ใบงาน วิชา จริยธรรมและกฎหมายคอมพิวเตอร์

ศนู ยส์ ่งเสริมอาชีวะ หนงั สือเลมนเี้ รยี บเรียงตามจุดประสงคร ายวิชา สมรรถนะรายวชิ า และคำอธิบายรายวชิ า
หลกั สตู รประกาศนยี บัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2562
ศสอ
ของสำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ
ทกั ษะสร้างอนาคต

ä´Œ¼Ò‹ ¹¡ÒõÃǨ»ÃÐàÁ¹Ô ¤³Ø ÀÒ¾¨Ò¡ÊÓ¹¡Ñ §Ò¹¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒáÒÃÍÒªÇÕ ÈÖ¡ÉÒ »ÃШӻ§‚ º»ÃÐÁÒ³ ¾.È. 2562 ¤Ã§éÑ ·èÕ 1
»ÃÐàÀ·ÇªÔ ҾҳԪ¡ÃÃÁ ¡ÅÁ‹Ø ÇªÔ ÒÊÁÃö¹ÐÇÔªÒª¾Õ ੾ÒÐ »ÃСÒÈÅӴѺ·èÕ 61

¨ÃÂÔ ¸ÃÃÁ 20204 - 2009

áÅÐ

¡®ËÁÒ¤ÍÁ¾ÇÔ àµÍÏ

จารวี ขาวเจรญิ 1181.-

จรยิ ธรรมและกฎหมายคอมพวิ เตอร์
(Ethics and Computer Laws)

รหัสวิชา : 20204 - 2009

ตรงตามจุดประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวิชา และค�ำอธบิ ายรายวิชา
หลักสตู รประกาศนียบัตรวชิ าชพี (ปวช.) พทุ ธศักราช 2562

ของสำ� นกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ

ผู้เรยี บเรยี ง : จารวี ขาวเจริญ

วทิ ยาศาสตรบ์ ณั ฑิต (วท.บ.)
ผเู้ รียบเรียง : บศุ กร มลู ธวธิ ย์ (ศศบ. ภาษาไทย)

เสาวนีย์ นามเมือง

พิมพ์ครั้งที่ 1 : 3,000 เล่ม (พ.ศ. 2562)
ISBN : 978-616-553-872-5
ราคา : 118.-

All Rights Reserved.

สงวนลิขสิทธ์ิต​ ามพ​ ระราชบญั ญตั ิ
หา้ มคดั ลอก ถ่ายเอกสาร พิมพห์ รือวธิ ี​ใดว​ ธิ ีห​ นึ่ง
ส่วนหนึ่งส่วนใดข​ องห​ นังสือเ​ล่ม​น้ ี ก​ อ่ นไ​ดร้ บั อนุญาต

ศนู ยส์ ่งเสรมิ อาชวี ะ สำ� นักพิมพศ์ นู ย์ส่งเสรมิ อาชีวะ 89 ถ.มหรรณพ เสาชงิ ชา้ พระนคร กรงุ เทพฯ 10200

ศสอ โทร. 0-2224-1129 โทรสาร. 0-2224-1197

ทักษะสรา้ งอนาคต

พมิ พท​่ี : รัตนโรจนก์ ารพมิ พ์ 32/10 ต.บางขนนุ อ.บางกรวย จ.นนทบุรี 11130
ผูพิมพโ ฆษณา 2562

2

คำ� น�ำ

หนงั สอื เรยี นวชิ า จรยิ ธรรมและกฎหมายคอมพวิ เตอร์ รหสั วชิ า 20204-2009 เรยี บเรยี งขนึ้
ตามหลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2562 ของส�ำนกั งานคณะกรรมการ
การอาชวี ศกึ ษา

