อุปกรณ์ใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง

หลักการเบื้องต้นของระบบฉีดน้ำมันเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส์

วิธีการผสมอากาศกับน้ำมันเชื้อเพลิง

รถยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์แก็สโซลีน เป็นเครื่องต้นกำลังงาน จะมีวิธีการผสมอากาศกับน้ำมันเชื้อเพลิง 
อยู่ 2 แบบ คือ

1. แบบใช้คาร์บูเรเตอร์ (Carburator)

คาร์บูเรเตอร์เป็นอุปกรณ์สำหรับทำหน้าที่จ่ายส่วนผสมของอากาศและน้ำมันเชื้อเพลิงเข้าสู่กระบอกสูบในอัตราส่วนผสมต่างๆที่เหมาะสมกับสภาวะการทำงานของเครื่องยนต์ แต่เนื่องจากเครื่องยนต์ต้องทำงาน อยู่ภายใต้สภาวะต่าง ๆ ที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาตามสภาพการขับขี่ของรถยนต์ซึ่งคาร์บูเรเตอร์ ไม่สามารถที่จะจ่ายเชื้อเพลิงได้อย่างแม่นยำและมีประสิทธิภาพ เพราะมีข้อจำกัด บางประการ เช่น อัตราเร่งล่าช้าเพราะเชื้อเพลิง ผสมกันที่คอคอด (Venturi) จากนั้นจึงไหลเข้าไปในกระบอกสูบ และในกระบอกสูบที่มีความยาวของท่อร่วมไอดีมาก ก็ได้รับปริมาณเชื้อเพลิงไม่เท่ากัน เป็นต้น

อุปกรณ์ใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง


2. แบบใช้หัวฉีดควบคุมด้วยอิเล็กทรอนิกส์ หรือเรียกว่า ระบบ EFI (Electronic Fuel Injection 

System)
ระบบฉีดน้ำมันเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Fuel Injection System) หรือเรียกว่าระบบ EFI คือการจ่ายน้ำมันเชื้อเพลิงให้กับเครื่องยนต์โดยใช้หัวฉีด (Injector) ที่มีการควบคุมการทำงานด้วยหน่วย
ควบคุมอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Control Unit) หรือเรียกว่า กล่อง ECU 

หลักการของระบบฉีด จะใช้หัวฉีด (injector) ทำการฉีดน้ ามันเชื้อเพลิงเข้าไปผสมกับอากาศในท่อ

ร่วมไอดี (intake manifold) หรือ ท่อไอดี (intake tube) ดังแสดงในภาพที่ 1.2

อุปกรณ์ใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง

เครื่องยนต์ที่ใช้ระบบน้ำมันเชื้อเพลิง โดยทั่วไปจะมีหัวฉีดกระบอกสูบละ 1 ตัว (ยกเว้นเครื่องยนต์บางรุ่นที่มีการฉีดน้ำมันที่ท่อร่วมไอดี) และหัวฉีดจะทำการฉีดน้ำมันเชื้อเพลิง ให้เป็นฝอยละอองเข้ากระบอกสูบของเครื่องยนต์ พร้อมกันทุกสูบ หรือมีการฉีดเป็นกลุ่ม หรือฉีดเรียงตามลำดับการจุดระเบิด หรือฉีดหลายรูปแบบผสมกัน น้ำมันเชื้อเพลิงที่ถูกฉีดออกจากหัวฉีดแต่ละตัวจะมีปริมาณที่เท่ากัน และมีความเหมาะสมกับปริมาณอากาศที่ถูกดูดเข้ากระบอกสูบ และสภาวะการทำงานของเครื่องยนต์ ทำให้เครื่องยนต์เผาไหม้ได้สมบูรณ์ ประหยัดน้ำมันเชื้อเพลิง และช่วยลดมลพิษ

