ข้อใดไม่จัดเป็นแผนที่เฉพาะเรื่อง

�����躷���¹ 2

Ἱ��� (Map)   

ข้อใดไม่จัดเป็นแผนที่เฉพาะเรื่อง

1. �������¢ͧ�Ԫ�������ʵ��

 1.1 Ἱ��� ( MAP ) ����ػ�ó������������ҧ��� �����ʴ��ѡɳТͧ��鹼���š������觷���ҡ�����鹼���š��駷���Դ����ͧ��������ҵ������觷�����������ҧ��� �������ǹ����բ�Ҵ���ŧ���������ͧ���������ѭ�ѡɳ�᷹��觵�ҧ�

  1.2 ��觷���ҡ�����鹼���š �繢����ŷ���ʴ��Ἱ����� 2 ��Դ

                 1.2.1 ��觷���Դ����ͧ��������ҵ� �� ��ջ ��� ���� ����� ���� �����ط� ����Һ�٧ ��½�觷��� ��鹷���������о�鹷����ŷ���

                 1.2.2 ��觷�����������ҧ��� �� ��������ͧ ���͹ ��� ��鹷ҧö�� ��

2. ����ª��ͧἹ���

         2.1 ���֡�Ң����ŷҧ������ʵ��ͧ��鹷���ҧ� ������ŷ��١��ͧ �����Ѵ������Ф������� ��������ͧ�Թ�ҧ��ѧʶҹ����ԧ

         2.2 ��������ͧ����ҧἹ��оѲ�Ҿ�鹷�� �����ŨҡἹ������㹡���ҧἹ��оѲ�Ҿ�鹷��Ӻŵ�ҧ� �蹾Ѳ�ҡ���ɵá��� ��âش��ͧ�Ż�зҹ��С�õѴ���������� �繵�

         2.3 �����ª��㹡�ô��Թ���Ե��Ш��ѹ ����Ἱ�����鹷ҧ��Ҩ����͡���Թ�ҧ��з�ͧ�����

         2.4 �����ª��㹧ҹ�Ҫ��� �� �Ԩ��÷��� ��û���ͧ ���͹��ѡ������� ��ä��Ҥ���С�þѲ�һ���ȴ�ҹ��ҧ�

3. �������ͧἹ���

     ����觵���ѡɳС����ҹ Ἱ����ṡ�� 2 ������ �ѧ���

         3.1 �Ἱ�����ҧ�ԧ ���Ἱ�����������ѡ�����繾�鹰ҹ㹡�÷�Ἱ��誹Դ���� Ἱ�����ҧ�ԧ����Ӥѭ��й������ҡ����ش��� Ἱ������Ի���� ( Topographic Map ) ��Ἱ������ʴ��ѡɳ����Ի���Ⱥ���鹼���š �蹷���Һ ����Һ�٧ ��͡�� ����� ��� ���ʴ������ѡɳ�ͧ����š����Ǵ�������ʴ������٧��Ӣͧ��鹷�� ����ᶺ��������鹪�鹤����٧

         3.2 Ἱ���੾������ͧ ( Thematic Map) ���Ἱ������ʴ���������������´ �����ͧ����ͧ������ҧ����ҧ˹����§���ҧ���� ������ҧ��

* Ἱ����Ѱ�Ԩ                  �ʴ�ࢵ��û���ͧ�ѧ��Ѵ�ͧ�������

*  Ἱ����Ъҡ�             �ʴ���á�Ш�»�Ъҡâͧ�������

*  Ἱ��������ҡ��             �ʴ�����ҳ������������س���������¢ͧ�������

*  Ἱ���ҧ��ǧ             �ʴ���������ѡ�ͧ�������

4. ͧ���Сͺ�ͧἹ���

     ����觵���ѡɳС����ҹ Ἱ����ṡ�� 2 ������ �ѧ���

         3.1 Ἱ�����ҧ�ԧ ���Ἱ�����������ѡ�����繾�鹰ҹ㹡�÷�Ἱ��誹Դ���� Ἱ�����ҧ�ԧ����Ӥѭ��й������ҡ����ش��� Ἱ������Ի���� ( Topographic Map ) ��Ἱ������ʴ��ѡɳ����Ի���Ⱥ���鹼���š �蹷���Һ ����Һ�٧ ��͡�� ����� ��� ���ʴ������ѡɳ�ͧ����š����Ǵ�������ʴ������٧��Ӣͧ��鹷�� ����ᶺ��������鹪�鹤����٧

