ตัวแปรในการมองเห็นของ จาคส์ เบอร์ติน ในข้อใดที่ใช้ในการบ่งปริมาณได้อย่างชัดเจน

ว 32109 วิทยาการคานวณพ้นื ฐาน ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียนกาฬสนิ ธุ์พทิ ยาสรรพ์ หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 การทาขอ้ มลู ให้เปน็ ภาพ

Dกatาaรvisทuaาlizขatอ้ionมูลใหเ้ ปน็ ภาพอยา่ งเหมาะสม หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 2 ข้อมูลที่เราได้มาน้ัน ส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของจานวนและมีจานวนมาก แม้ว่า การตอบคาถามท่ีเราสนใจ หรือสิ่งท่ีเราอยากจะนาเสนอ จะมีอยู่แล้วในข้อมูล เหล่าน้นั แตย่ ากที่จะทาความเข้าใจ หรือไม่อาจสื่อสารได้โดยง่าย สมมติว่าบริษัทนา เท่ียวแห่งหนึ่งต้องการท่ีจะเตรียมความพร้อมเพ่ือรับมือนักท่องเที่ยวต่างชาติที่จะ เดินทางมาประเทศไทย เช่น การเตรียมไกด์นาเท่ียว การเตรียมสถานท่ีท่องเท่ียวท่ี เหมาะสมกับชาติต่าง ๆ ทางบริษัทจึงนาข้อมูลจานวนนักท่องเท่ียวจากสานักงาน สถิตแิ หง่ ชาติ ดังตาราง มาวิเคราะหเ์ พอ่ื กาหนดนโยบาย ภมู ิภาค พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555 พ.ศ.2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ.2558 เอเชยี ตะวันออก 10,345,866 12,525,214 15,911,375 14,603,825 19,908,785 ยโุ รป 5,101,406 5,650,619 6,305,945 6,161,893 5,631,438 เอเชยี ใต้ 1,158,092 1,286,861 1,347,585 1,239,183 1,404,271 อเมริกา 952,519 1,083,433 1,166,633 1,099,709 1,235,468 โอเชยี เนยี 933,534 1,046,755 1,021,936 942,706 922,977 ตะวันออกกลาง 601,146 605,477 630,243 597,892 658,278 แอฟริกา 137,907 155,544 163,008 164,475 161,968 19,230,470 22,353,903 26,546,725 24,809,683 29,923,185 รวม จะเห็นได้ว่า การตอบคาถามต่าง ๆ เช่น นักท่องเที่ยวภูมิภาคไหนมีมากท่ีสุด ภูมิภาคไหนมีการเพิ่มข้ึนสูงสุด หรือคาถามอ่ืน ๆ เพื่อช่วยในการกาหนดนโยบาย บริษัท อาจเป็นส่ิงที่ทาได้ยาก แต่การนาเสนอข้อมูลด้วยภาพ จะช่วยตอบคาถาม หรอื นาเสนอประเด็นต่าง ๆ ได้รวดเรว็ และชัดเจน 1

