งนักดนตรีก็จะเรียกว่าลูกเอก และลูกทุ้ม

ฉิ่ง

สำหรับอุปกรณ์ชิ้นนี้ คุณผู้อ่านอาจจะรู้จักคุ้นเคยกันดีอยู่แล้ว เพราะว่าพบเห็นกันได้ทั่วไป โดยเครื่องดนตรีชนิดนี้ ทำจากโลหะเนื้อหนา มีการหล่อออกมาในรูปทรงของฝาชี และมีรูเล็ก ๆ อยู่ตรงกลาง นำไว้สำหรับร้อยเชือก สำหรับฉิ่ง 1 ชิ้น จะประกอบด้วย 2ชิ้น หรือ 1 คู่ซึ่ง เป็นการตีเข้าหากันและกัน เพื่อเน้นจังหวะให้มีความหนักแน่นมากยิ่งขึ้น

แตระ

หรือกลับนั่นเอง โดยจะมีเพียงแค่กลับชั้นเดียว ที่ใช้ตีกระทบกับรางโหม่ง หรือกลับคู่ อีกทั้งยังมีกลับที่ร้อยเรียงเป็นพวงหนึ่งพวง ที่เรียกว่ากระปุกพวง อีกทั้งยังสามารถใช้ไม้ หรือลวดขนาดเล็กก็ได้ นำแต่ละอันมาเรียงร้อยเข้าด้วยกัน เมื่อนำมาตีแล้วก็จะทำให้ปลายกระทบกัน ทำจากไม้เนื้อแข็ง

กลองทัด

มีลักษณะเป็นกลองขนาดเล็ก โดยมีขนาดใหญ่โตกว่ากลองของหนังตะลุงเพียงเล็กน้อย กลอง 1 ใบ ใช้ในการเสริมเน้นจังหวะ และล้อเสียงทับ

กลองโนรา

มักนำมาใช้ในการประกอบการแสดงโนรา หรือหนังตะลุง ตามปกติทั่วไปแล้ว มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของหน้าค่อนข้างใหญ่

โพน

คล้ายคลึงกับกลองทัดในภาคกลาง โดยใน 1 ชุดประกอบด้วย กลอง 2 หน้าขนาดใหญ่ ความกว้างของหน้ากลองทั้ง 2 ข้างเท่ากัน พร้อมหุ้มหนังด้วยหนังวัว บริเวณด้านข้างกลอง จะมีห่วงยึดใช้ในการขวนตี เครื่องดนตรีชนิดนี้สามารถพบได้ทั่วไปตามวัด มักผูกห้อยไว้ตามศาลา ในอดีต หรือพื้นที่บางแห่งในปัจจุบันนี้ ใช้ตีเพื่อบอกเวลาพร้อมทั้งส่งสัญญาณ ให้ชาวบ้านได้รับรู้โดยทั่วกัน เช่น ทำวัตรเช้า ทำวัตรเย็น และใช้ในพิธีลากพระ อกทั้งยังสามารถนำมาใช้ตีประชันกันได้ด้วย เรียกความสนใจของผู้ชมได้ดี

เสียงดนตรีของภาคใต้ ได้รับอิทธิพลมาจากกลุ่มชนเงาะซาไก โดยเฉพาะประเภทเครื่องตี ในอดีตใช้ไม้ไผ่ขนาดต่าง ๆ มา สร้างเป็นเครื่องดนตรีนำมาใช้ร้องเพลง และเต้นรำ สร้างความรื่นเริง

ผู้สนับสนุนหลักโดย เว็บแทงบอลออนไลน์ เต็มรูปแบบที่สมัยที่สุด มีความมั่นคงทางการเงินที่ดีเยี่ยม สะดวก ปลอดภัย ให้ราคาดี เชื่อถือได้การันตีจ่ายเงินจริง 100% พร้อมโปรโมชั่นสุดพิเศษอีกมากมายที่จะเพิ่มเงินทุนให้กับผู้เล่นได้มากยิ่งขึ้น เพิ่มความสะดวกในการทำธุรกรรมทางการเงินด้วยระบบฝาก-ถอนเงินอัตโนมัติที่มีความรวดเร็ว แม่นยำ ใช้งานง่าย ที่สำคัญคือไม่มีเสียค่าบริการใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งยังอัพเดทข้อมูลข่าวสารต่างๆ สดใหม่ก่อนใคร ช่วยให้ท่านสมาชิกรู้ข่าวสารก่อนใคร ท่านใดสนใจสมัครแทงบอลออนไลน์สามาตรติดต่อทีมงานได้ตลอด 24 ชั่วโมง สำหรับสมาชิกใหม่รับโบนัสพิเศษฟรีทันที

ปี่เป็นเครื่องดนตรีภาคใด

เครื่องดนตรีที่ใช้บรรเลงในวงดนตรีพื้นบ้านภาคกลางที่สำคัญๆ ได้แก่ จะเข้ ขลุ่ย ซออู้ ซอด้วง ระนาดเอก ฆ้องวงใหญ่ ปี่ ฉิ่ง ฉาบเล็ก กรับ โหม่ง เป็นต้น

ปี่ในเป็นเครื่องดนตรีชนิดใด

ปี่ในเป็นเครื่องดนตรีประเภทเป่าที่กำเนิดเสียงจากการสั่นสะเทือนของลิ้นปี่ และเปลี่ยนระดับเสียงไปตามตำแหน่งนิ้วที่ปิดรูซึ่งเรียงอยู่บนเลาปี่

ฆ้องวงอยู่ภาคไหน

ภาคกลาง เช่น ซอสามสาย ซอด้วง ซออู้ จะเข้ ขลุ่ย ปี่ ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องวงเล็ก โทน รำมะนา กลองแขก กลองสองหน้า  ภาคใต้ เช่น ทับ กลองโนรา โหม่ง ปี่ กรับพวง

ตะโพนเป็นเครื่องดนตรีชนิดใด

ตะโพนไทยเป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องหนังซึ่งทำหน้าที่ “กำกับจังหวะ” มี รูปร่างเป็นทรงกระบอกป่องกลางเป็น “กระพุ้ง” ยาวประมาณ 19 นิ้ว ตัวหุ่นทำด้วยไม้ขนุน ไม้กุ่ม ฯลฯ หน้าเท่งหรือหน้ารุ่ยมีความกว้างประมาณ 9.5 นิ้ว หน้ามันมีความกว้างประมาณ 8.5 นิ้ว ส่วนกระพุ้งตรงกลางของหุ่นตะโพนวัดโดยรอบหุ่นกลองยาวประมาณ 40 นิ้ว