         3.2 Ἱ���੾������ͧ ( Thematic Map) ���Ἱ������ʴ���������������´ �����ͧ����ͧ������ҧ����ҧ˹����§���ҧ���� ������ҧ�� 
ͧ���Сͺ�ͧἹ���
�ͺ���ҧἹ���
����Ἱ���  
���     
�ҵ���ǹ
�ѭ�ѡɳ�       
�ԡѴ������ʵ�� ( �еԨٴ / �ͧ�Ԩٴ )                                                       

ข้อใดไม่จัดเป็นแผนที่เฉพาะเรื่อง
 
ข้อใดไม่จัดเป็นแผนที่เฉพาะเรื่อง

ข้อสอบ O-NET ภูมิศาสตร์  พร้อมเฉลย

  1. ข้อใดแบ่งประเภทของแผนที่ตามลักษณะการใช้ได้ถูกต้อง

1    แผนที่อ้างอิง แผนที่เฉพาะเรื่อง แผนที่เล่ม

2    แผนที่อ้างอิง แผนที่ภูมิประเทศ แผนที่เล่ม

3    แผนที่ภูมิประเทศ แผนที่เฉพาะเรื่อง แผนที่รัฐกิจ

4    แผนที่ภูมิประเทศ แผนที่เล่ม แผนที่มาตราส่วน  ขนาดใหญ่

  1. แผนที่เล่มเป็นแผนที่ที่รวมแผนที่ชนิดใดเข้าด้วยกันเป็นเล่มเดียว

1    แผนที่หลาย ๆ ชนิด

2    แผนที่รัฐกิจหลาย ๆ ชนิด

3    แผนที่รัฐกิจและแผนที่อ้างอิง

4    แผนที่รัฐกิจและแผนที่ธรณีวิทยา

  1. แผนที่รัฐกิจที่บอกเฉพาะชื่อจังหวัดและชื่อประเทศน่าจะเป็นแผนที่มีขนาดมาตราส่วนในข้อใด