หนังสอื เล่มนป้ี ระกอบด้วยเน้ือหาจ�ำนวน 6 หน่วย คือ ความรเู้ กี่ยวกบั หลกั การบรหิ าร
จดั การความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศ, ทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลย,ี
ระบบบริหารความปลอดภัยของข้อมูล ISO 27001, การกระท�ำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์,
การรักษาความปลอดภัยของข้อมูลสารสนเทศในระบบเครือข่ายและอินเทอร์เน็ต และการใช้
คอมพวิ เตอรโ์ ดยคำ� นงึ ถงึ ความปลอดภยั , คา่ นยิ มทดี่ ใี นการใชค้ อมพวิ เตอร์ ในแตล่ ะหนว่ ยจะประกอบ
ดว้ ยสาระสำ� คญั สมรรถนะประจำ� หนว่ ย, เรอื่ งทจ่ี ะศกึ ษา, จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม, แบบทดสอบ
กอ่ นเรียน, คำ� ถาม-คำ� ตอบ, Web Guide, สรปุ เนอื้ หาสำ� คัญ (ผังมโนทัศน)์ , ใบงาน, แบบฝึกหัด,
กิจกรรมบูรณาการจิตอาสา, กิจกรรมบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง, กิจกรรมบูรณาการอาเซียน
และแบบทดสอบหลังเรียน

ผจู้ ดั ทำ� หวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ การจดั ทำ� หนงั สอื เลม่ นจ้ี ะเปน็ ประโยชนต์ อ่ ผเู้ รยี นสงู สดุ และ
ผเู้ รยี นสามารถนำ� ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ หเ้ กดิ การพฒั นาตนเอง ขอขอบคณุ ผแู้ ตง่ ทกุ ทา่ น หนงั สอื ทกุ เลม่ ทเี่ ปน็
ส่วนร่วมในการให้ข้อมูลเพ่ือประกอบการจัดท�ำหนังสือ หากผิดพลาดประการใดผู้จัดท�ำขออภัย
ไว้ ณ ทน่ี ดี้ ้วย

ผ้จู ดั ท�ำ

3

20204-2009 คำ� อธิบายรายวชิ า 2-0-2
จรยิ ธรรมและกฎหมายคอมพิวเตอร ์

(Ethics and Computer Laws)

จุดประสงคร์ ายวิชา เพอื่ ให้
1. เข้าใจเกี่ยวกบั จริยธรรมในอาชพี คอมพิวเตอร์
2. เขา้ ใจในหลกั กฎหมายท่ีเก่ยี วข้องคอมพิวเตอร์และพระราชบญั ญัตคิ อมพวิ เตอร์
3. เขา้ ใจหลักกฎหมายลิขสิทธ์ิ สทิ ธิบตั ร
4. มีเจตคติและกจิ นสิ ัยทดี่ ีในการปฏบิ ตั ิงานคอมพิวเตอรด์ ้วยความละเอียดรอบคอบ และถูกตอ้ ง

สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรเู้ ก่ียวกบั จรยิ ธรรมในอาชพี คอมพิวเตอร์
2. แสดงความรเู้ กยี่ วกบั หลกั กฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ้ งคอมพวิ เตอร ์ และพระราชบญั ญตั คิ อมพวิ เตอร์
3. แสดงความรเู้ กย่ี วกบั หลกั กฎหมายลิขสทิ ธิ์ และกฎหมายสทิ ธิบตั ร

คำ� อธิบายรายวิชา
ศกึ ษาเกย่ี วกบั จรยิ ธรรมในอาชพี คอมพวิ เตอร์ หลกั กฎหมายวา่ ดว้ ยการกระทำ� ความผดิ เกยี่ วกบั คอมพวิ เตอร์
พระราชบญั ญัตคิ อมพิวเตอร์ กฎหมายลิขสิทธ์ิและกฎหมายสิทธิบัตร

กรอบมาตรฐานสมรรถนะรายวชิ า

ตารางวเิ คราะหส์ มรรถนะ
จริยธรรมและกฎหมายคอมพิวเตอร์

สมรรถนะรายวชิ า แสดงความ ูร้เกี่ยวกับจ ิรยธรรมในอา ีชพคอมพิวเตอ ์ร
แสดงความ ูร้เ ีก่ยวกับห ัลกกฎหมายที่เ ีก่ยวข้อง
หน่วยท่ี คอม ิพวเตอร์ และพระราชบัญญัติคอม ิพวเตอ ์ร
แสดงความ ู้รเกี่ยวกับห ัลกกฎหมาย ิลขสิท ิ์ธ
และกฎหมายสิทธิ ับตร

