ข้อใดเรียงลำดับการเขียนรายงานได้ถูกต้อง

1. การสอบถามบุคคลที่มีความรู้เพื่อขอคำแนะนำการทำโครงงาน อยู่ในขั้นตอนใดของการทำโครงงาน 1.  ขั้นคัดเลือกหัวข้อโครงงาน 2.  ขั้นการศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล 3.  ขั้นนำเสนอโครงงาน 4.  ขั้นการลงมือทำโครงงาน 2. ข้อใดเรียงลำดับขั้นตอนการพัฒนาโครงงานได้ถูกต้องที่สุด
          1) ขั้นการศึกษาค้นคว้าจากแหล่งข้อมูล
          2) ขั้นการคัดเลือกหัวข้อโครงงาน
          3) ขั้นการลงมือทำโครงงาน
          4) ขั้นการจัดทำข้อเสนอโครงงาน
          5) ขั้นการนำเสนอโครงงาน
          6) ขั้นการเขียนรายงาน 1.    1 - 2 - 3 - 4 - 5 - 6 2.    1 - 2 - 4 - 5 - 3 - 6 3.    2 - 1 - 3 - 5 - 4 - 6 4.    2 - 1 - 4 - 3 - 6 - 5 3. การทำเค้าโครงของโครงงานไม่ต้องมีหัวข้อใดต่อไปนี้ 1.  หลักการและทฤษฎี 2.  บทคัดย่อ 3.  แผนปฏิบัติงาน 4.  เอกสารอ้างอิง 4. ข้อใดเป็นจุดประสงค์หลักของการนำเสนอและเผยแพร่โครงงาน 1.  เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้อื่นเลียนแบบโครงงานของตน 2.  เพื่อเป็นเกียรติต่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน 3.  เพื่อปฏิบัติตามกฎหมายลิขสิทธิ์เกี่ยวกับการทำโครงงาน 4.  เพื่อให้ผู้อื่นนำโครงงานดังกล่าวไปพัฒนาและใช้ในชีวิตประจำวัน 5. โครงงานระบบจองตั๋วรถไฟ จัดอยู่ในโครงงานประเภทใด 1.  โครงงานที่เกี่ยวกับการสำรวจรวบรวมข้อมูล 2.  โครงงานที่เกี่ยวกับสิ่งประดิษฐ์หรือการพัฒนา 3.  โครงงานที่เกี่ยวกับการทดลอง 4.  โครงงานที่เกี่ยวกับทฤษฎีและหลักการ 6. โครงงานทดลองเรื่องการผลิตก๊าซชีวภาพจากมูลสัตว์ จัดอยู่ในโครงงานประเภทใด 1.  โครงงานที่เกี่ยวกับการสำรวจรวบรวมข้อมูล 2.  โครงงานที่เกี่ยวกับการทดลอง 3.  โครงงานที่เกี่ยวกับทฤษฎีและหลักการ 4.  โครงงานที่เกี่ยวกับสิ่งประดิษฐ์หรือการพัฒนา 7. ข้อใดคือการคัดเลือกหัวข้อโครงงาน 1.  เลือกโดยดูจากประโยชน์ที่จะได้รับเมื่อทำโครงงาน 2.  เลือกจากโครงงานที่ไม่ต้องมีต้นทุนในการทำโครงงาน 3.  เลือกจากโครงงานที่มีผู้ทำแล้ว แล้วไม่สำเร็จ 4.  เลือกจากโครงงานที่เคยมีผู้ทำมาแล้ว แล้วประสบความสำเร็จ 8. ข้อใดเป็นการวางแผนระบบ 1.   การหาสาเหตุปัญหา 2.   การศึกษาความเป็นไปได้ 3.   การรวบรวมเอกสาร การสัมภาษณ์ 4.   ถูกทุกข้อ 9. นักวิเคราะห์ระบบเกี่ยวข้องกับการพัฒนาระบบอย่างไร 1.   ทำหน้าที่ควบคุมและดูแลระบบสารสนเทศในการใช้งาน 2.   ทำหน้าที่ติดตั้งระบบที่พัฒนาและทดลองใช้โปรแกรมแล้ว 3.   ทำหน้าที่ออกแบบระบบเพื่อให้โปรแกรมเมอร์พัฒนาโปรแกรม 4.   ทำหน้าที่จัดเก็บ ประมวลผล และนำเสนอข้อมูลในการใช้งาน 10. ผู้ที่ทำหน้าที่บริหารฐานข้อมูล จะทำหน้าที่คล้ายคลึงกับใคร 1.   เจ้าหน้าที่เขียนโปรแกรม 2.   ผู้ใช้ 3.   นักออกแบบระบบ 4.   นักวิเคราะห์ระบบ 11. ข้อใดต่อไปนี้ควรกระทำเป็นอันดับแรกในการออกแบบฐานข้อมูล 1.   รวบรวมข้อมูลและความต้องการของผู้ใช้ 2.   กำหนดรูปแบบฟิลด์และไฟล์ 3.   ทำความเข้าใจกับข้อมูล 4.   ออกแบบความสัมพันธ์ระหว่างไฟล์ 12. ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของนักวิเคราะห์ระบบ 1.   รวบรวมข้อมูล 2.  กำหนดความต้องการ 3.   ศึกษาความเป็นไปได้ 4.   ออกแบบผลลัพธ์ 13. บทบาทของนักวิเคราะห์ระบบคือข้อใด 1.   เป็นผู้บริหารระบบ 2.   เป็นผู้ประสานงานระหว่างระบบกับผู้ใช้ 3.   เป็นผู้ประสานงานระหว่างผู้ใช้กับผู้จัดการ 4.   เป็นผู้เขียนโปรแกรม 14. คุณสมบัติของนักวิเคราะห์ระบบ คือข้อใด 1.   เป็นผู้พูดที่ดีและมีมนุษยสัมพันธ์ 2.   มีความรู้เรื่องระบบสารสนเทศเป็นอย่างดี 3.   สามารถแก้ปัญหาและรู้ระบบการทำงานเป็นอย่างดี 4.   ทุกข้อที่กล่าวมา 15. ข้อใดเป็นข้อดีในการใช้ฐานข้อมูลร่วมกันมากที่สุด 1.   ลดความขัดแย้งของข้อมูลและลดความซ้ำซ้อนในการเก็บข้อมูล 2.   เพิ่มการออกแบบส่วนงานและโครงสร้างการควบคุมในตัว 3.   ฐานข้อมูลมีคุณสมบัติเป็นสารสนเทศที่ดี 4.   รวบรวมข้อมูลต่างๆ ได้ง่าย 16. ข้อใดเป็นความหมายของข้อมูลในการวิเคราะห์และออกแบบระบบ 1.   ข้อเท็จจริงต่างๆ ที่สามารถเก็บรวบรวมได้ 2.   ข้อเท็จจริงต่างๆ ของสิ่งที่เราสนใจ 3.   ข้อเท็จจริงต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน 4.   ข้อมูลผลกำไรขาดทุน 17. ข้อใดควรกระทำเป็นอันดับแรกในการพัฒนาระบบโดยผ่านกระบวนการวิเคราะห์และออกแบบระบบ 1.  ออกแบบรายงาน 2.   รวบรวมข้อมูล 3.   วิเคราะห์ระบบ 4.   กำหนดวิธีและขั้นตอนการทำงาน 18. ข้อใดไม่จำเป็นต้องปรากฏบนโปสเตอร์นำเสนอโครงงาน 1.  ความสำคัญของปัญหา 2.  เอกสารที่เกี่ยวข้อง 3.  ผลการพัฒนา 4.  การอภิปรายผล 19. ข้อใดเป็นสัญลักษณ์ของ Data Store หรือแหล่งข้อมูล 1. 
ข้อใดเรียงลำดับการเขียนรายงานได้ถูกต้อง
2. 
ข้อใดเรียงลำดับการเขียนรายงานได้ถูกต้อง
3. 
ข้อใดเรียงลำดับการเขียนรายงานได้ถูกต้อง
4. 
ข้อใดเรียงลำดับการเขียนรายงานได้ถูกต้อง
20. ข้อใดเป็นสัญลักษณ์ของ External Agent หรือปัจจัยหรือสภาพแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อระบบ 1. 
ข้อใดเรียงลำดับการเขียนรายงานได้ถูกต้อง
2. 
ข้อใดเรียงลำดับการเขียนรายงานได้ถูกต้อง
3. 
ข้อใดเรียงลำดับการเขียนรายงานได้ถูกต้อง
4. 
ข้อใดเรียงลำดับการเขียนรายงานได้ถูกต้อง