1    1:2,500

2    1:25,000

3    1:250,000

4    1:2,500,000

  1. ชื่อแผนที่ในข้อใดที่ทำให้เรารู้ได้ว่าแผนที่นั้นไม่ใช่แผนที่เฉพาะเรื่อง

1    แผนที่กายภาพจังหวัดกาญจนบุรี

2    แผนที่ท่องเที่ยวจังหวัดกาญจนบุรี

3    แผนที่ธรณีวิทยาจังหวัดกาญจนบุรี

4    แผนที่เขตการปกครองจังหวัดกาญจนบุรี

  1. ชื่อภูมิศาสตร์ใดที่เขียนเป็นภาษาอังกฤษต้องใช้ตัวเอน และใช้ตัวพิมพ์ใหญ่ทั้งหมด

1    ทวีป

2    ช่องแคบ

3    มหาสมุทร

4    เมืองหลวง

  1. ข้อใดเขียนชื่อภูมิศาสตร์ได้ถูกต้อง

1    ช่องแคบมะละกา

2    ช่องแคบมะละกา

3    ช่องแคบ มะละกา

4    ช่องแคบ มะละกา

  1. ข้อใดกล่าวถึงทิศเหนือกริดได้ถูกต้อง

1    ทิศที่ใช้สัญลักษณ์เป็นเส้นตรง

2    ทิศเหนือตามแนวเส้นเมริเดียน

3    ทิศที่ใช้สัญลักษณ์ลูกศรครึ่งซีก

4    ทิศเหนือตามแนวเส้นฉากทางดิ่ง

  1. มุมแอซิมัทที่วัดได้มีค่าไม่เกินกี่องศา

1    90 องศา

2    180 องศา

3    270 องศา

4    360 องศา

  1. ข้อใดเขียนค่ามุมแบริงจากแนว กค ในรูปที่กำหนดให้ได้ถูกต้อง

1    N 45° W

2    W 45° N

3    S 135° W

4    S 225° W

  1. มาตราส่วน 1:1,250,000 อ่านเป็นมาตราส่วนคำพูดได้ว่าอย่างไร

1    1 เซนติเมตร เท่ากับ 125 กิโลเมตร

2    1 เซนติเมตร เท่ากับ 1.25 กิโลเมตร

3    1 เซนติเมตร เท่ากับ 12.5 กิโลเมตร

4    1 เซนติเมตร เท่ากับ 1,250 กิโลเมตร

  1. จากมาตราส่วนคำพูด 1 เซนติเมตร เท่ากับ 2.5 กิโลเมตร ถ้านักเรียนต้องการวัดพื้นที่ให้ได้18 กิโลเมตร นักเรียนจะต้องวัดให้ได้ระยะทางในแผนที่กี่เซนติเมตร

1    5.2 เซนติเมตร

2    6.2 เซนติเมตร

3    7.2 เซนติเมตร

4    8.2 เซนติเมตร

  1. ข้อใดอธิบายลักษณะของเส้นแบ่งเขตประเทศได้ถูกต้อง

1    เป็นเส้นคดโค้งไปมา

2    เป็นเส้นตรงยาว หนา และมีสีแดง

3    เป็นเส้นตรงมีขีดแนวตั้งสั้น ๆ พาดอยู่หลายเส้น

4    เป็นเส้นตรงมีจุด 2 จุด คั่นอยู่ระหว่างเส้นตรง 2  เส้น

  1.          สัญลักษณ์นี้ใช้แทนสิ่งใดจึงจะเหมาะสมที่สุด

1    วัด

2    โรงเรียน

3    โรงพยาบาล

4    สถานที่ราชการ

  1. ข้อใดใช้สีที่เป็นมาตรฐานแทนสิ่งต่าง ๆ ที่ปรากฏบนพื้นโลกได้ถูกต้อง

1    สีน้ำเงิน แทน ภูเขา

2    สีน้ำตาล แทน ถนน

3    สีแดง แทน โรงเรียน

4    สีเขียว แทน พื้นที่เพาะปลูก

  1. เส้นชั้นความสูงที่มีลักษณะเป็นวงเรียงซ้อนกันขึ้นไปจะมีลักษณะภูมิประเทศเป็นอย่างไร

1    ที่ราบสูง

2    หน้าผาชัน

3    ภูเขารูปอีโต้

4    ภูเขารูปกรวย

  1. ข้อใดใช้แถบสีแทนพื้นที่เรียงจากภูเขา ที่ราบสูง ที่ต่ำ และทะเล ได้เหมาะสมที่สุด

1    สีเหลือง สีน้ำตาล สีเขียว สีฟ้าอ่อน

2    สีเหลือง สีเหลืองแก่ สีขาว สีฟ้าอ่อน

3    สีน้ำตาล สีเหลืองแก่ สีเขียว สีน้ำเงิน

4    สีน้ำตาล สีเขียวแก่ สีเหลืองแก่ สีน้ำเงิน

  1. การแสดงระดับความสูงในแผนที่รูปแบบใดที่มีลักษณะเป็นภาพสามมิติ

1    การแรเงา

2    การใช้แถบสี

3    การใช้เส้นลาดเขา

4    การใช้เส้นชั้นความสูง

  1. เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในข้อใดที่มีความจำเป็นต่อการเดินทางมากที่สุด

1    เข็มทิศ

2    เทอร์โมมิเตอร์

3    ภาพจากดาวเทียม

4    เครื่องมือวัดระยะทาง

  1. การใช้เครื่องมือวัดระยะทางในแผนที่ เราต้องถือด้ามให้เอียงทำมุมกี่องศากับแนวระนาบ

