หอ รัษฎากร พิพัฒน์ ตั้งอยู่ ที่ไหน

พิพิธภัณฑ์ผ้าในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

กินเที่ยว : 23 ก.ค. 2555, 10:02 น.

Share Tweet Line

หอ รัษฎากร พิพัฒน์ ตั้งอยู่ ที่ไหน

พิพิธภัณฑ์ผ้าในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ตั้งอยู่ ณ หอรัษฎากรพิพัฒน์ ในพระบรมมหาราชวัง จัดตั้งขึ้นตามพระราชประสงค์ของสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ที่ทรงมุ่งหวังให้เป็นแหล่งความรู้ที่ยั่งยืน

หอ รัษฎากร พิพัฒน์ ตั้งอยู่ ที่ไหน

พิพิธภัณฑ์ผ้าในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ตั้งอยู่ ณ หอรัษฎากรพิพัฒน์ ในพระบรมมหาราชวัง จัดตั้งขึ้นตามพระราชประสงค์ของสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ที่ทรงมุ่งหวังให้เป็นแหล่งความรู้ที่ยั่งยืนเกี่ยวกับผ้าตลอดจนประวัติศาสตร์เครื่องแต่งกาย อันเป็นเอกลักษณ์ของชาติตั้งแต่สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นจนถึงปัจจุบัน สะท้อนผ่านเครื่องแต่งกายในราชสำนักยุคต่างๆ รวมทั้งฉลองพระองค์ในสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ

ภายในพิพิธภัณฑ์ผ้าฯ มีห้องจัดแสดงทั้งหมด 4 ห้อง ซึ่งแบ่งเป็นการแสดง 3 นิทรรศการ ห้องจัดแสดง 1 นิทรรศการ “ราชพัสตราจากผ้าไทย” จัดแสดงฉลองพระองค์ชุดสากลผ้าไทย ที่ทรงฉลองระหว่างเสด็จฯ เจริญสัมพันธไมตรีกับนานาประเทศ ซึ่งตัดเย็บโดยนักออกแบบไทยและต่างชาติ และเป็นเพียงห้องเดียวที่จัดแสดงฉลองพระองค์ผ้าไหมของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งเป็นฉลองพระองค์ระหว่างเสด็จฯ เยี่ยมเยียนราษฎรในปี พ.ศ. 2528 ตัดเย็บโดย นายสมภพ หลุยลาภประเสริฐ จากห้องเสื้อยูไลย ส่วนห้องจัดแสดง 2 นิทรรศการ “ไทยพระราชนิยม” จัดแสดงฉลองพระองค์ชุดไทย ซึ่งเป็นต้นแบบชุดประจำชาติของสตรีไทยในปัจจุบัน 8 แบบด้วยกันคือ ไทยเรือนต้น, ไทยจิตรลดา, ไทยอัมรินทร์, ไทยบรมพิมาน, ไทยดุสิต, ไทยจักรี, ไทยศิวาลัย และไทยจักรพรรดิ รวมกว่า 30 องค์ พร้อมชมวีดิทัศน์ความเป็นมาและวิธีการสวมเครื่องนุ่งห่มชุดไทยสมัยโบราณและปัจจุบัน ส่วนห้องจัดแสดง 3 และ 4 นิทรรศการ “พระหัตถ์ที่ทรงงานเพื่อแผ่นดิน” บอกเล่าเรื่องราวจุดกำเนิดแห่งศิลปาชีพตั้งแต่ปี พ.ศ. 2513 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จฯ เยี่ยมราษฎรที่ประสบอุทกภัยที่ อ.นาหว้า จ.นครพนม จวบจนปัจจุบัน

นอกจากจะเป็นแหล่งรวบรวมความรู้เกี่ยวกับผ้าไทยแล้ว พิพิธภัณฑ์ผ้าฯ ยังเป็นศูนย์กลางในการจัดเก็บรักษาผ้าไทย และเอกสารที่เกี่ยวข้อง รวมถึงจัดแสดงงานหัตถศิลป์อันทรงคุณค่าทั้งของราชสำนัก และผ้าพื้นเมืองจากท้องถิ่นต่าง ๆ เพื่อเป็นการสืบสานสมบัติทางวัฒนธรรมอันล้ำค่าให้คงอยู่สืบไป

          พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นมหิศราชหฤทัย (พระองค์เจ้าไชยยันตมงคล) เสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ จึงได้รวบรวมกลุ่มนักวิชาการที่มีความรู้ด้านการเงิน มาร่วมกันจัดตั้งธนาคารที่เป็นของคนไทยขึ้นมาครั้งแรก ในปี พ.ศ. ๒๔๔๕ เรียกว่ากลุ่ม บุคคลัภย์ ดำเนินกิจการธนาคารไปด้วยดีตลอดระยะเวลา ๒ ปี ต่อมากลุ่มของพระเจ้าน้องยาเธอ ทรงขอพระบรมราชาอนุญาต จัดทะเบียนเป็น บริษัท แบงค์สยามกัมมาจลทุน จำกัด โดยดำเนินกิจการแบบสากลแต่บริหารงานโดยคนไทยทั้งสิ้นซึ่งทำให้มีธนาคารของคนไทยแห่งแรกเกิดขึ้นมา และดำเนินกิจการโดยคนไทยทั้งสิ้น

ตั้งอยู่ ณ หอรัษฎากรพิพัฒน์ ในพระบรมมหาราชวัง จัดตั้งขึ้นตามพระราชประสงค์ของสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ที่ทรงมุ่งหวังให้เป็นแหล่งความรู้ที่ยั่งยืนเกี่ยวกับผ้าตลอดจนประวัติศาสตร์เครื่องแต่งกาย อันเป็นเอกลักษณ์ของชาติตั้งแต่สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นจนถึงปัจจุบัน สะท้อนผ่านเครื่องแต่งกายในราชสำนักยุคต่างๆ รวมทั้งฉลองพระองค์ในสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ

ภายในประกอบด้วย ๑ นิทรรศการกึ่งถาวร และ ๑ นิทรรศการชั่วคราว ได้แก่

  • ห้องประชุม นิทรรศการ ราชพัสตราบรมราชาภิเษก (Textiles in Thai Coronation)

นิทรรศการจัดขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว และเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับพระราชพิธีดังกล่าว ตลอดจนเครื่องแต่งพระองค์ที่เกี่ยวเนื่อง เพื่อให้ผู้สนใจประวัติศาสตร์ราชประเพณีไทยได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง เข้าใจกระจ่างชัด ด้วยเป็นพระราชพิธีที่ว่างเว้นไปนาน ๖๙ ปี นับแต่เคยมีมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ ๙

  • ห้องจัดแสดง ๓-๔ นิทรรศการ ผ้าบาติกในพระปิยมหาราช : สายสัมพันธ์สยามและชวา ( A Royal Treasure: The Javanese Batik Collection of King Chulalongkorn of Siam)

นิทรรศการจัดขึ้นเพื่อระลึกถึงพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๕ ในการเสด็จเยือนชวาทั้งสามครั้ง และจัดแสดงผ้าบาติกสะสมที่สวยงามจากเมืองต่างๆ บนเกาะชวา รวมถึงแสดงวีดิทัศน์ตลอดจนภาพอธิบายขั้นตอนการทำผ้าบาติก เพื่อตระหนักถึงพระมหากรุณาธิคุณและพระปรีชาสามารถของพระองค์ที่ทรงรวบรวมวิทยาการและศิลปวัฒนธรรมมาปรับใช้ในการวางรากฐานพัฒนาประเทศไทยอย่างยั่งยืนสืบมาจนถึงปัจจุบัน