หลักการทำงานเบื้องต้น

น้ำมันเชื้อเพลิงจากถังจะถูกทำให้มีแรงดันสูงขึ้นประมาณ 2.5 Kg/cm2 หรือ 2.5 bar ด้วยปั๊มไฟฟ้า เมื่อสัญญาณการฉีดจากหน่วยควบคุมอิเล็กทรอนิกส์ป้อนไปยังหัวฉีด น้ำมันที่มีความดันจะถูกฉีดเข้าไปผสมกับอากาศในท่อไอดี แล้วถูกดูดเข้ากระบอกสูบเครื่องยนต์ ปริมาณน้ำมันที่ถูกฉีด จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับระยะเวลาในการป้อนกระแสไฟฟ้าเข้าหัวฉีด (สัญญาณการฉีด) โดยหน่วยควบคุมอิเล็กทรอนิกส์จะใช้เซ็นเซอร์ต่าง ๆ ตรวจจับสภาพการทำงานของเครื่องยนต์ เพื่อคำนวณปริมาณการฉีดน้ำมันเชื้อเพลิงและสั่งหัวฉีด ให้ฉีดเชื้อเพลิงให้เหมาะสม

อุปกรณ์ใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง

การควบคุมระยะเวลาในการฉีดน้ำมันเชื้อเพลิง

ในระบบ EFI จะมีการควบคุมระยะเวลาในการฉีดของหัวฉีด เป็น 2 ส่วนด้วยกัน คือการควบคุมระยะเวลาในการฉีดพื้นฐาน และการเพิ่มระยะเวลาในการฉีดตามสภาวะการทำงานของเครื่องยนต์ โดยมีรายละเอียดของการควบคุม ดังนี้

1. การควบคุมระยะเวลาในการฉีดพื้นฐาน

จากรูป หลักการเบื้องต้นของระบบ EFI แบบ D- Jetronic คอมพิวเตอร์จะได้รับสัญญาณไฟฟ้าจากตัวตรวจจับสุญญากาศ และสัญญาณความเร็วรอบของเครื่องยนต์ และระบบ EFI แบบ L- Jetronic คอมพิวเตอร์จะได้รับสัญญาณไฟฟ้าจากมาตรวัดการไหลของอากาศและสัญญาณความเร็วรอบของเครื่องยนต์ สัญญาณไฟฟ้าทั้งสองที่ป้อนคอมพิวเตอร์ จะเป็นสัญญาณที่ใช้สำหรับกำหนดระยะเวลาในการฉีดน้ำมันเชื้อเพลิงของหัวฉีด ระยะเวลาในการฉีดที่ได้จากสัญญาณทั้งสองนี้ จะเรียกว่า ระยะเวลาในการฉีดพื้นฐาน (basic injection time) ซึ่งเป็นระยะเวลาในการฉีดน้ำมันเชื้อเพลิง ที่ได้อัตราส่วนผสมของอากาศและน้ำมันเชื้อเพลิงตามทฤษฎี

หมายเหตุ: สัญญาณความเร็วรอบเครื่องยนต์จะเป็นข้อมูลในการคำนวณปริมาณอากาศต่อรอบกาทำงานของเครื่องยนต์ พร้อมทั้งยังเป็นตัวกำหนดจังหวะและการเริ่มต้นการฉีดน้ำมันเชื้อเพลิงในเครื่องยนต์หัวฉีดรุ่นแรกๆสัญญาณนี้จะถูกต่อจากขั้วลบของคอยล์จุดระเบิด หรือขั้วของจานจ่าย ส่วนเครื่องยนต์หัวฉีดในปัจจุบันจะได้รับสัญญาณความเร็วรอบจากตัวตรวจจับมุมเพลาข้อเหวี่ยง