1    30 องศา

2    45 องศา

3    60 องศา

4    75 องศา

  1. มิลลิบาร์ เป็นหน่วยที่ใช้วัดอะไร

1    ความเร็วลม

2    ความกดอากาศ

3    ความชื้นสัมพัทธ์

4    จุดน้ำค้างในอากาศ

  1. การทำงานของไฮโกรมิเตอร์ในการวัดค่าความชื้นในอากาศอาศัยอุปกรณ์ใดเป็นสำคัญ

1    เส้นผม

2    ตลับโลหะ

3    แขนปากกา

4    คานและเข็มชี้

  1. ก้านชี้โลหะรูปดัมบ์เบล เป็นอุปกรณ์ที่อยู่เทอร์โมมิเตอร์แบบใด

1    เทอร์โมกราฟ

2    เทอร์โมมิเตอร์ต่ำสุด

3    เทอร์โมมิเตอร์สูงสุด

4    เทอร์โมมิเตอร์แบบซิกซ์

  1. เพราะเหตุใดปากภาชนะรองรับน้ำฝนของเครื่องวัดฝนจึงมีขนาดแคบและพอดีกับกรวย

1    เพื่อลดการระเหยของน้ำ

2    เพื่อรองรับเฉพาะหยดน้ำ

3    เพื่อจำกัดปริมาณฝนที่รองรับ

4    เพื่อให้มีอากาศอยู่ภายในกรวยน้อยที่สุด

  1. ข้อใดอธิบายจุดเด่นและข้อจำกัดระหว่างรูปถ่ายทางอากาศกับภาพจากดาวเทียมได้อย่างถูกต้อง

1    รูปถ่ายทางอากาศได้ภาพจากมุมต่ำ แต่ภาพจาก   ดาวเทียมได้จากมุมสูง

2    รูปถ่ายทางอากาศได้ภาพที่แปลความหมายได้   ง่ายกว่าภาพจากดาวเทียม

3    ภาพจากดาวเทียมได้ภาพสีเพียงอย่างเดียว แต่    รูปถ่ายทางอากาศได้ภาพหลากสี

4    ภาพจากดาวเทียมไม่จำเป็นต้องให้ผู้เชี่ยวชาญ   แปลความหมายเหมือนรูปถ่ายทางอากาศ

  1. ถ้านักเรียนต้องการวิเคราะห์ข้อมูลพืชพรรณธรรมชาติในพื้นที่ชายฝั่งทะเลจากรูปถ่ายทางอากาศ ควรเลือกรูปที่ถ่ายจากฟิล์มประเภทใด

1    ฟิล์มสีธรรมชาติ

2    ฟิล์มสีผิดธรรมชาติ

3    ฟิล์มออร์โทโครเมติก

4    ฟิล์มขาว–ดำอินฟราเรด

  1. กล้องสามมิตินำมาใช้ในการอ่านข้อมูลจากเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ชนิดใด

1    แผนผัง

2    ภาพถ่าย

3    ภาพจากดาวเทียม

4    รูปถ่ายทางอากาศ

  1. กรมอุตุนิยมวิทยานำภาพจากดาวเทียมมาใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลใด

1    ทิศทางของพายุ

2    ปริมาณทรัพยากรน้ำ

3    พื้นที่ที่ถูกตัดไม้ทำลายป่า

4    การตั้งถิ่นฐานของประชากร

  1. ข้อมูลลักษณะประจำของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์มีลักษณะเป็นอย่างไร

1    ข้อมูลที่เป็นตัวเลข

2    ข้อมูลที่เป็นจุดภาพ

3    ข้อมูลที่เป็นรูปลักษณ์

4    ข้อมูลที่เป็นจุด เส้น พื้นที่

  1. ฮาร์ดแวร์ มีหน้าที่อย่างไรในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์