ว 32109 วทิ ยาการคานวณพืน้ ฐาน แผนภูมริ ูปวงกลม (pie chart) 1%2% แผนภูมิวงกลม สร้างโดยการ 3% เขียนวงกลมและแบ่งวงกลมออกเป็น 4% สัดส่วนตามจานวนข้อมูล ซึ่งควรเป็น 5% ข้อมูลที่มีจานวนกลุ่มไม่มากนัก แผนภูมิ รูปวงกลมสามารถแสดงความสัมพันธ์เชิง 19% 66 ปรมิ าณแบบสดั สว่ นรอ้ ยละได้เป็นอย่างดี % ดังตัวอย่างในรูปท่ีแสดงสัดส่วนปริมาณ นักท่องเท่ียวจากภูมิภาคต่าง ๆ ในปี เอเชียตะวันออก ยโุ รป เอเชียใต้ 2558 จะเห็นได้ว่า นักท่องเท่ียวจาก อเมริกา โอเชยี เนยี ตะวนั ออกกลาง ภูมิภาคเอเชียตะวันออก มีสัดส่วน แอฟรกิ า นักทอ่ งเทยี่ วจากภมู ิภาคอนื่ ๆ รวมกนั รปู แสดงสัดสว่ นปรมิ าณนกั ทอ่ งเที่ยวจากภมู ภิ าคตา่ ง ๆ นอกจากแผนภูมิรูปวงกลมแล้ว ยัง เอเชยี ตะวันออก ยุโรป มีแผนภูมิโดนัทท่ีเกิดจากการนาแผนภูมิ เอเชยี ใต้ อเมริกา วงกลมมาวางซ้อนกัน ช่วยให้เห็นความ เปลี่ยนแปลงของสัดส่วนได้เป็นอย่างดี 2พ5.5ศ8. รปู แสดงสัดส่วนของนักทอ่ งเที่ยวในปี พ.ศ. 2557 (วงใน) และ พ.ศ. 2558 (วงนอก) 2พ5.5ศ7. ทาให้เห็นได้ชัดว่า นักท่องเท่ียวจาก ภูมิภาคเอเชียตะวันออก มีสัดส่วนเพ่ิมขึ้น รปู แสดงสัดสว่ นปรมิ าณนกั ทอ่ งเท่ียวในปี พ.ศ. 2557 แต่ความแตกต่างของสัดส่วนนักท่องเที่ยว และ พ.ศ. 2558 จากภูมิภาคอื่นจะเห็นได้ยาก เน่ืองจาก จุดเร่ิมต้นไม่ตรงกัน ดังนั้น หากต้องการ เปรียบเทียบที่ชัดเจน เราอาจต้องใช้การ นาเสนอในรปู แบบอ่ืน เช่น แผนภมู ิแทง่ 2

ว 32109 วิทยาการคานวณพน้ื ฐาน แผนภูมิแทง่ (bar chart) แ ผ น ภู มิ แ ท่ ง แ ส ด ง ค ว า ม 25,000,000 แตกต่างในเชิงปริมาณได้ชัดเจน จึง ใช้เพื่อแสดงปริมาณข้อมูลแต่ละส่วน 20,000,000 แผนภูมิแท่งจะเรียงข้อมูลจากซ้ายไป ขวา ทาให้เห็นการเรียงตัวในเชิง 15,000,000 ล า ดั บ โ ด ย ป ก ติ นิ ย ม เ รี ย ง ต า ม แนวนอน ดังรูปที่แสดงปริมาณ 10,000,000 นั ก ท่ อ ง เ ท่ี ย ว จ า ก ภู มิ ภ า ค เ อ เ ชี ย ตะวันออกและยุโรปจากปี พ.ศ. 5,000,000 2554 ถึง พ.ศ. 2558 0 รปู แสดงปรมิ าณนกั ทอ่ งเทยี่ วจากภูมภิ าคเอเชียตะวนั ออก และยุโรป จากปี พ.ศ. 2554 ถงึ พ.ศ. 2558 พ.ศ.2554 พ.ศ. 2555 พ.ศ.2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ.2558 เอเชียตะวันออก ยโุ รป จากแผนภูมิแทง่ จะเห็นชัดว่า จานวนนักทอ่ งเทีย่ วจากเอเชยี ตะวนั ออก มี มากกว่าจานวนนักทอ่ งเทยี่ วจากยโุ รปประมาณ 1 เท่า ในปี 2554 และมจี านวนเพิ่มขึน้ อยา่ งตอ่ เนอื่ งในขณะที่จานวนนกั ทอ่ งเทย่ี วจากภูมภิ าคยโุ รป มจี านวนค่อนขา้ งคงทจ่ี าก ข้อมูลในรูป บริษทั อาจมคี วามสนใจนักท่องเที่ยวทม่ี าจากภูมภิ าคเอเชียตะวันออก จึงไป หาขอ้ มูลเพม่ิ เตมิ เกีย่ วกับจานวนนกั ท่องเทีย่ วแยกตามประเทศ ดงั ตาราง ซ่ึงจะนามา วิเคราะหแ์ ละนาเสนอในรปู แบบที่เหมาะสมต่อไป ภูมิภาค/ พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555 พ.ศ.2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ.2558 ประเทศ กลมุ่ อาเซียน 5,594,577 6,281,153 7,282,266 6,641,772 7,920,481 จนี 1,721,247 2,786,860 4,637,335 4,636,298 7,936,795 ฮอ่ งกง 411,834 473,666 588,335 483,131 669,617 ญี่ปนุ่ 1,127,893 1,373,716 1,1536,425 1,267,886 1,381,702 เกาหลี 1,006,283 1,163,619 1,295,342 1,122,566 1,373,045 ไตห้ วัน 447,610 394,225 502,176 394,149 552,699 อ่นื ๆ 36,422 51,975 69,496 58,023 47,446 3

