สิ่ง ที่ ต้อง คำนึงถึง ในการรวบรวมข้อมูล มี อะไร บ้าง

:: ���й�����ҧʶԵ� >> ��ɮ�����º�Ը�ʶԵ� >
สิ่ง ที่ ต้อง คำนึงถึง ในการรวบรวมข้อมูล มี อะไร บ้าง
�س���ѵԢͧ�����ŷ���

1.5 �س���ѵԢͧ�����ŷ���


�����ŷ��ըе�ͧ��Сͺ���¤س���ѵԷ���Ӥѭ� �ѧ�����

1. �����١��ͧ�����
(accuracy) �����ŷ��դ�è��դ����١��ͧ������٧ ���Ͷ���դ�����Ҵ����͹ (errors) �������ҧ ���÷�������ö�Ǻ�����Ҵ�ͧ������Ҵ����͹��軹������դ�����Ҵ����͹ ���·���ش

2. �����ѹ���� (timeliness) �繢����ŷ��ѹ���� (up to date) ��зѹ��ͤ�����ͧ��âͧ ����� ��Ҽ�Ե�������͡�Ҫ�� ������դس��Ҷ֧�����繢����ŷ��١��ͧ����ӡ���

3. ��������ó�ú��ǹ (completeness) �����ŷ�����Ǻ����ҵ�ͧ�繢����ŷ��������稨�ԧ (facts) ���͢������ (information) ���ú��ǹ�ء��ҹ�ء��С�� ����Ҵ��ǹ˹����ǹ�价���������������

4. ������зѴ�Ѵ (conciseness) �����ŷ�����Ѻ��ǹ�˭�С�ШѴ��Ш�� ��èѴ�������������� �ٻẺ����зѴ�Ѵ����������� �дǡ��͡������Ф��� ������դ���������ѹ��

5. �����ç�Ѻ������ͧ��âͧ����� (relevance) �����ŷ��Ѵ�Ӣ���Ҥ���繢����ŷ������ �����ŵ�ͧ����� ��Ш��繵�ͧ��� / ��Һ �����繻���ª���͡�èѴ��Ἱ ��˹���º�����͵Ѵ�Թ�ѭ�������ͧ���� ������繢����ŷ��Ѵ�Ӣ�������ҧ�ҡ��� ��������õ�ͧ������������ç�Ѻ������ͧ��âͧ����������

6. ����������ͧ (continuity) ������Ǻ��������� ������ҧ��觷��е�ͧ���Թ������ҧ����������е�����ͧ��ѡɳТͧ͹ء������ (time-series) ���ͨ����������ª��㹴�ҹ������������Ԩ��������������͹Ҥ�

 
 

การเก็บรวบรวมข้อมูล

การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นขั้นตอนหนึ่งที่มีความสำคัญมากทางสถิติ เพื่อใช้ในการตัดสินใจได้อย่างถูกต้องและแม่นยำ โดยข้อมูลที่ได้มีหลากหลายรูปแบบ อาจจะเป็นตัวเลข ข้อความ หรือรูปภาพ ซึ่งเป็นข้อมูลที่ตอบสนองวัตถุประสงค์หรือเป็นเรื่องที่เราสนใจ โดยสามารถจำแนกข้อมูลได้ตามลักษณะและแหล่งที่มาของข้อมูล ได้แก่

จำแนกตามลักษณะของข้อมูล แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ

  1. ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data) คือ ข้อมูลที่วัดค่าได้ แสดงเป็นตัวเลข ซึ่งสามารถนำมาใช้เปรียบเทียบกันได้โดยตรง เช่น จำนวนบุตรในครอบครัว, น้ำหนัก, ส่วนสูง, และอายุ เป็นต้น
  2. ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) คือ ข้อมูลที่ไม่สามารถวัด และแสดงเป็นตัวเลขไม่ได้โดยตรง แต่อธิบายลักษณะหรือคุณสมบัติเชิงคุณภาพได้ (เป็นข้อความหรือตัวเลข) เช่น เพศ, ศาสนา, และคุณภาพสินค้า เป็นต้น

ตัวอย่าง เรามีข้อมูลอะไรเกี่ยวกับน้องหมาตัวนี้บ้าง

สิ่ง ที่ ต้อง คำนึงถึง ในการรวบรวมข้อมูล มี อะไร บ้าง
ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data):

                          • น้องมี 4 ขา
                          • น้องมี 2 ตา
                          • น้องมี 2 หู

ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data):

                          • น้องมีสีดำและสีน้ำตาล
                          • น้องมีขนยาว
                          • น้องเป็นเพศผู้

