โครงการใดรับรักษาผู้ป่วยที่มารอรับเสด็จ

Untitled Document

โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
  โครงการแพทย์หลวงเคลื่อนที่พระราชทาน

โครงการใดรับรักษาผู้ป่วยที่มารอรับเสด็จ

โครงการตามพระราชดำริด้านการแพทย์ เกิดใน พ.ศ. 2510 เนื่องจากพระบามสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่9 โปรดเกล้าให้จัดเจ้าหน้าที่แพทย์ พยาบาล เครื่องมือ เครื่องใช้ ตลอดจนยารักษาโรค ไปยังท้องถิ่นกันดารในจังหวัดเพชรบุรี ราชบุรี ประจวบคีรีขันธ์ เป็นต้น ซึ่งในพื้นที่นั้นการแพทย์ยังเข้าไปไม่ถึงประกอบกับราษฎรมีฐานะยากและการเดินทางเข้ามารักษาไม่เอื้ออำนวย พระองค์จึงทรงตรัสให้หน่วยการแพทย์เข้าไปรักษาโดยที่ไม่คิดค่าใช้จ่ายกับราษฎร

ต่อมาเมื่อวันที่ 29 มกราคม 2512 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเสด็จไปโครงการชาวเขาและได้ทรงพบว่า ราษฎรที่มารอรับเสด็จนั้น ไม่สบาย ป่วยกันเป็นจำนวนมาก จึงได้ทรงโปรดกล้าฯ ให้แพทย์ประจำพระองค์ ที่ตามเสด็จและมีหน้าที่คอยเฝ้าดูแลพระสุขภาพ และพลานามัยของทุกพระองค์ในขบวนเสด็จ ให้การตรวจและรักษาผู้ป่วยเหล่านั้น จึงได้เกิด "แพทย์พระราชทาน" โดยแบ่งเป็น

  1. การบำบัดรักษาโดยการตรวจจากคณะแพทย์พระราชทาน
    1. การบำบัดรักษาโดยการตรวจจากคณะแพทย์พระราชทาน
    2. หน่วยแพทย์หลวงกองแพทย์หลวง สำนักพระราชวัง และเจ้าหน้าที่
    3. คณะแพทย์ตามพระราชประสงค์ เป็นแพทย์ที่อาสามาจากหลายสาขาวิชาหลายหน่วยงาน
      1. คณะศัลยแพทย์อาสา จากราชวิทยาลัยศัลย์แพทย์แห่งประเทศไทย
      2. คณะศัลยแพทย์อาสา จากโรงพยาบาลศิริราช
      3. คณะศัลยแพทย์อาสา จากโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า
      4. คณะแพทย์หู คอ จมูก และโรคภูมิแพ้
      5. หน่วยทันตแพทย์เคลื่อนที่ จากกรมแพทย์ทหารบก
      6. คณะจักษุแพทย์ แพทย์พระราชทานดังกล่าว จะจัดชุดทำงานตามสถานที่ต่างๆไปยัง

ที่โรงพยาบาลประจำจังหวัดที่พระราชนิเวศน์ตั้งอยู่ โรงพยาบาลสกลนคร โรงพยาบาลนราธิวาส และโรงพยาบาลค่ายกาวิละ จังหวัดเชียงใหม่
บริเวณที่ตรวจโรคหน้าภูพานราชนิเวศน์ และทักษิณราชนิเวศน์
ตามเสด็จพระราชดำเนินไปรักษาพยาบาลยังหมู่บ้านต่างๆ

  1. การอบรมหมอหมู่บ้านตามพระราชดำริ

โดยคัดเลือกราษฎรอาสาตามหมู่บ้านเข้าอบรมหลักสูตร หมอหมู่บ้าน ซึ่งเป็นหลักสูตรเบื้องต้นของการปฐมพยาบาล  การโภชนการ การเวชศาสตร์ป้องกันอย่างง่ายๆ เพื่อให้ราษฎรนั้นสามารถนำความรู้ที่ได้นั้นนำไปปฏิบัติกับคนในหมู่บ้านนั้นหรือคนพื้นที่นั้นๆ