1    นำเข้าข้อมูล

2    จัดการข้อมูล

3    วิเคราะห์ข้อมูล

4    รายงานผลข้อมูล

  1. ข้อมูลใดที่สามารถหาได้จากเว็บไซต์ของกรมทรัพยากรธรณี

1    ที่ตั้งเขื่อน

2    พื้นที่ป่าสงวน

3    ชนิดของสัตว์น้ำ

4    การเกิดแผ่นดินไหว

  1. ชั้นไซอัลมีลักษณะของหินในชั้นเป็นอย่างไร

1    เป็นหินสีจางจำพวกหินแกรนิต

2    เป็นหินที่มีรูพรุนจำพวกหินบะซอลต์

3    เป็นหินหนืดที่มีแร่เหล็กและนิกเกิลผสมอยู่

4    เป็นหินเหลวที่มีแร่ซิลิกาและแมกนีเซียมผสม อยู่

  1. โครงสร้างโลกชั้นใดที่มีความหนามากที่สุด

1    ชั้นไซมา

2    ชั้นเนื้อโลก

3    แก่นโลกชั้นใน

4    แก่นโลกชั้นนอก

  1. นักวิทยาศาสตร์เชื่อกันว่าแก่นโลกชั้นในมีอะไรเป็นส่วนประกอบ

1    เหล็กและนิกเกิล

2    เหล็กและอะลูมินา

3    กำมะถันและเหล็ก

4    กำมะถันและนิกเกิล

  1. เปลือกโลกส่วนที่อยู่ท้องมหาสมุทรเป็นเปลือกโลกชั้นใด

1    ชั้นไซมา

2    ชั้นไซอัล

3    ชั้นเนื้อโลก

4    ชั้นไซอัลและไซมา

  1. พื้นที่ที่อยู่ด้านหลังแนวเทือกเขาจะมีลักษณะเป็นอย่างไร

1    มีฝนตกหนัก

2    มีธารน้ำไหลผ่าน

3    มีอากาศหนาวเย็น

4    มีความแห้งแล้งสูง

  1. เทือกเขาใดไม่มีลักษณะของหินโค้งรูปประทุนและหินโค้งรูปประทุนหงาย

1    เทือกเขาร็อกกี

2    เทือกเขาแอลป์

3    เทือกเขาแอนดีส

4    เทือกเขาเซียร์ราเนบาดา

  1. รอยเลื่อนแซนแอนเดรียส์ ในรัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นรอยเลื่อนแบบใด

1    รอยเลื่อนย้อน

2    รอยเลื่อนปกติ

3    รอยเลื่อนในแนวนอน

4    ถูกทุกข้อ

  1. ที่ราบสูงบริติชโคลัมเบีย ในประเทศแคนาดา

         มีลักษณะพื้นที่ที่เกิดจากกระบวนการใด

1    การบีบอัดของเปลือกโลกจนโค้งงอ

2    การยกตัวขึ้นของพื้นที่ตามแนวรอยเลื่อน

3    การทรุดตัวของพื้นที่จนกลายเป็นแอ่งกราเบิน

4    การไหลของลาวาจากภูเขาไฟปกคลุมพื้นที่ กว้างขวาง

  1. ข้อใดกล่าวถึงลักษณะการเกิดภูเขาไฟรูปโล่ได้ถูกต้อง

1    เกิดจากหินหนืดมีอัตราการไหลที่เร็วมาก

2    เกิดจากหินหนืดที่ถูกดันออกมามีความหนืดสูง

3    เกิดจากหินหนืดที่ปะทุออกมาเย็นตัวลงอย่าง รวดเร็ว

4    เกิดจากหินหนืดที่เย็นตัวลงผสมกับกองขี้เถ้า จากการปะทุหลายครั้ง

  1. กระบวนการใดที่ไม่ทำให้เกิดลักษณะภูมิประเทศที่มีแม่น้ำเป็นตัวกระทำ

1    การกร่อน

2    การพัดพา

3    การทับถม

4    การผุพังอยู่กับที่

  1. ข้อใดเป็นลักษณะของหินที่เกิดจากกระบวนการผุพังทางเคมี

1    การขยายและหดตัวของหินตามอุณหภูมิจน   ทำให้เกิดรอยแตกร้าว

2    การแตกตัวของหินที่เกิดจากการแข็งตัวของน้ำ   ที่แทรกอยู่ตามรอยแตก

3    การหลุดร่อนของหินที่มีแร่เหล็กปะปนอยู่และ ถูกอากาศจนกลายเป็นเหล็กออกไซด์

4    การแตกออกของหินจากการที่ถูกรากของต้นไม้ ที่เจริญเติบโตเต็มที่ชอนไชไปตามแนวหิน