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

หอ รัษฎากร พิพัฒน์ ตั้งอยู่ ที่ไหน

หอ รัษฎากร พิพัฒน์ ตั้งอยู่ ที่ไหน

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ มีพระราชดำริให้จัดตั้งพิพิธภัณฑ์ผ้าฯ ขึ้นเพื่อเป็นแหล่งศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับผ้าไทย และประวัติศาสตร์เครื่องแต่งกายของคนไทย พิพิธภัณฑ์ผ้าฯ จึงเป็นสถานที่รวบรวมจัดเก็บรักษาผ้าไทยและเอกสารที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนจัดแสดงงานหัตถศิลป์จากผ้าอันทรงคุณค่าของราชสำนักและผ้าพื้นเมืองต่างๆ เพื่อสืบสานพระราชปณิธานในการอนุรักษ์การทอผ้าของไทย ให้คงอยู่เป็นสมบัติทางวัฒนธรรมของชาติ

การก่อตั้งพิพิธภัณฑ์ผ้า ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พิพิธภัณฑ์ผ้า ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ตั้งอยู่ ณ หอรัษฎากรพิพัฒน์ ตั้งอยู่ในเขตพระราชฐานชั้นนอก ริมกาแพงพระบรมมหาราชวังด้านทิศเหนือ ปรากฏหลักฐานการใช้พื้นที่บริเวณดังกล่าวมาตั้งแต่ต้นกรุงรัตนโกสินทร์ มีการบูรณะปรับปรุง และก่อสร้างเพิ่มเติมหลายครั้ง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ก่อสร้างอาคาร 2 ชั้นเป็นแถวยาวเมื่อ พุทธศักราช 2413 และพระราชทานนาม หอรัษฎากรพิพัฒน์ เพื่อเป็นที่ทาการกรมพระคลังมหาสมบัติ มีหน้าที่บริหารงานด้านการจัดเก็บระเบียบภาษีอากร ต่อมาอาคารนี้ได้กลายเป็นที่ทาการของหน่วยงานอย่างน้อย 4 หน่วยงาน ได้แก่ สานักงานธนาคารชาติไทย กรมธนารักษ์ ราชบัณฑิตยสถาน กองพระราชพิธี จากนั้นจึงว่างเว้นจากการใช้งาน ในพุทธศักราช 2546 สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ กราบบังคมทูลขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต ใช้อาคารหอรัษฎากรพิพัฒน์ เป็นที่ตั้งของพิพิธภัณฑ์ผ้าฯ

หอรัษฎากรพิพัฒน์ อยู่ที่ไหน

หอรัษฎากรพิพัฒน์ ถนนหน้าพระลาน แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ๑๐๒๐๐ ประเทศไทย

การจัดตั้งหอรัษฎากรพิพัฒน์เกิดขึ้นในสมัยใด

ในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้มีพระราชปรารภว่า เงินภาษีอากรอันเป็นผลประโยชน์ของแผ่นดิน จัดเก็บกันไม่เป็นระเบียบกระจัดกระจายรั่วไหลไปมากมาย ในปี พ.ศ. 2416 จึงได้ตราพระราชบัญญัติสำหรับหอรัษฎากรพิพัฒน์ จุลศักราช 1235 และได้โปรดเกล้าตั้งสำหรับหอรัษฎากรพิพัฒน์ขึ้น เพื่อเป็นสำนักงานกลางสำหรับเก็บเงินผลประโยชน์รายได้ภาษีอากรของแผ่นดิน ...

การตั้งหอรัษฎากรพิพัฒน์แสดงให้เห็นถึงการปฏิรูปในด้านใด

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงประกาศตั้งหอรัษฎากรพิพัฒน์ใน วันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2416 เพื่อจัดวางหลักเกณฑ์ระบบการจัดเก็บภาษีอากร ให้เป็นระเบียบมีแบบแผน ควบคุมเจ้าภาษีอากร ให้จัดส่งเงินรายได้แผ่นดินให้ ตรงตามกำหนดเวลา ถ้าผู้ใดละเมิดระเบียบแบบแผนการจัดส่งเงินภาษีอากรจะ ถูกลงโทษอย่างเฉียบขาด โดยทรงแต่งตั้งให้ ...