ลักษณะงานข้างต้นไปนำไปใช้ในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน 10 จังหวัด คือ เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน พะเยา ลำพูน ลำปาง น่าน แพร่ อุตรดิตถ์ และพิษณุโลก  ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 8 จังหวัด คือ สกลนคร นครพนม อุดรธานี หนองคาย มุกดาหาร มหาสารคม กาฬสินธุ์ เลย และในภาคใต้ 4 จังหวัด คือ นราธิวาส ยะลา ปัตตานี สงขลา
โครงการดังกล่าวได้ช่วยแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพของผู้ที่อยู่ห่างไกลโรงพยาบาล ผู้ที่มีอุปสรรคให้การเดินทาง และ ราษฎรที่มีฐานะยากจน จะได้รับโอกาสทางการรักษาที่ถูกต้องและไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ  ราษฎรที่ป่วยและได้รับการรักษาและหายจากการป่วยแล้ว ราษฏรจะมีกำลังในการประกอบอาชีพ หารายได้ จะส่งผลให้ชีวิตของราษฎรที่ดีขึ้นและส่งต่อให้สังคมดีขึ้นตาม

http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=12&chap=1&page=t12-1-infodetail07.html

Untitled Document

โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
  โครงการแพทย์หลวงเคลื่อนที่พระราชทาน

โครงการใดรับรักษาผู้ป่วยที่มารอรับเสด็จ

โครงการตามพระราชดำริด้านการแพทย์ เกิดใน พ.ศ. 2510 เนื่องจากพระบามสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่9 โปรดเกล้าให้จัดเจ้าหน้าที่แพทย์ พยาบาล เครื่องมือ เครื่องใช้ ตลอดจนยารักษาโรค ไปยังท้องถิ่นกันดารในจังหวัดเพชรบุรี ราชบุรี ประจวบคีรีขันธ์ เป็นต้น ซึ่งในพื้นที่นั้นการแพทย์ยังเข้าไปไม่ถึงประกอบกับราษฎรมีฐานะยากและการเดินทางเข้ามารักษาไม่เอื้ออำนวย พระองค์จึงทรงตรัสให้หน่วยการแพทย์เข้าไปรักษาโดยที่ไม่คิดค่าใช้จ่ายกับราษฎร

ต่อมาเมื่อวันที่ 29 มกราคม 2512 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเสด็จไปโครงการชาวเขาและได้ทรงพบว่า ราษฎรที่มารอรับเสด็จนั้น ไม่สบาย ป่วยกันเป็นจำนวนมาก จึงได้ทรงโปรดกล้าฯ ให้แพทย์ประจำพระองค์ ที่ตามเสด็จและมีหน้าที่คอยเฝ้าดูแลพระสุขภาพ และพลานามัยของทุกพระองค์ในขบวนเสด็จ ให้การตรวจและรักษาผู้ป่วยเหล่านั้น จึงได้เกิด "แพทย์พระราชทาน" โดยแบ่งเป็น

  1. การบำบัดรักษาโดยการตรวจจากคณะแพทย์พระราชทาน
    1. การบำบัดรักษาโดยการตรวจจากคณะแพทย์พระราชทาน
    2. หน่วยแพทย์หลวงกองแพทย์หลวง สำนักพระราชวัง และเจ้าหน้าที่
    3. คณะแพทย์ตามพระราชประสงค์ เป็นแพทย์ที่อาสามาจากหลายสาขาวิชาหลายหน่วยงาน
      1. คณะศัลยแพทย์อาสา จากราชวิทยาลัยศัลย์แพทย์แห่งประเทศไทย
      2. คณะศัลยแพทย์อาสา จากโรงพยาบาลศิริราช
      3. คณะศัลยแพทย์อาสา จากโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า
      4. คณะแพทย์หู คอ จมูก และโรคภูมิแพ้
      5. หน่วยทันตแพทย์เคลื่อนที่ จากกรมแพทย์ทหารบก
      6. คณะจักษุแพทย์ แพทย์พระราชทานดังกล่าว จะจัดชุดทำงานตามสถานที่ต่างๆไปยัง

ที่โรงพยาบาลประจำจังหวัดที่พระราชนิเวศน์ตั้งอยู่ โรงพยาบาลสกลนคร โรงพยาบาลนราธิวาส และโรงพยาบาลค่ายกาวิละ จังหวัดเชียงใหม่
บริเวณที่ตรวจโรคหน้าภูพานราชนิเวศน์ และทักษิณราชนิเวศน์
ตามเสด็จพระราชดำเนินไปรักษาพยาบาลยังหมู่บ้านต่างๆ