จำแนกตามแหล่งที่มาของข้อมูล ได้แก่ บุคคล เช่นผู้ให้สัมภาษณ์, ผู้กรอกแบบสอบถาม, เอกสารทุกประเภท, และข้อมูลสถิติจากหน่วยงาน รวมไปถึงภาพถ่าย แผนที่ หรือแม้กระทั่งวัตถุ สิ่งของ ซึ่งโดยทั่วไปแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ

  1. ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) คือ ข้อมูลที่ผู้วิจัยได้เก็บรวบรวมมาโดยตรงจากแหล่งของข้อมูล เช่น การสอบถาม, การสัมภาษณ์, การทดลอง เป็นต้น
  2. ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) คือ ข้อมูลที่ผู้ใช้ไม่ต้องเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งของข้อมูล แต่ได้จากการรวบรวมข้อมูลของผู้อื่นที่ได้มีการทำการเก็บข้อมูลไว้แล้ว เช่น เอกสาร, รายงาน, หนังสือ, ข้อมูลที่หน่วยงานได้จัดทำไว้ เป็นต้น

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล

โดยทั่วไปสามารถเก็บรวบรวมข้อมูลได้หลากหลายวิธี ได้แก่

การเลือกวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของประเภทข้อมูลและคำถามทางสถิติที่เราสนใจ โดยต้องคำนึงถึงหลักสำคัญดังนี้

    1. ข้อมูลที่ได้สามารถนำไปตอบคำถามทางสถิติที่ตั้งไว้ได้หรือไม่
    2. แหล่งข้อมูลเหมาะสมกับคำถามทางสถิติที่ตั้งไว้ได้ไหม
    3. จะดำเนินการเก็บข้อมูลอย่างไร

การตั้งคำถามทางสถิติที่ดีน้อง ๆ สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ที่ –> การตั้งคำถามทางสถิติ


ตัวอย่างการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อตอบคำถามทางสถิติ

คำถามที่ 1 เด็กนักเรียนในโรงเรียนสิงโตวิทยาเดินทางมาโรงเรียนด้วยวิธีใดบ้าง

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล

ตอบ   วิธีที่ 1.) การสังเกต และใช้แบบฟอร์มจดบันทึกในทุก ๆ เช้าด้านหน้าโรงเรียน

           ตัวอย่างเเบบฟอร์มจดบันทึก

สิ่ง ที่ ต้อง คำนึงถึง ในการรวบรวมข้อมูล มี อะไร บ้าง

 วิธีที่ 2.) การสำรวจ โดยทำแบบสอบถามเพื่อน ๆ ในโรงเรียนโดยการสุ่มเพื่อน ๆ ในโรงเรียน

 ตัวอย่างเเบบสำรวจ

สิ่ง ที่ ต้อง คำนึงถึง ในการรวบรวมข้อมูล มี อะไร บ้าง

คำถามที่ 2 ปริมาณของน้ำมีผลต่ออัตราการเจริญเติบโตของต้นถั่วหรือไม่

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล

ตอบ   วิธีที่ 1.) การทดลอง เช่น เราสามารถปลูกต้นถั่ว 3 ต้น โดยให้ปริมาณน้ำที่ต่างกันและบันทึกความสูงของต้นถั่วทุก ๆ สัปดาห์ เเล้วนำข้อมูลมาสรุปผลเพื่อตอบคำถามทางสถิติ

           วิธีที่ 2.) การเก็บข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่รวบรวมไว้แล้ว ในกรณีที่มีคนเคยทดลองและมีแหล่งข้อมูลแล้ว

คำถามที่ 3 นักเรียนห้อง A ชอบสีใดบ้าง

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล

ตอบ    วิธีที่ 1.) การสำรวจ โดยใช้การสัมภาษณ์ การสอบถามโดยตรงกับนักเรียนในห้อง A

            วิธีที่ 2.) การสำรวจ โดยใช้แบบสอบถาม ก็สามารถนำข้อมูลมาตอบคำถามทางสถิติที่เราตั้งไว้ได้

คำถามที่ 4 จำนวนผู้ใช้บริการห้องสมุดโรงเรียนในแต่ละวันเป็นเท่าไหร่

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล

ตอบ   วิธีที่ 1.) การเก็บข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่รวบรวมไว้แล้ว โดยการสอบถามบรรณารักษ์ของห้องสมุดโรงเรียน ในโรงเรียนส่วนใหญ่บรรณารักษ์จะมีการเก็บข้อมูลการใช้งานห้องสมุดด้วยวิธีการต่าง ๆ ไว้อยู่แล้ว เช่น การใช้แผงกั้นสำหรับนับจำนวน, การเขียนชื่อในสมุดก่อนเข้าใช้ห้องสมุด, การแสกนบัตรนักเรียนก่อนใช้งาน เป็นต้น

