ประชาคมอาเซียนที่เป็นปึกแผ่นควบคุมสาระสำคัญใดบ้าง

และปฏิญญาเซบูว่าด้วยแผนแม่บทของกฎบัตรอาเซียน ตระหนักถึงการมีผลประโยชน์ร่วมกันและการพึ่งพาอาศัยกันระหว่างประชาชนและรัฐสมาชิกอาเซียนซึ่งมีความผูกพันกันทางภูมิศาสตร์ ตลอดจนมีวัตถุประสงค์และชะตาร่วมกัน

ประชาคมอาเซียนที่เป็นปึกแผ่นควบคุมสาระสำคัญใดบ้าง

    ได้รับแรงบันดาลใจและรวมกันภายใต้วิสัยทัศน์เดียวกัน อัตลักษณ์เดียวกัน และประชาคมที่มีความเอื้ออาทรเดียวกัน รวมกันด้วยความปรารถนาและเจตจำนงร่วมกันที่จะดำรงอยู่ในภูมิภาคแห่งสันติภาพ ความมั่นคงและเสถียรภาพที่ถาวร มีการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ยั่งยืน มีความมั่งคั่งและความก้าวหน้าทางสังคมร่วมกัน และที่จะส่งเสริมผลประโยชน์ อุดมการณ์ และแรงดลใจที่สำคัญของอาเซียน เคารพความสำคัญพื้นฐานของมิตรภาพและความร่วมมือ และหลักการแห่งอธิปไตย ความเสมอภาค บูรณภาพแห่งดินแดน การไม่แทรกแซงในกิจการภายใน ฉันทามติและเอกภาพในความหลากหลาย ยึดมั่นในหลักการแห่งประชาธิปไตย หลักนิติธรรม และธรรมาภิบาล การเคารพและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน ตกลงใจที่จะประกันการพัฒนาอย่างยั่งยืนเพื่อประโยชน์ของประชาชนรุ่นปัจจุบันและอนาคต และตั้งมั่นให้ ความอยู่ดีกินดี การดำรงชีวิตและสวัสดิการของประชาชนเป็นแกนของกระบวนการสร้างประชาคมอาเซียน เชื่อมั่นในความจำเป็นที่จะกระชับสายสัมพันธ์ที่มีอยู่ของความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในระดับภูมิภาค
    เพื่อบรรลุประชาคมอาเซียนที่มีความเหนียวแน่นทางการเมือง การรวมตัวทางเศรษฐกิจ และมีความรับผิดชอบทางสังคม เพื่อที่จะตอบสนองอย่างมีประสิทธิภาพต่อความท้าทายและโอกาสในปัจจุบันและอนาคต ผูกพันที่จะเร่งสร้างประชาคมโดยผ่านความร่วมมือ และการรวมตัวในภูมิภาคที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งโดยการจัดตั้งประชาคมอาเซียน ซึ่งประกอบด้วยประชาคมความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน

ในการสร้างประชาคมที่มีความมั่นคงทางการเมืองที่มีสันติภาพ เป็นปึกแผ่นและสามารถรับมือกับ สถานการณ์ต่างๆ นอกเหนือจากความมั่นคงตามแบบจารีต

    1. มาตรการป้องกันความขัดแย้ง/การสร้างความเชื่อมั่น
        1.1 ส่งเสริมความเข้มแข็งของมาตรการสร้างความเชื่อมั่นโดยใช้โอกาสในการแลกเปลี่ยนและ ปฏิสัมพันธ์กันระหว่างเจ้าหน้าที่ ฝ่ายทหารและระหว่าง เจ้าหน้าที่ฝ่าย ทหารกับบุคลากรพลเรือนที่มีเพิ่มขึ้น
        1.2 สนับสนุนให้มีความโปร่งใสและความเข้าใจอย่างชัดเจนในนโยบายด้านการป้องกันประเทศ และความตระหนัก ในเรื่องความมั่นคง
        1.3 จัดตั้งกรอบของสถาบันที่มีความจำเป็นต่อการสร้างความเข้มแข็งของกระบวนการของการ ประชุมภูมิภาค เพื่อสนับสนุน ประชาคมการเมืองแล ความมั่นคงของ อาเซียน (ASEAN Political Security Commission: APSC)