  1. การอบรมหมอหมู่บ้านตามพระราชดำริ

โดยคัดเลือกราษฎรอาสาตามหมู่บ้านเข้าอบรมหลักสูตร หมอหมู่บ้าน ซึ่งเป็นหลักสูตรเบื้องต้นของการปฐมพยาบาล  การโภชนการ การเวชศาสตร์ป้องกันอย่างง่ายๆ เพื่อให้ราษฎรนั้นสามารถนำความรู้ที่ได้นั้นนำไปปฏิบัติกับคนในหมู่บ้านนั้นหรือคนพื้นที่นั้นๆ

ลักษณะงานข้างต้นไปนำไปใช้ในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน 10 จังหวัด คือ เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน พะเยา ลำพูน ลำปาง น่าน แพร่ อุตรดิตถ์ และพิษณุโลก  ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 8 จังหวัด คือ สกลนคร นครพนม อุดรธานี หนองคาย มุกดาหาร มหาสารคม กาฬสินธุ์ เลย และในภาคใต้ 4 จังหวัด คือ นราธิวาส ยะลา ปัตตานี สงขลา
โครงการดังกล่าวได้ช่วยแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพของผู้ที่อยู่ห่างไกลโรงพยาบาล ผู้ที่มีอุปสรรคให้การเดินทาง และ ราษฎรที่มีฐานะยากจน จะได้รับโอกาสทางการรักษาที่ถูกต้องและไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ  ราษฎรที่ป่วยและได้รับการรักษาและหายจากการป่วยแล้ว ราษฏรจะมีกำลังในการประกอบอาชีพ หารายได้ จะส่งผลให้ชีวิตของราษฎรที่ดีขึ้นและส่งต่อให้สังคมดีขึ้นตาม

http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=12&chap=1&page=t12-1-infodetail07.html

ข้อใดคือโครงการตามพระราชดำริด้านการแพทย์

4 โครงการ ที่เป็นพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาที่สุดมิได้ต่อประชาชน.
1.โครงการหน่วยแพทย์พระราชทาน.
2.หน่วยทันตกรรมเคลื่อนที่พระราชทาน.
3.โครงการศัลยแพทย์อาสาราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งประเทศไทย.
4.โครงการแพทย์ หู คอ จมูก และโรคภูมิแพ้พระราชทาน.

โครงการพัฒนาด้านสาธารณสุข มีอะไรบ้าง

8 โครงการพระราชดำริด้านการแพทย์และสาธารณสุขไทย พระเมตตาอันยิ่งใหญ่ของในหลวง ร.9.
1. โครงการแพทย์หลวงเคลื่อนที่พระราชทาน.
2. โครงการหน่วยแพทย์พระราชทาน.
3. หน่วยทันตกรรมเคลื่อนที่พระราชทาน.
4. โครงการแพทย์พิเศษตามพระราชประสงค์.
6. โครงการแพทย์ หู คอ จมูก และโรคภูมิแพ้พระราชทาน.
7. โครงการอบรมหมอหมู่บ้านในพระราชประสงค์.

โครงการแพทย์พระราชทานช่วยเหลือด้านใด

โครงการหน่วยแพทย์พระราชทาน ประกอบด้วย การบำบัดรักษาจากหน่วยแพทย์พระราชทาน และการอบรมหมอประจำหมู่บ้าน เป็นการช่วยแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพอนามัยของราษฎรที่อยู่ในพื้นที่ห่างไกล และระบบการรักษาตามปกติยากแก่การดูแลได้อย่างทั่วถึง โดยเฉพาะอย่างยิ่งราษฎรส่วนใหญ่ที่มีฐานะยากจน และขาดความรู้ในการดูแลรักษาตนเอง การที่มีหน่วยแพทย์ ...

โครงการแพทย์หลวงเคลื่อนที่พระราชทานเกิดขึ้นปีใด

ในปี พ.ศ. ๒๕๐๘ โครงการแพทย์หลวงเคลื่อนที่พระราชทานได้ก่อกำเนิดขึ้น เป็นการทำงานเฉพาะแพทย์หลวงที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช โปรดเกล้าฯ ให้ตามเสด็จฯ เมื่อเสด็จแปรพระราชฐานไปยังต่างจังหวัด และในท้องถิ่นต่าง ๆ ที่ห่างไกลตัวเมืองมาก ได้ทำการตรวจรักษาผู้ป่วย ณ จุดตรวจบริเวณหน้าตำหนักที่ประทับ ต่อมาเมื่อผู้ป่วยมี ...