 วิธีที่ 2.) การสังเกต โดยการนับจำนวนผู้ใช้บริการห้องสมุดด้วยตนเองแล้วจดบันทึก

คำถามที่ 5 ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล

ตอบ   การทำแบบสอบถาม โดยอาจจะมีการประเมินเป็นระดับเกณฑ์ 1 ถึง 5 หรืออาจจะใช้เป็นระดับความพึงพอใจเช่น น้อย, ปานกลาง, มาก เป็นต้น


สุดท้ายนี้การเลือกใช้วิธีการใดในการเก็บรวบรวมข้อมูลขึ้นอยู่กับความเหมาะสมและความพร้อมการเก็บรวบรวมข้อมูล ไม่มีวิธีใดผิด หากจะต้องเก็บข้อมูลความสูงของต้นไม้ เราคงไม่ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล แต่หากเราจะเก็บข้อมูลความสูงของเพื่อนในห้องเราก็สามาถใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้

บทความนี้ได้รวบรวมความรู้เรื่อง การเก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งเป็นขั้นตอนทางสถิติที่มีความสำคัญมาก หากข้อมูลที่ได้รับเกิดความผิดพลาดน้อยก็จะส่งผลให้การนำข้อมูลไปนำเสนอและวิเคราะห์ต่อมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

คลิปวิดีโอ การเก็บรวบรวมข้อมูล

คลิปวิดีโอนี้ได้รวบรวมวิธี การเก็บรวบรวมข้อมูล ไว้อย่างละเอียด ซึ่งเป็นคลิปสั้นๆ ที่สามารถเข้าใจได้ง่าย แฝงไปด้วยความรู้ เเละเทคนิครวมถึงการอธิบาย ตัวอย่าง เเละสอนวิธีคิดที่จะทำให้วิชาคณิตศาสตร์เป็นเรื่องง่าย

การเก็บรวบรวมข้อมูลมีวิธีการใดบ้าง

การเก็บรวบรวมข้อมูลประเภทนี้ทำได้ 2 วิธีคือ การสำมะโน (census) และการสำรวจจากกลุ่มตัวอย่าง (sample survey)

การเก็บรวบรวมข้อมูลคืออะไร

การเก็บรวบรวมข้อมูล” หมายถึง กระบวนการที่จะทำให้ได้ข้อมูลมาเพื่อตอบสนองตามวัตถุประสงค์ การเก็บรวบรวบข้อมูลเริ่มต้นจากการวางแผนการเก็บเสียก่อน นักสถิติจำเป็นที่จะต้องเก็บข้อมูล หรือค้นคว้าด้วยตัวเอง แล้วจึงทำการเก็บรวบรวมไว้เป็นหมวดหมู่ เพื่อนำไปวิเคราะห์ข้อมูลได้สะดวกรวดเร็ว

ปัญหาเกี่ยวกับผู้เก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่อะไรบ้าง

1.ปัญหาที่เกิดจากผู้รวบรวมข้อมูล ผู้รวบรวมข้อมูลอาจมีความรู้และประสบการณ์ไม่ดีพอ ท า ให้ไม่สามารถตอบข้อสงสัยในค าถามหรือไม่สามารถชี้แจงประเด็น ค าถามให้ผู้ตอบเข้าใจได้ บางครั้งผู้เก็บรวบรวมข้อมูลขาดความ รับผิดชอบ ไม่ตั้งใจเก็บข้อมูล ไม่มีจรรยาบรรณ แทนที่จะเก็บ ข้อมูลจากผู้อื่นแต่อาจกรอกข้อมูลด้วยตนเอง

Data Collection มีอะไรบ้าง

การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection) คืออะไร?.
Quantitative Data (ข้อมูลเชิงปริมาณ) ... .
Qualitative Data (ข้อมูลเชิงคุณภาพ) ... .
Primary Data (ข้อมูลปฐมภูมิ) ... .
Secondary Data (ข้อมูลทุติยภูมิ) ... .
Questionnaires (แบบสอบถาม) ... .
Interview (การสัมภาษณ์) ... .
Focus Group (การสนทนากลุ่ม) ... .
Observation (การสังเกตการณ์).