อุปกรณ์ใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง

2. การเพิ่มระยะเวลาในการฉีดน้ำมันเชื้อเพลิง

เนื่องจากเครื่องยนต์ต้องทำงานอยู่ภายใต้สภาวะต่างๆ ที่มีการเปลี่ยนแปลงไปตลอดเวลา ทำให้อัตราส่วนผสมของอากาศและน้ำมันเชื้อเพลิงที่จ่ายให้กับเครื่องยนต์ ต้องมีการเปลี่ยนแปลงไปตามสภาวะการทำงานเหล่านั้นด้วย ซึ่งทำให้อัตราส่วนผสมของอากาศและน้ำมันเชื้อเพลิงตามทฤษฎี ที่ได้จากระยะเวลาในการฉีดพื้นฐานไม่สามารถตอบสนองการทำงานของเครื่องยนต์ในทุกสภาวะได้ ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการแก้ไขระยะเวลาในฉีดน้ำมันเชื้อเพลิงให้มากขึ้น เพื่อให้ได้อัตราส่วนผสมที่หนาเพียงพอกับความต้องการของเครื่องยนต์ ด้วยเหตุนี้ในระบบ (EFI) จะมีอุปกรณ์สำหรับตรวจสอบสภาวะการทำงานของเครื่องยนต์ที่เรียกว่า (Sensor) เป็นตัวส่งข้อมูลการทำงานของเครื่องยนต์ในลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าในระบบคอมพิวเตอร์ ให้เพิ่มระยะเวลาในการฉีดน้ำมันเชื้อเพลิงของหัวฉีดให้เหมาะสมกับสภาวะการทำงานต่างๆ ที่เกิดขึ้น

อุปกรณ์ใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง

ชนิดของระบบฉีดน้ ำมันเชื้อเพลิง

ระบบฉีดน้ำมันเชื้อเพลิงที่มีใช้อยู่ในรถยนต์โดยทั่วไป จะมีอยู่ 3 แบบคือ 

1.แบบควบคุมด้วยกลไก (K-Jetronic )

2.เเบบกลไกร่วมกับเเบบอิเล็กทรอนิกส์(KE-Jetronic )

3.แบบควบคุมด้วยอิเล็กทรอนิกส์( D-Jetronic and L-Jetronic )

ระบบฉีดเชื้อเพลิงแก๊สโซลีนแบบ K และ KE แบ่งพื้นที่การทำงานออกเป็น 3 หน้าที่ใหญ่ ๆ ได้แก่

1. การวัดการไหลของอากาศ (air flow measurement) จำนวนของอากาศที่ถูกดูดเข้าไปในเครื่องยนต์ถูกควบคุมโดยลิ้นปีกผีเสื้อ และวัดปริมาณของอากาศโดยเซนเซอร์วัดการไหลของอากาศ (air – flow sensor )

2. การจ่ายเชื้อเพลิง (fuel supply) เชื้อเพลิงจะถูกดูดจากถังเชื้อเพลิงโดยปั๊มเชื้อเพลิงไฟฟ้าไปยังจานจ่ายเชื้อเพลิง ผ่านไปยังกล่องเก็บสะสมเชื้อเพลิง และชุดกรองเชื้อเพลิง จานจ่ายเชื้อเพลิงจะจัดแบ่ง

ปริมาณของเชื้อเพลิงไปยังลิ้นหัวฉีดเชื้อเพลิงในท่อร่วมไอดีของกระบอกสูบ

3. การแบ่งจ่ายเชื้อเพลิง (fuel induction) จำนวนของอากาศที่ถูกดูดเข้าไปในเครื่องยนต์จะสอดคล้องกับตำแหน่งของแผ่นปีกผีเสื้อ และเพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานสำหรับการตรวจวัดเชื้อเพลิงที่เข้าไปในแต่ละกระบอกสูบ จำนวนของอากาศที่ถูกดูดโดยเครื่องยนต์จะถูกตรวจวัดโดยเซนเซอร์วัดการไหลของอากาศ และเชื้อเพลิงจะถูกควบคุมโดยจานจ่ายเชื้อเพลิง

อุปกรณ์ใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง

สำหรับ ระบบฉีดน้ำมันเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส์ ที่ใช้กันมากในเครื่องยนต์แก๊สโซลีนในปัจจุบัน จะมีอยู่ 

2 แบบใหญ่ ๆ ด้วยกัน โดยจะมีความแตกต่างกันตามวิธีของปริมาณอากาศที่บรรจุเข้ากระบอกสูบ คือ

1. ระบบฉีดน้ำมันเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส์ แบบ D- Jetronic หรือ EFI แบบ D

ระบบ EFI แบบ D- Jetronic เป็น ระบบฉีดที่มีการควบคุมระยะเวลาในการฉีดน้ ามันเชื้อเพลิงของหัวฉีด โดยวิธีการวัดแรงดันของอากาศในท่อร่วมไอดี ด้ายตัวตรวจจับสุญญากาศแล้วเปลี่ยนเป็นสัญญาณไฟฟ้าป้อนเข้าคอมพิวเตอร์ เพื่อกำหนดระยะเวลาในการฉีดของหัวฉีด ที่เหมาะสมกับปริมาณอากาศที่บรรจุเข้ากระบอกสูบ

