ใบ งาน ที่ 3.1 เรื่อง ภาษาถิ่น

ผา่ นบทเรยี นบทเรียนสอื่ อิเล็กทรอนิกส์และในท้ายคาบนักเรยี นตอ้ งแต่งเรื่องราวและบอกเล่าเร่อื งราวเหล่านั้น

ดว้ ยภาษาระยองได้

2) ขั้นกระตุน้ และใหป้ ระสบการณ์

2.1. กอ่ นเขา้ กิจกรรมครูนำเสนอคำศพั ทภ์ าษาถ่ินระยองและความหมายของคำเหลา่ นั้น โดยมคี รู

คอยพูดเปน็ ตวั อยา่ งใหน้ กั เรยี นพดู ตาม

การดำเนินการ กิจกรรม ผลการเรยี นรู้

ขั้นกระตุ้นและให้ 1. ครูแจกใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ภาษาถิ่นระยอง และ พูด อ่าน ฟัง และเข้าใจใน

ประสบการณ์ เปิด QR CODE ให้นักเรียนทุกคนแสกนและเปิด เนื้อหาของข้อความภาษา

บทเรียนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ภาษาถิ่นระยอง ถ่นิ ระยอง

ในสมาร์ทโฟน จากนั้นครูเปิดบทเรียนส่ือ

อิเล็กทรอนิกส์พร้อมกับนักเรียนและอธิบายวิธี

การศึกษา

2. ครูให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคำศัพท์ภาษาถิ่น
ระยองพร้อมกันทีละคำตามลำดับ โดยมีครูคอย
สังเกตุการออกเสยี ง และช่วยเหลือโดยพูดใหด้ ูเป็น
แบบอย่าง ตัวอย่างคำศัพท์ กระหลุก กระอับ
กระเตอะ ผา้ ผว่ ย สัมมะรด/ลักกะตา ขก่ี อ๋ ง กะลึ่ง
กะลงั่ เหี่ยม ฝนออ่ ย เอาได้

3. ครพู ูดประโยคภาษาถ่ินระยองให้นักเรยี นฟงั
“แกงไก่ใส่มะเขือเม่ด แกงเผ็ดบ้านเก่า ข้าวเม่า
ยายคำ ดื่มน้ำมะเน่ด ไปเที่ยวพนั่ส ทางมันค่ด
ร่ถมันฟั่ด ปลูกสำมะร่ดยังไม่ทันลั่ดควายมันยั่ด
เชด่ ไปล่อเบ็ดหมดสนุก ตกกะหลุกขาเคล่ด….”
ครูถามนักเรยี นวา่ “นกั เรียนคิดว่าเรอ่ื งราวเหล่าน้ี
เปน็ การบอกเล่าเกี่ยวกบั อะไร”จากน้ันให้นักเรียน
ลองพูดประโยคเหล่านีด้ ้วยตัวเอง

3) ขน้ั กจิ กรรม

3.1 ครูแสดงตัวอยา่ งบทสนทนาโดยใชภ้ าษาถนิ่ ระยองทไ่ี ด้เรยี นรมู้ าจากขัน้ กระต้นุ และให้

ประสบการณ์ จากนน้ั ครใู หน้ ักเรยี นจับคแู่ ละได้ลองแต่งบทสนทนาโดยใชภ้ าษาถ่นิ ระยองทไี่ ด้เรียน

การดำเนินการ กจิ กรรม ผลการเรยี นรู้

ขนั้ กิจกรรม 1. นักเรียนจับคู่สนทนากับเพื่อน แล้วทำกิจกรรมคู่ นำคำศพั ท์ภาษาระยองมา

(Pair Work) โดยให้นักเรยี นแยกฝึกเป็นคู่ แล้วฝึก ประยกุ ต์ใชใ้ น

พูดบทสนทนาพร้อมบทบาทสมมติ(Role Play) ชวี ิตประจำวันได้

โดยตอ้ งนำคำศัพทภ์ าษาถิน่ ระยองอยา่ งนอ้ ย 8 คำ

อยูใ่ นบทสนทนา โดยมคี รคู อยแนะนำ

2. นักเรียนเตรียมความพร้อมในการนำเสนอบท

สนทนา และนำบทสนทนามาให้ครูตรวจสอบ

ความถกู ตอ้ ง เพื่อเตรยี มนำเสนอในชั่วโมงต่อไป

ชวั่ โมงที่ 2

4) ข้ันนำไปใช้

4.1. ครูให้นักเรียนแต่ละคู่แสดงบทบาทสมมติโดยใช้สิ่งที่ได้เรียนรู้ผ่านการใช้กิจกรรม บทเรียนส่ือ