  1. ภูเขาที่อยู่ในบริเวณที่แม่น้ำอยู่ในวัยชรามีลักษณะเป็นอย่างไร

1    หุบเขา

2    เขาโดด

3    หน้าผาชัน

4    หุบเขารูปตัววี

  1. แกรนด์แคนยอน ในประเทศสหรัฐอเมริกา เกิดจากการกระทำของแม่น้ำในระยะใด

1    วัยชรา

2    วัยอ่อน

3    วัยหนุ่ม

4    วัยหนุ่มและวัยชรา

  1. บริเวณใดที่เกิดการทับถมของตะกอนในช่วงน้ำหลากของแม่น้ำในวัยหนุ่มและวัยชรา

1    ที่ราบน้ำท่วมถึง

2    ลานตะพักลำน้ำ

3    เนินตะกอนรูปพัด

4    ดินดอนสามเหลี่ยม

  1. ช่วงของธารน้ำที่ไหลเชี่ยวและมีโขดหินขวางกั้นลำน้ำจนน้ำลดระดับความรุนแรงของการไหลลงจะมีลักษณะภูมิประเทศที่เรียกว่าอะไร

1    ถ้ำ

2    แก่ง

3    น้ำตก

4    หุบผาชัน

  1. แอ่งขนาดใหญ่ที่เกิดจากการระเบิดของภูเขาไฟเรียกว่าอะไร

1    ฮอร์น

2    ฮอสต์

3    อาแรต

4    แคลดีรา

  1. แอร์สร็อก มีลักษณะเป็นอย่างไร

1    ที่ราบดินเลิสส์

2    แอ่งในทะเลทราย

3    เขาโดดในทะเลทราย

4    เนินทรายหรือสันทราย

  1. ข้อใดอธิบายลักษณะของฮอร์นได้ถูกต้อง

1    ไหล่เขาที่มีแอ่งลึกจากการกัดเซาะของธาร     น้ำแข็ง

2    หุบเขาที่ลึกและกว้าง มีฐานราบและขอบสูงชัน คล้ายตัวยู

3    สันปันน้ำที่อยู่ระหว่างเซิร์ก 2 แห่ง เป็นสันเขาหยักแหลม ๆ

4    เซิร์กที่มากกว่า 3 แห่งหันหลังชนกันจนกลาย เป็นยอดเขาแหลม

  1. ชายฝั่งแบบฟยอร์ดมีลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากธารน้ำแข็งเป็นแบบใด

1    เซิร์ก

2    ฮอร์น

3    อาแรต

4    หุบเขาธารน้ำแข็ง

  1. พื้นที่ชายฝั่งที่ถูกคลื่นและกระแสน้ำพัดพาเอาโคลน ทราย ตะกอนดินและเศษหินเข้ามาทับถม ทำให้พื้นที่มีลักษณะเป็นแบบใด

1    แหลม

2    สันดอน

3    ที่ราบชายฝั่ง

4    ซุ้มหินชายฝั่ง

  1. ข้อใดอธิบายลักษณะของดินในพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ได้ถูกต้อง