    2. การตกลงแปซิฟิกในกรณีความขัดแย้ง
        2.1 การเสริมสร้างการตกลงแปซิฟิกในกรณีความขัดแย้งบนรูปแบบที่มีอยู่แล้วและพิจารณา การสร้างความเข้มแข็ง ด้วยการเพิ่ม กลไกที่จำเป็น
        2.2 จัดทำการศึกษาวิจัยและการแลกเปลี่ยนของศูนย์ต่างๆของอาเซียนที่มีการปฏิบัติงานที่มี ประสิทธิภาพด้านการจัดการ ในกรณีเกิดความขัดแย้ง การแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง และ การทำให้เกิดสันติภาพ
        2.3 การพัฒนาความร่วมมือในภูมิภาคเพื่อรักษาสันติภาพและความมั่นคง
        2.4 การพัฒนาให้มีการริเริ่มสนับสนุนการดำเนินงาน

    3. การสร้างสันติภาพภายหลังเกิดความขัดแย้ง
        3.1 เสริมสร้างความเข้มแข็งในการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมของอาเซียน
        3.2 การดำเนินงานพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และโครงการสร้างขีดความสามารถให้กับประชาชนในพื้นที่ภายใต้การฟื้นฟู และการก่อสร้างภายหลังจากที่เกิดความขัดแย้ง
        3.3 การเพิ่มความร่วมมือในด้านความสมานฉันท์

    4. ความมั่นคงในรูปแบบที่ไม่ยึดถือตามประเพณี
    (อาชญากรรมข้ามชาติ – การก่อการร้าย, การค้ามนุษย์, การลักลอบค้ายาเสพติด, โจรสลัด, การลักลอบค้าอาวุธสงคราม, อาชญากรรมทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ และอาชญากรรมคอมพิวเตอร์)
        4.1 การเสริมสร้างความเข้มแข็งในการร่วมมือในเรื่องความมั่นคงที่ไม่ได้ยึดถือตามประเพณี การต่อสู้กับอาชญากรข้ามชาติ และปัญหาเรื่องเขตแดนอื่นๆ
        4.2 การเพิ่มความพยายามในการต่อต้านการก่อการร้ายโดยการให้สัตยาบันในเบื้องต้นและการดำเนินงาน อย่างเต็มที่ของอนุสัญญาว่าด้วยเรื่องการต่อต้านการก่อ การร้าย (ASEAN Convention on Counter-Terrorism)

ความหมายของคำว่าประชาคมอาเซียนที่เป็นปึกแผ่นครอบคลุมสาระสำคัญใดบ้าง

7.2 ภูมิภาคที่เป็นปึกแผ่น มีสันติภาพและสามารถรับมือกับสถานการณ์ต่างๆ รวมทั้งมีความรับผิดชอบ ร่วมกันเพื่อความมั่นคงในทุกด้าน.
1. มาตรการป้องกันความขัดแย้ง/การสร้างความเชื่อมั่น ... .
2. การตกลงแปซิฟิกในกรณีความขัดแย้ง ... .
3. การสร้างสันติภาพภายหลังเกิดความขัดแย้ง ... .
4. ความมั่นคงในรูปแบบที่ไม่ยึดถือตามประเพณี.

ประชาคมอาเซียนที่เป็นปึกแผ่น คืออะไร

เสรีภาพ และความเป็นกลาง (Zone of Peace,Freedom and Neutrality หรือ ZOPFAN) เป็นการแสดงเจตนารมณ์ของอาเซียน ให้ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นภูมิภาคที่ปลอดการแทรกแซงจากภายนอก เพื่อเป็นหลักประกันต่อสันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาคและเสนอให้อาเซียนขยายความร่วมมือให้ครอบคลุมทุกๆ ด้าน อันจะนำมาซึ่งความแข็งแกร่ง ความเป็น ...

3 เสา หลัก ของ ประชาคม อาเซียน มี อะไร บ้าง

ประชาคมอาเซียน ประกอบด้วย 3 เสาหลัก ได้แก่ 1. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community : APSC) 2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) 3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community : ASCC)

แนวคิดในการรวมตัวเป็นอาเซียนมีอยู่ในเอกสารใดและมีความสำคัญอย่างไร

กฎบัตรอาเซียน กำหนดขึ้นมาโดยมีเป้าหมายให้อาเซียนเป็นองค์กรที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการขับเคลื่อนการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียน ภายในปี พ.ศ. 2558 ตามที่ผู้นำอาเซียนได้ตกลงกันไว้ ซึ่งกฎบัตรอาเซียนนี้มีผลทำให้องค์กรอาเซียนมีสถานะเป็นนิติบุคคล โครงสร้างของกฎบัตรอาเซียน