ว 32109 วิทยาการคานวณพน้ื ฐาน กราฟเส้น (line graph) 9,000,000 ก ร า ฟ เ ส้ น แ ส ด ง มิ ติ ข อ ง ก า ร 8,000,000 เปล่ียนแปลงได้ดี ใช้พ้ืนท่ีในการแสดง 7,000,000 ข้อมูลแต่ละรายการน้อยกว่าแผนภูมิ 6,000,000 แท่งมาก ทาให้นาเสนอจานวนรายการ 5,000,000 ข้อมูลได้มากกว่า ดังรูปแสดงปริมาณ 4,000,000 แ ล ะ ก า ร เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง ข อ ง จ า น ว น 3,000,000 นักท่องเที่ยวของข้อมูลในตารางในหน้า 2,000,000 3 ซึ่งแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าอัตรา 1,000,000 การเพิ่มของนักท่องเที่ยวจากจีน และ กล่มุ อาเซียนสูงกวา่ ประเทศอนื่ ๆ 0 จากข้อมูล จะเห็นได้ว่ากลุ่ม พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555 พ.ศ.2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ.2558 ประเทศอาเซียนและประเทศจีนน้ัน นอกจากจะมีปริมาณนักท่องเที่ยวมาก รปู แสดงปรมิ าณและการเปลยี่ นแปลงของจานวน แล้ว ยงั มีอัตราการเพิ่มสงู อีกด้วย นกั ทอ่ งเทีย่ วของขอ้ มูลในตารางหนา้ 3 แผนภาพการกระจาย (scatter plot) แผนภาพการกระจาย 9,000,000 12345 6 นอกจากจะแสดงการกระจายของ 8,000,000 ข้อมูลแล้ว ยังสามารถแสดงการ 7,000,000 รูปแสดงปริมาณและการเปลย่ี นแปลงของจานวน เปรียบเทียบได้ดี จากรูป จะเห็น 6,000,000 นักทอ่ งเทยี่ วของขอ้ มลู ในตารางหน้า 3 ไ ด้ ว่ า ป ริ ม า ณ แ ล ะ ก า ร 5,000,000 เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ข อ ง จ า น ว น 4,000,000 นักท่องเที่ยวกลุ่มประเทศอาเซียน 3,000,000 และประเทศจีนน้ันนอกจากจะมี 2,000,000 ปรมิ าณนักทอ่ งเทีย่ วมากแล้ว ยังมี 1,000,000 อตั ราการเพม่ิ สงู อีกดว้ ย 0 0 4