อุปกรณ์ใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง

2. ระบบฉีดน้ำมันเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส์แบบ L- Jetronic หรือ EFI แบบ L

ระบบ EFI แบบ L- Jetronic เป็นระบบที่พัฒนามาจากระบบ EFI แบบ D- Jetronic ซึ่งมีการวัด

ปริมาณอากาศที่ไหลเข้ากระบอกสูบจากแรงดันอากาศในท่อร่วมไอดี แต่เนื่องจากปริมาตรกับแรงดันของอากาศมีสัดส่วนแปรผันไม่คงที่แน่นอน กล่าวคือ ปริมาตรของอากาศไม่แปรผันตรงกีบแรงดัน ทำให้การวัดปริมาณอากาศจากค่าแรงดันไม่ค่อยเที่ยวตรง จึงเป็นเหตุให้คอมพิวเตอร์กำหนดระยะเวลาในการฉีดน้ำมันเชื้อเพลิงขาดความเที่ยงตรงไปด้วย

จากเหตุผลดังกล่าว ในระบบฉีดออก L- Jetronic จะทำการวัดปริมาณอากาศที่ถูกดูดเข้ากระบอกสูบโดยตรง โดยใช้มาตรวัดการไหลของอากาศ(air flow meter) เป็นตัวตรวจจับปริมาณอากาศที่ถูกดูดเข้ากระบอกสูบ แล้วเปลี่ยนเป็นสัญญาณไฟฟ้าป้อนคอมพิวเตอร์ เพื่อกำหนดระยะเวลาในการฉีดน้ำมันเชื้อเพลิงที่เหมาะสม

อุปกรณ์ใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง

ระบบฉีดเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส์ เป็นส่วนประกอบเพียงส่วนหนึ่งของระบบควบคุมเครื่องยนต์ (Engine 

Control System) ในปัจจุบันระบบควบคุมเครื่องยนต์มีชื่อเรียกต่างกัน เช่น

โตโยต้า เรียกระบบ TCCS (Toyota Computer Controlled System)

นิสสัน เรียกระบบ ECCS (Electronic Concentrated engine Control System)

มิตซูบิชิ เรียกระบบ MPI (Multi Point Injection)

ฮอนด้า เรียกระบบ PGM-FI (Programmed Fuel Injection System)

ลักษณะกำรฉีดน้ำมันเชื้อเพลิง

แบ่งตามลักษณะการฉีดเชื้อเพลิงได้ 2 แบบ

1. การฉีดเชื้อเพลิงแบบจุดเดียว (Throttle Body Fuel Injection : TBI)

การฉีดเชื้อเพลิงแบบจุดเดียว นี้หัวฉีดจะติดตั้งอยู่ที่เรือนลิ้นเร่ง อาจมีหัวเดียวหรือ สองหัว ก็ได้ขึ้นอยู่กับการออกแบบ 

อุปกรณ์ใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง

2. การฉีดเชื้อเพลิงแบบหลายจุด (Multi Point Injection : MPI)

การฉีดเชื้อเพลิงแบบหลายจุดนี้ หัวฉีดจะถูกติดตั้งอยู่ที่หน้าลิ้นไอดีหรือช่องไอดี (Port Fuel Injection : PFI) หรือติดตั้งอยู่ที่ฝาสูบ บางครั้งเรียกว่า การฉีดเชื้อเพลิงเข้าไปในห้องเผาไหม้โดยตรง (Gasoline Direct Injection : GDI) แบ่งออกดังนี้

อุปกรณ์ใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง

รูปแบบกำรฉีดน้ำมันเชื้อเพลิง

1. แบบฉีดพร้อมกันหมดทุกสูบ (Simultaneous Injection) (C)