อเิ ล็กทรอนกิ ส์ หลงั จากนั้นให้นกั เรียนประเมนิ ตนเองจากการทำกจิ กรรม ครสู งั เกตพุ ฤติกรรมผเู้ รียน

การดำเนนิ การ กจิ กรรม ผลการเรียนรู้

กจิ กรรมบทบาท 1. นักเรียนแต่ละคู่มออกมาแสดงบทบาทสมมติ แสดงบทบาทสมมติ พูด

สมมต(ิ Role Play) (Role Play) จากกิจกรรมคู่ (Pair Work) ในชั่วโมง สนทนาภาษาถน่ิ ระยองได้

ท่ีแล้ว

2. หลังจบการนำเสนอ ครูและเพื่อนนักเรยี นร่วมกัน

ให้ข้อเสนอแนะและแสดงความคิดเห็น โดยดูจาก

พฤติกรรมการร่วมกิจกรรม การพูดบทสนทนา

การออกสำเนียงภาษาถิ่นระยอง การใช้กิริยา

ท่าทางในการแสดงบทบาทสมมติ(Role Play)

ความเปน็ ธรรมชาติในการสนทนา

โดยใช้แบบประเมินทักษะในการพูดสนทนา

ขณะทำกิจกรรม โดยครูคอยสังเกตพฤติกรรมของ

นกั เรยี น

5) ขน้ั สรุป

5.1. ครูให้นักเรยี นช่วยกนั สรปุ กิจกรรมในช้นั เรียนเรื่อง ภาษาถิน่ ระยอง โดยครชู ว่ ยแนะนำและเปน็ ท่ี

รวมใบงานแบบฝึกหัดภาษาไทย ม.3 โดยในแบบฝึกหัดนี้จะช่วยเสริมสร้างความรู้ภาษาไทยของเราต่อยอดจากเรื่องที่เรียนมาในหลักสูตร ให้เด็กได้ทบทวนจากแบบฝึกหัดหลักไปในตัว เช่น จับใจความสำคัญ สร้างสรรค์ภาษา บทกวี คัดสรรเลือกใช้คำ ฯลฯ และเรียนรู้ใบงานแบบฝึกหัดตามหัวข้อต่างๆ ตามการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภายในแบบฝึกหัดมีภาพประกอบและเฉลยสำหรับครูผู้สอน ให้นักเรียน สื่อสารออกมาได้ง่ายขึ้น

ภาษาไทยมีทั้งภาษาที่เป็นมาตรฐานซึ่งใช้เป็นภาษาราชการ และมีภาษาถิ่นตามแต่ละภาคต่าง ๆ ที่มีความแตกต่างกันตามลักษณะของท้องถิ่นนั้น ๆ เราควรเรียนรู้ให้เข้าใจ และนำความรู้เกี่ยวกับไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันให้มีความเหมาะสมกับโอกาสและกาลเทศะ

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

ตัวชี้วัด

ท 4.1  ป.6/2  ใช้คำได้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. อธิบายลักษณะของภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่นได้

2. เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่นได้

3. รู้คุณค่าและตระหนักถึงความสำคัญของภาษาถิ่นซึ่งเป็นอกลักษณ์ประจำถิ่นไทย

การวัดผลและประเมินผล

ใบงานที่ 3 เรื่อง ภาษาไทย ภาษาถิ่น

ภาษาไทยมีทั้งภาษาที่เป็นมาตรฐานซึ่งใช้เป็นภาษาราชการ และมีภาษาถิ่นตามแต่ละภาคต่าง ๆ ที่มีความแตกต่างกันตามลักษณะของท้องถิ่นนั้น ๆ เราควรเรียนรู้ให้เข้าใจ และนำความรู้เกี่ยวกับไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันให้มีความเหมาะสมกับโอกาสและกาลเทศะ

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

1 ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)

               บอกลักษณะของภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่นได้

             2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)

               เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่นได้

3 ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)