ว 32109 วิทยาการคานวณพื้นฐาน การเลือกใชภ้ าพ การเลือกใช้แผนภาพใด ไม่ว่าจะเป็น แผนภูมิรูปวงกลม แผนภูมิแท่ง กราฟเส้น และแผนภาพการกระจาย ขึ้นอยู่กับข้อมูลและจุดประสงค์ของการนาเสนอ ซึ่งสามารถ สรุปวิธกี ารใชง้ านที่เหมาะสม สารับแผนภาพแตล่ ะชนิดไดด้ ังตาราง ชนดิ ของแผนภาพ จดุ ประสงค์ของการนาเสนอ แผนภมู ิรูปวงกลม แสดงสดั สว่ นของข้อมูลทม่ี จี านวนกลมุ่ ไม่มากนกั แผนภมู ิแท่ง เปรยี บเทยี บปรมิ าณขอ้ มูลแต่ละรายการ กราฟเส้น แสดงการเปล่ียนแปลงของขอ้ มูลทม่ี คี วามตอ่ เนื่อง แผนภาพการกระจาย แสดงความสมั พนั ธ์ระหวา่ งข้อมลู 2 ชุด 5

ว 32109 วิทยาการคานวณพน้ื ฐาน ตัวแปรในการมองเห็นของ จาคส์ เบอรต์ นิ การนาเสนอข้อมูลให้เป็นภาพท่ีน่าสนใจและเข้าใจได้ง่าย จะใช้หลักการในการ มองเห็นและการรับรู้ของจาคส์ เบอร์ติน (Jacques Bertin) ผู้ริเร่ิมการทาข้อมูลให้เป็น ภาพ (information visualization) โดยได้กาหนดตัวแปรในการมองเห็นไว้ 7 ตัวแปร ดงั ตอ่ ไปนี้ ตาแหน่ง ตาแหนง่ เป็นตวั แปรทช่ี ว่ ยให้จัดกล่มุ ไดด้ ี และยังชว่ ยในการสร้าง ความโดดเดน่ ไดง้ า่ ย นอกจากนี้ การวางรูปภาพตอ่ เนอื่ งกนั ยงั สามารถแสดงใหเ้ หน็ ถึงการเปลี่ยนแปลงในมิติเวลาได้อกี ดว้ ย ขนาด ตวั แปรขนาดใชบ้ ง่ ปรมิ าณไดอ้ ย่างชัดเจน และยงั สามารถใช้ แบง่ กล่มุ หรอื สรา้ งความโดดเดน่ ไดอ้ กี ด้วย สิง่ ทตี่ อ้ งระวงั ในการ แบง่ กล่มุ หรือสร้างความโดดเดน่ ดว้ ยขนาด อาจทาให้ผูร้ ับสารนกึ ไป ถงึ ปรมิ าณท่ีแตกตา่ งกัน รปู รา่ ง มนุษยเ์ รารูส้ กึ ถึงรูปรา่ งที่แตกต่างกันไดด้ ี สามารถนามาช่วย แบง่ กลุ่มหรอื ข้อมูลหรอื สรา้ งความโดดเดน่ ได้ ความเข้ม ความเขม้ เปน็ ตัวแปรที่นิยมใชใ้ นการสรา้ งความโดดเดน่ ไมว่ า่ จะทา ให้ภาพที่ต้องการเขม้ ขน้ึ หรอื ทาใหภ้ าพอ่ืน ๆ จางลง สี ตัวแปรสี นอกจากจะชว่ ยในการจบั กลุม่ และสร้างความโดดเดน่ แล้ว สียังมีผลต่อความรสู้ กึ ของผมู้ องอกี ดว้ ย เชน่ การใช้โทนสรี อ้ น เย็น สี ทีม่ ีความหมาย เชน่ สธี งชาติ ทิศทาง ตวั แปรทิศทาง ช่วยจดั กลุม่ ชว่ ยสรา้ งความโดดเดน่ และมีผลตอ่ ความรู้สกึ ของผู้มองได้ ลวดลาย ตวั แปรลวดลาย นอกจากจะชว่ ยจัดกลมุ่ และสรา้ งความโดดเด่นแลว้ ลวดลายยังมีผลต่ออารมณข์ องผู้มอง เชน่ ลวดลายโค้ง ลวดลายทบึ ลวดลายโปรง่ มผี ลตอ่ ความรสู้ กึ ของผู้มองแตกตา่ งกนั ไป 6