เมื่อเพลาข้อเหวี่ยงหมุน 1 รอบ (360 องศา) หัวฉีดทุกสูบ จะฉีดน้ำมันเชื้อเพลิงพร้อมกันหมด เมื่อเพลาข้อเหวี่ยงหมุนไปอีก 1 รอบ หัวฉีดทุกสูบก็จะฉีดน้ ามันเชื้อเพลิงพร้อมกันอีก

อุปกรณ์ใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง

2. แบบฉีดพร้อมกันเป็นกลุ่ม (Group Injection) แบ่งออกเป็น

2.1 แบบ 2 กลุ่ม กลุ่มละ 2 หัว ใช้กับเครื่องยนต์ 4 สูบ เช่นเรื่องยนต์ 4A-FE,3S-FE

2.2 แบบ 2 กลุ่ม กลุ่มละ 3 หัว ใช้กับเครื่องยนต์ 6 สูบ

2.3 แบบ 2 กลุ่ม กลุ่มละ 4 หัว ใช้กับเครื่องยนต์ 8 สูบ

อุปกรณ์ใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง

3. แบบฉีดอิสระหรือฉีดตามลำดับการจุดระเบิด (Sequential Injection or Multi Point Injection)

การฉีดแบบนี้ จะฉีดน้ำมันครบทุกสูบ เมื่อเพลาข้อเหวี่ยง หมุน 2 รอบ และจะช่วยให้ประหยัดน้ำมันเชื้อเพลิง พร้อมทั้งสมรรถนะเครื่องยนต์ดีขึ้น 

อุปกรณ์ใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง

ขอบคุณข้อมูลจาก http://www.bpic.ac.th/ 

อุปกรณ์ใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง

อุปกรณ์ใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง

อุปกรณ์ใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง

อุปกรณ์ใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง

อุปกรณ์ใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง

อุปกรณ์ใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง

อุปกรณ์ใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง

อุปกรณ์ใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง

อุปกรณ์ใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง

อุปกรณ์ใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง

อุปกรณ์ใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง

อุปกรณ์ใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง

อุปกรณ์ใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง

อุปกรณ์ใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง

อุปกรณ์ใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง

อุปกรณ์ใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง

อุปกรณ์ใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง

ขอบคุณข้อมูลจาก http://teched.rmutp.ac.th/

http://pantip.com/topic/31070958

สำหรับผู้เริ่มต้นเราขอแนะนำ 

1

.SM-TECH OBD WiFi เครื่องสแกนรถยนต์ต่อกับโทรศัพท์สมาร์ทโฟน ANDROID IOS ลบไฟโชว์ ดูค่าสด เป็นเกจดิจิตอล เกจ HUD ในตัว ราคาพิเศษเหลือเพียง 999 บาท
https://s.lazada.co.th/s.ZQsFa
อุปกรณ์ใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง


2.SM-TECH MS 309 เครื่องมือวิเคราะห์รถยนต์ อ่าน-ลบ โค้ดรถยนต์ (ไฟรูปเครื่องยนต์) ใช้ได้กับรถเกือบทุกรุ่นทุกยี่ห้อ ใช้งานง่าย ราคา 1,450 บาท (ขายดีที่สุด)
https://s.lazada.co.th/s.ZQDaM
อุปกรณ์ใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง


3.SM 700JP เครื่องสแกนรถยนต์ OBD2 เครื่องแท้อัพเดทออนไลน์ได้ เข้า VIGO ได้ อ่าน-ลบโค้ต ดูค่า LIVE DATA ได้ ราคา 3,490 บาท
https://s.lazada.co.th/s.ZQFwC
อุปกรณ์ใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง

4.SM AD610 เครื่องลบไฟเตือนหน้าปัดรถยนต์ 5 ระบบ อ่าน-ลบ เครื่อง เกียร์ ABS SRS SAS ไฟโชว์ ดูค่าการทำงานเครื่องยนต์ ราคา 12,500 บาท

ผ่อนกับบริษัทดาวน์ 6,000 บาท ผ่อน 3,250 x 2 งวด
https://www.guydamaxcanic.com/p/53
อุปกรณ์ใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง

สามารถสั่งซื้อออนไลน์ได้ที่ LAZADA คลิ๊ก-> https://s.lazada.co.th/s.Z9amG

สำหรับช่างเราแนะนำเครื่องมือระดับโปร

1.SM-TECH มิวคาร์

 เครื่องสแกนรถยนต์ ระดับโปร ราคาประหยัด 115 ยี่ห้อ 
ราคาพิเศษเหลือเพียง 12,000 บาท
ดาวน์ 6,000.- ผ่อน 2,000 x 3 เดือน
https://www.guydamaxcanic.com/p/57

อุปกรณ์ใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง

2

.
SM-TECH MINI เครื่องลบไฟโชว์รถยนต์ ระดับศูนย์บริการ 49 ยี่ห้อ
ราคาพิเศษเหลือเพียง 19,000 บาท
ดาวน์ 10,000.- ผ่อน 3,000 x 3 เดือน
https://www.guydamaxcanic.com/p/56
อุปกรณ์ใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง


3.ALL SCAN อ่านโค๊ดOBD รถยนต์ และรถบรรทุก UPGRADE เครื่องสแกนรถครบชุดพร้อม computer พร้อมใช้งานราคาช่วงแนะนำ 19,900 บาท
ดาวน์ 7,900 บาท ผ่อน 3,000 x 4 งวด
https://www.guydamaxcanic.com/p/15
อุปกรณ์ใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง


4.NEW SM-TECH ALL CAR 
จากราคา 90,000 เหลือ 35,000 บาท
ดาวน์ 15,000.- ผ่อน 5,000 x 4 เดือน
จ่ายสดเหลือ 25,000.- สินค้าโปรมีจำนวนจำกัด
รุ่นนี้ TOP สุด สามารถใช้งานสู้เครื่องระดับเป็นแสนได้สบาย (ขายดีที่สุด)
https://www.guydamaxcanic.com/p/45
อุปกรณ์ใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง

 (ผ่อนกับบริษัท ติดบูโรก็ผ่อนได้) 5.SM-TECH เครื่องทดสอบหัวฉีด ล้างหัวฉีด เบนซิน เครื่องทดสอบ-ล้าง หัวฉีดเบนซิน 6 สูบ คืนทุนได้ภายใน 20 คัน พร้อมอุปกรณ์ทำรถได้ 50 คัน
จากราคา 120,000 เหลือ 60,000 บาท
ดาวน์ XX,000.- ผ่อน 10,000 x 3 เดือน
https://www.guydamaxcanic.com/p/14


*มีบริการ ทดสอบ-ล้าง-ซ่อม หัวฉีดเบนซิน ตัน รั่ว เสีย
 ซ่อมได้ไม่ต้องเปลียนใหม่

ค่าบริการ ล้างและทดสอบ ราคาโปรโมชั่นพิเศษ เพียง 500/หัว รับประกัน 3 เดือน
พิเศษ สำหรับอู่ซ่อมรถ โทรสอบถาม
https://www.guydamaxcanic.com/p/526.บริการตรวจเช็คสภาพรถมือสอง 10 ขั้นตอน ตรวจอย่างละเอียดตั้งแต่ภายนอกถึงภายใน ด้วยเครื่องมือพิเศษ และผู้มีประสบการณ์ พร้อมให้คำแนะนำเกี่ยวกับการใช้รถมือสอง 
พิเศษ สำหรับผู้แชร์หน้าเว็บไซด์ หรือหน้าเพจ จาก 2,500 บาท เหลือ 2,000 บาท/คัน
https://www.guydamaxcanic.com/p/47

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่


โทร. 099-454-6461หรือที่ 

LINE ID : 0994546461

อุปกรณ์ใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง

สำหรับมือถือคลิ๊กที่ลิ้ง http://line.me/ti/p/mA05YjBCVR
   

อุปกรณ์ใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง

บริษัท ไกยด้า แมคคานิคส์ จำกัด

42/19 ซ.โชคชัยร่วมมิตร ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพ 10900