1    เป็นดินเหนียว มีความอุดมสมบูรณ์น้อยมาก

2    เป็นดินตะกอนทรายแป้ง มีความอุดมสมบูรณ์ มาก

3    เป็นดินเหนียว มีความอุดมสมบูรณ์ปานกลางถึง มาก

4    เป็นดินตะกอนทรายแป้ง มีความอุดมสมบูรณ์ ปานกลางถึงน้อย

  1. ข้อใดกล่าวถูกต้อง

1    ทะเลทรายหินเอลโฮมา เป็นทะเลทรายถูก ปกคลุมไปด้วยหินแข็ง

2    เซเรียร์ ในประเทศอียิปต์ เป็นทะเลทรายที่พบ ในดินแดนทุรกันดาร

3    ทิวเขาทิเบสตี เป็นภูเขาในทะเลทรายที่มีร่อง ธารแลหุบเหวขนาดใหญ่

4    ทะเลทรายคาลานซิโอ เป็นทะเลทรายที่เกิดจาก การกร่อนของน้ำค้างแข็ง

  1. พื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ไม่ครอบคลุมถึงจังหวัดใดของประเทศไทย

1    ร้อยเอ็ด

2    สุรินทร์

3    นครราชสีมา

4    มหาสารคาม

  1. ถ้านักเรียนได้ยินเสียงดังผิดปกติมาจากภูเขา สันนิษฐานได้ว่าจะเกิดเหตุการณ์ใด

1    แผ่นดินถล่ม

2    แผ่นดินไหว

3    ภูเขาไฟระเบิด

4    น้ำป่าไหลหลาก

  1. ข้อใดไม่ใช่ภัยพิบัติที่มีผลสืบเนื่องมาจากการตัดไม้ทำลายป่า

1    ภัยแล้ง

2    แผ่นดินถล่ม

3    แผ่นดินไหว

4    น้ำท่วมฉับพลัน

  1. ภัยใดที่จะเกิดขึ้นตามมาหลังจากน้ำท่วมขังเป็นเวลานาน

1    ไฟป่า

2    ภัยแล้ง

3    โรคระบาด

4    แผ่นดินถล่ม

  1. การป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยแล้งวิธีใดดีที่สุด

1    การขุดเจาะน้ำบาดาล

2    การสร้างเขื่อนกักเก็บน้ำ

3    การแจกจ่ายน้ำแก่ประชาชน

4    การรักษาป่าไม้ให้คงความอุดมสมบูรณ์

  1. ถ้าเกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 ริกเตอร์ พื้นที่ในบริเวณใกล้ศูนย์กลางความสั่นสะเทือนจะเกิดอะไรขึ้น

1    อาคารเริ่มเสียหาย พังทลาย

2    วัตถุห้อยแขวนในอาคารมีการแกว่งไกว

3    เครื่องเรือนและวัตถุในอาคารมีการเคลื่อนที่

4    ผู้ที่อยู่อาศัยในพื้นที่มีความรู้สึกเหมือนรถไฟวิ่งผ่าน

  1. พฤติกรรมใดที่ไม่ควรปฏิบัติหากเกิดแผ่นดินไหวใต้ท้องมหาสมุทร

1    วิ่งออกไปยืนที่ชายหาด

2    ขับเรือออกไปอยู่กลางทะเล

3    อพยพไปอยู่ในที่ดอนและที่สูงทันที

4    ติดตามข่าวสารอย่างใกล้ชิดและเตรียมตัว

  1. พายุหมุนเขตร้อนที่เคลื่อนเข้าสู่ประเทศไทยส่วนใหญ่มาจากแหล่งกำเนิดใด

1    อ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน

2    มหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลจีนใต้

3    มหาสมุทรอินเดียและทะเลอาหรับ

4    มหาสมุทรอินเดียใต้ทางตะวันตกเฉียงเหนือ

เฉลยข้อสอบ 

1.1     2.1     3.4     4.1     5.3

6.2    7.4   8.4     9.1    10.3

11.3   12.4   13.2   14.4   15.4

16.3   17.1   18.1   19.2   20.2

21.1   22.4   23.1   24.2  25.3

26.4   27.1  28.1  29.1  30.4

31.1   32.2  33.1  34.1  35.4

36.4  37.3   38.4  39.1  40.4

41.3   42.3  43.2  44.1  45.2

46.4  47.3  48.4  49.4  50.3

51.4   52.1   53.3  54.1   55.3

56.3  57.4   58.2   59.1  60.2

อ้างอิง : http://lnwsudsud.blogspot.com/2013/01/onet-2551-2.html