ว 32109 วทิ ยาการคานวณพ้ืนฐาน กระบวนการทาข้อมลู ให้เป็นภาพ เรม่ิ ต้นจากการนาข้อมูลดิบมาแปลงให้อยู่ในรูปของตารางท่ีจะนาไปวิเคราะห์ต่อ ได้ จากน้ันจึงพอจารณาเลือกชนิดของกราฟหรือแผนภูมิ และออกแบบแผนภาพรวมทั้ง องค์ประกอบของภาพ เพื่อให้ตรงกับจุดประสงค์ที่จะนาเสนอ แล้วจึงนาไปให้ กลุ่มเป้าหมายพิจารณา และอธิบาย เพื่อดูว่าตรงกับท่ีเราต้องการจะนาเสนอหรือไม่ ถ้า ไม่ตรง ให้ย้อนกลับกลับไปดูว่าข้อมูลเพียงพอหรือไม่ หรือแผนภาพท่ีนาเสนอเหมาะสม หรือไม่ ซึ่งอาจต้องออกแบบใหม่ และนาไปทดสอบจนกว่ากลุ่มเป้าหมายจะอธิบายภาพ ไดต้ รงตามจดุ ประสงคเ์ พอื่ ใหส้ ื่อสารไดถ้ กู ตอ้ งครบถ้วน การเลือกใช้ตัวแปรในการมองเห็นเพื่อ 2487218401234567890147609856 สร้างภาพจากข้อมูล จะใช้ลักษณะเฉพาะ 0932424872184012345678901476 (Characteristic) ท่ีต้องการเน้น ได้แก่ การสร้าง 0985609324248721840123456789 ความโดดเด่น การจัดกลุ่ม การบ่งปริมาณ และ การลาดับโดยมรี ายละเอยี ด รปู แสดงตัวเลขที่ไมไ่ ดส้ รา้ งความโดดเด่น 1 การสร้างความโดดเด่น (selective) 2487218401234567890147609856 เพื่อให้ผู้รับสารมุ่งตรงไปยังข้อมูลที่ต้องการ 0932424872184012345678901476 ส่ือสารได้อย่างรวดเร็ว เช่น การใช้สีและความ 0985609324248721840123456789 เขม้ ทาใหผ้ รู้ ับสารสามารถหาเลข 3 ได้เร็วกว่ารูป มาก รปู แสดงตัวเลขที่ไมไ่ ดส้ รา้ งความโดดเดน่ โดยการใชส้ ี และลดความเข้มของตวั เองตัวเลขอืน่ 5