 
โทรศัพท์: 02-277-7704 แฟกซ์: 02-277-9905

หัวฉีด,หัวฉีดตัน,ล้างหัวฉีด,E85,E20,LPG,NGV,ซ่อมหัวฉีด,ทดสอบหัวฉีด,เร่งไม่ขึ้น,เครื่องสั่น หัวฉีด,หัวฉีดตัน,ล้างหัวฉีด,E85,E20,LPG,NGV,ซ่อมหัวฉีด,ทดสอบหัวฉีด,เร่งไม่ขึ้น,เครื่องสั่น หัวฉีด,หัวฉีดตัน,ล้างหัวฉีด,E85,E20,LPG,NGV,ซ่อมหัวฉีด,ทดสอบหัวฉีด,เร่งไม่ขึ้น,เครื่องสั่น หัวฉีด,หัวฉีดตัน,ล้างหัวฉีด,E85,E20,LPG,NGV,ซ่อมหัวฉีด,ทดสอบหัวฉีด,เร่งไม่ขึ้น,เครื่องสั่น หัวฉีด,หัวฉีดตัน,ล้างหัวฉีด,E85,E20,LPG,NGV,ซ่อมหัวฉีด,ทดสอบหัวฉีด,เร่งไม่ขึ้น,เครื่องสั่น หัวฉีด,หัวฉีดตัน,ล้างหัวฉีด,E85,E20,LPG,NGV,ซ่อมหัวฉีด,ทดสอบหัวฉีด,เร่งไม่ขึ้น,เครื่องสั่น หัวฉีด,หัวฉีดตัน,ล้างหัวฉีด,E85,E20,LPG,NGV,ซ่อมหัวฉีด,ทดสอบหัวฉีด,เร่งไม่ขึ้น,เครื่องสั่น หัวฉีด,หัวฉีดตัน,ล้างหัวฉีด,E85,E20,LPG,NGV,ซ่อมหัวฉีด,ทดสอบหัวฉีด,เร่งไม่ขึ้น,เครื่องสั่น

ปั๊มน้ํามันเชื้อเพลิง หน้าที่อะไร

ปั๊มน ้ามันเชื้อเพลิงมีหน้าที่ดูดน ้ามันเชื้อเพลิงจากถังส่งไปยังหัวฉีด ภายใต้ความดันและมีปริมาณที่ พอเพียงต่อความต้องการสูงสุดของเครื่องยนต์ ปั๊มน ้ามันเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์ฉีดเชื้อเพลิงด้วยอิเล็กทรอนิกส์ จะมีอยู่ 2 แบบคือ ปั๊มแบบลูกกลิ้ง และปั๊มแบบใบพัด

ระบบน้ำมันเชื้อเพลิงแบบใดใช้อิเล็กทรอนิกส์ควบคุมการทำงาน

ระบบฉีดน้ำมันเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Fuel Injection System) หรือเรียกว่าระบบ EFI คือการจ่ายน้ำมันเชื้อเพลิงให้กับเครื่องยนต์โดยใช้หัวฉีด (Injector) ที่มีการควบคุมการทำงานด้วยหน่วย ควบคุมอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Control Unit) หรือเรียกว่า กล่อง ECU.

อุปกรณ์ระบบ EFI มีอะไรบ้าง

ส่วนประกอบของระบบ EFI มีอยู่3 ส่วน 1.ระบบเชื้อเพลิง (Fuel system) การสั่งจ่ายเชื้อเพลิง ระบบเชื้อเพลิงประกอบไปด้วย 1.ถังน้้ามันเชื้อเพลิง 2.ปั๊มส่งน้้ามันเชื้อเพลิง 3.กรองน้้ามันเชื้อเพลิง 4.หัวฉีดสตาร์ท 5.ตัวควบคุมแรงดันเชื้อเพลิง 6.หัวฉีด Page 3 2. ระบบป้อนอากาศ (Air induction system) ระบบอากาศเข้าเครื่องยนต์ 1. ...

ปั๊มแบบกลไกทํางานโดยใช้อะไรเป็นตัวขับ

ตัวปั๊ม (Pump Body) เป็นที่ติดตั้งของกลไกสร้างแรงดันน้ำมันเชื้อเพลิงและกลไกควบคุมปริมาณน้ำมันเชื้อเพลิงที่ถูกขับโดยเพลาลูกเบี้ยวและส่งไปให้กับกระบอกสูบของแต่ละสูบ