ข้อใดเป็นลำดับขั้นตอนการทำรายงานเชิงวิชาการได้ถูกต้อง

ขั้นตอนในการเขียนรายงานเชิงวิชาการ.
กำหนดเรื่อง ก่อนที่จะทำรายงานทุกคนจะต้องกำหนดก่อนว่าจะทำรายงานเรื่องอะไรการเลือกเรื่องควรคำนึงถึงสิ่งต่อไปนี้ คือ ... .
กำหนดชื่อเรื่องและขอบเขตของเรื่อง ... .
การวางโครงเรื่อง ... .
รวบรวมข้อมูล ... .
การจัดระเบียบและวิเคราะห์ข้อมูล ... .
เสนอผลรายงาน.

ข้อใดคือส่วนนำในการเขียนรายงาน

องค์ประกอบของรายงาน ในที่นี้จะกล่าวถึงรายงานทางวิชา ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 3 ส่วน ได้แก่ 1. ส่วนนำ คือ ส่วนที่อยู่ก่อนเนื้อเรื่อง ประกอบด้วย หน้าปก คำขอบคุณ (กิตติกรรมประกาศ) คำนำ และเนื้อเรื่อง 1.1 หน้าปก

การเขียนรายงานโครงงานควรใช้ภาษาแบบใด

การเขียนโครงงานควรใช้ภาษาที่อ่านเข้าใจง่ายและตรงประเด็น การเขียนโครงงานควรใช้ภาษาแบบเป็นกันเองตามความเข้าใจของผู้จัดทำ การเขียนโครงงานควรใช้ทั้งวัจนภาษาและอวัจนภาษาเพื่อเป็นทางเลือกให้ผู้อ่านติดตาม การเขียนโครงงานควรใช้ทั้งรูปภาพและวัสดุจริงมาเป็นส่วนประกอบของการเขียนรายงาน

ข้อใดคือ ส่วนท้ายของรายงาน

ส่วนประกอบตอนท้าย (back matter หรือ reference matter) เป็นส่วนที่อยู่ถัดจากเนื้อเรื่อง ประกอบด้วย 1. หน้าบอกตอน (Half Title Page)​ คือหน้าที่พิมพ์ข้อความไว้กลางหน้ากระดาษเพื่อบอกว่าส่วนที่อยู่ถัดไปคืออะไร ส่วนใหญ่แล้ว หน้านี้จะปรากฏในส่วนประกอบตอนท้ายของรายงานการค้นคว้า เช่น หน้าบอกตอน “บรรณานุกรม” หน้าบอกตอน “ภาคผนวก”