ว 32109 วทิ ยาการคานวณพ้ืนฐาน 2 การจัดกลุ่ม (associative) เพ่ือแสดง เมอื งภาคเหนอื เมอื งภาคอีสาน การแบ่งกลุ่มของข้อมูล แสดงข้อมูลการจัดกลุ่ม จังหวัดตามภาคโดยใช้สีต่างกัน และแสดงข้อมูล เมืองหลัก ข้อมลู เมืองรองในแต่ละภาคด้วยความ เมืองภาคกลาง เมอื งภาคตะวันออก เข้มของสีที่ต่างกัน โดยเมืองหลักใช้สีจางกว่า เมอื งภาคใต้ เมืองรอง เพราะแผนภาพนี้ใช้เพื่อประชาสัมพันธ์ โครงการสนับสนุนการทอ่ งเทย่ี ว รปู แสดงการจดั กล่มุ จงั หวัดที่เป็นเมืองหลกั และเมืองรองในแตล่ ะภาค 3 การบ่งปริมาณ (quantitative) เพ่ือให้ ข้นั ตอนการคัดเลือกเข้าแขง่ ขนั ผู้รับสารสนใจและรับรู้ได้อย่างรวดเร็วตรงจุดที่ ต้องการให้เห็น สาหรับการแสดงข้อมูลในเชิง ปริมาณ เช่น ความยาว ความกว้าง หรือขนาด รอบแรกรบั สมัคร 100 คน ของเส้นกราฟ แผนภาพ หรือแผนภูมิจะต้อง รอบท่ี 2 คดั เหลอื 25 คน สะท้อนให้เห็นถึงปริมาณของข้อมูลท่ีเก่ียวข้อง เช่น คนส่วนใหญ่จะพิจารณาว่าเส้นกราฟที่ยาว กว่า แสดงถึงคา่ ที่มากกวา่ เส้นกราฟทส่ี ั้น นอกจากน้ี อาจแสดงข้อมูลเชิงปริมาณ รอบสดุ ทา้ ยเหลอื 9 คน ด้วยขนาดของพ้ืนที่ และสีท่ีต่างกัน เช่น แสดง ตวั อยา่ งการคัดเลือกนักเรียนเข้าแข่งขันออกเป็น รูปแสดงจานวนเชงิ ปริมาณของการคดั เลอื กเข้าแขง่ ขัน 3 กลุ่ม (มิติท่ี 1) โดยส่ีเหล่ียมเล็ก 1รูปแทน นักเรียน 1 คน แต่นักเรียนทั้ง 3 กลุ่มน้ีเป็นคนที่ ซา้ กนั (มติ ทิ ่ี 2) จงึ แสดงด้วยสที ตี่ า่ งกนั 4 การแสดงลาดับ (order) เพ่ือให้ผู้รับ ถกู เลือกซ้ือนอ้ ยทีส่ ุด ไมซ่ อ้ื แนน่ อน Fสารสามารถตีความ และเข้าใจภาพหรือ ขนม แผนภูมิท่ีนาเสนอได้ง่าย มักนิยมใช้การ ความพึงพอใจในรสชาติของขนมร้าน ก ชอบมากทส่ี ุด เรียงลาดับข้อมูลจากน้อยไปมาก หรือมากไป ขนม F 51% น้อย เช่น จัดกลุ่มอายุ และนาเสนอตามลาดับ ขนม E 51% อายจุ ากน้อยไปมาก เริ่มจาก 0-10 ปี 11-21 ปี ขนม D 33% ขนม C 29% ตามลาดับต่อ ๆ ไป โดยทั่วไปแล้ว มนุษย์จะ ขนม B 26% มองภาพหรือตีความข้อมูลจากการมองเห็น ขนม A 22% ลาดับในรูปแบบจากซ้ายไปขวา และบนลงล่าง รปู แสดงจานวนเชงิ ปริมาณของการคดั เลือกเขา้ แขง่ ขนั ในลกั ษณะตวั Z ดังน้ัน หากต้องการเน้นข้อมูล ใดข้อมูลหนึ่งที่สาคัญมากท่ีสุด ให้วางไว้ลาดับ การจัดลาดับของขนมที่ลูกค้าไม่ชอบมากที่สุด จึงไม่ บนสุด ส่วนข้อมูลท่ีเหลือ ให้เรียงลาดับ ถกู เลือกแล้ว กรณนี ี้ แสดงถึงการให้ความสาคัญของ ความสาคัญลดลงตามคา่ ท่ไี ดจ้ ดั กลุม่ ไว้ แสดง ขนมท่ไี มเ่ ป็นทนี่ ยิ มไว้เป็นลาดับแรก 6

ข้อใดต่อไปนี้คือตัวแปรในการมองเห็นและการรับรู้ของจาคส์ เบอร์ติน

ตัวแปรในการมองเห็นของจาคส์ เบอร์ติน การเลือกใช้ตัวแปรในการมองเห็นเพื่อสร้างภาพจากข้อมูล จะใช้ลักษณะเฉพาะ (Characteristic) ที่ต้องการเน้น ได้แก่ การสร้างความโดดเด่น (Selective), การจัดกลุ่ม (Associative), การบ่งปริมาณ (Quantitative) และการแสดงลำดับ (Order)

การนำเสนอข้อมูลในรูปแบบใดที่เป็นการนำเสนอเพื่อเปรียบเทียบข้อมูลได้ชัดเจนที่สุด

การนำเสนอข้อมูลในรูปแผนภูมิ(chart presentation) เป็นวิธีการนำเสนอข้อมูลโดย การใช้แผนภูมิรูปแบบต่าง ๆ แสดงรายละเอียดของข้อมูล สามารถแสดงการเปรียบเทียบที่เห็นได้ ชัดเจนกว่าการนำเสนอโดยใช้บทความหรือตาราง แผนภูมิที่นิยมใช้ในการนำเสนอข้อมูล ได้แก่ แผนภูมิแท่ง (bar chart) แผนภูมิวงกลม (pie chart) และแผนภูมิรูปภาพ (pictograph ...

ข้อใดคือการเล่าเรื่องราวจากข้อมูล

การเล่าเรื่องราวข้อมูลคล้ายกับการเล่าเรื่องโดยมนุษย์ แต่ให้ประโยชน์เพิ่มเติมจากข้อมูลเชิงลึกที่ละเอียดมากยิ่งขึ้นและมีหลักฐานสนับสนุนโดยใช้กราฟและแผนภูมิ การเล่าเรื่องราวข้อมูลคือการอธิบายข้อมูลที่ซับซ้อนให้เข้าใจได้ง่ายๆ เพื่อให้ผู้ชมสามารถเข้าถึงเนื้อหาของคุณได้และสามารถทำการตัดสินใจที่สำคัญได้เร็วขึ้นและมั่นใจมาก ...

ผู้ริเริ่มการทําข้อมูลให้เป็นภาพหรือ (Information Visualization) คือใคร

การนาเสนอข้อมูลด้วยภาพ ไม่ได้จากัดเฉพาะการใช้รูปแบบมาตรฐานที่กล่าวมา เท่านั้น ยังสามารถนาเสนอข้อมูลในรูปแบบอื่นๆ ให้น่าสนใจได้อีก โดยอาศัย การนาเสนอข้อมูลให้เป็นภาพ ตามหลักการมองเห็นและการรับรู้ของจาคส์ เบอร์ ติน (Jacques Bertin) ซึ่งเป็นผู้ริเริ่มการทาข้อมูลให้เป็นภาพ (Information Visualization) โดยกาหนดตัวแปรในการมอง ...

ข้อใดต่อไปนี้คือตัวแปรในการมองเห็นและการรับรู้ของจาคส์ เบอร์ติน การนำเสนอข้อมูลในรูปแบบใดที่เป็นการนำเสนอเพื่อเปรียบเทียบข้อมูลได้ชัดเจนที่สุด ข้อใดคือการเล่าเรื่องราวจากข้อมูล แผนภาพชนิดใดเหมาะกับการนำเสนอข้อมูลน้ำหนักและส่วนสูงของนักเรียนทุกคน เพื่อหาแนวโน้ม หลักการของจาคส์ เบอร์ติน มีกี่ข้อ การเลือกใช้ตัวแปรในการมองเห็นเพื่อสร้างภาพจากข้อมูล จะใช้ลักษณะเฉพาะที่ต้องการเน้น ข้อใดกล่าวถูกต้อง ข้อใดแสดงจุดประสงค์ของการนำเสนอแผนภาพชนิดต่าง ๆ ได้ไม่ถูกต้อง วัตถุประสงค์หลักของการทำข้อมูลให้เป็นภาพ data visualization ในการเลือกใช้แผนภาพและแผนภูมิ เราจะพิจารณาจากสิ่งใดเป็นหลัก จาคส์ เบอร์ติน คือใคร