1 ความรเู้ กย่ี วกบั หลกั การบรหิ ารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศ 

2 ทรพั ย์สินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี 

3 ระบบบริหารความปลอดภัยของข้อมลู ISO 27001 

4 การกระทา� ความผดิ เกย่ี วกบั คอมพิวเตอร์ 
5 การรกั ษาความปลอดภยั ของขอ้ มลู สารสนเทศในระบบเครอื ข่ายและ 

อนิ เทอรเ์ นต็ และการใช้คอมพวิ เตอร์โดยค�านงึ ถงึ ความปลอดภัย

6 ค่านยิ มทด่ี ีในการใช้คอมพิวเตอร์ 

4

สารบญั

หนว่ ยที่ 1 ความร้เู กย่ี วกบั หลกั การบรหิ ารจัดการความปลอดภัยเทคโนโลยสี ารสนเทศ........1
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น หน่วยที่ 1.........................................................................................2
- ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ.............................................................................4
- ระบบสารสนเทศคอมพวิ เตอร์........................................................................................10
- ความส�ำคัญของเทคโนโลยสี ารสนเทศ.........................................................................12
- ผลกระทบของเทคโนโลยสี ารสนเทศ............................................................................13
- การบริหารจัดการความปลอดภยั ของขอ้ มูลสารสนเทศ...........................................20
- การเสริมสรา้ งความปลอดภยั .........................................................................................23
- ประเภทของภัยคกุ คาม.......................................................................................................26
- การรกั ษาความปลอดภยั บนระบบคอมพิวเตอร์..........................................................28
Web Guide..............................................................................................................................29
ใบความรูอ้ าเซยี น หนว่ ยที่ 1...............................................................................................30
สรุปเนือ้ หาส�ำคญั (ผังมโนทศั น)์ ..........................................................................................31
ใบงานท่ี 1 ...............................................................................................................................32
แบบฝึกหดั ...............................................................................................................................33
กิจกรรมบูรณาการจติ อาสา..................................................................................................36
กจิ กรรมบรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพียง................................................................................36
กจิ กรรมบูรณาการอาเซียน..................................................................................................37
แบบทดสอบหลังเรียน หนว่ ยที่ 1.......................................................................................38

หน่วยท่ี 2 ทรัพย์สินทางปญั ญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลย.ี .......................................41
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น หนว่ ยท่ี 2......................................................................................42
- ทรพั ย์สนิ ทางปัญญา..........................................................................................................44
- ความส�ำคัญของทรัพย์สนิ ทางปัญญา............................................................................45
- ประเภทของทรัพยส์ นิ ทางปัญญา...................................................................................45
- ความหมายของทรัพย์สนิ ทางปัญญาแต่ละประเภท..................................................47
- กฎหมายลิขสทิ ธิ...................................................................................................................49
- กฎหมายสิทธบิ ัตร...............................................................................................................58
- จรรยาบรรณวิชาชพี ..........................................................................................................68

5

Web Guide..............................................................................................................................76
ใบความรูอ้ าเซยี น หนว่ ยที่ 2...............................................................................................77
สรปุ เนื้อหาส�ำคญั (ผังมโนทัศน)์ ..........................................................................................78
ใบงานท่ี 2 ...............................................................................................................................79
แบบฝกึ หดั หนว่ ยท่ี 2............................................................................................................80
กจิ กรรมบรู ณาการจิตอาสา..................................................................................................82
กิจกรรมบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง................................................................................ 82
กิจกรรมบรู ณาการอาเซยี น..................................................................................................83
แบบทดสอบหลังเรียน หนว่ ยท่ี 2.......................................................................................84
หน่วยที่ 3 ระบบบริหารความปลอดภัยของข้อมูล ISO 27001..........................................87
แบบทดสอบก่อนเรยี น หน่วยท่ี 3......................................................................................88
- ธรรมาภบิ าลเทคโนโลยีสารสนเทศในองค์กร (IT Governance)..........................90
- ความเปน็ มาของระบบบริหารความปลอดภัยของขอ้ มูล ISO 27001................113
- ISO 27001 ป้อมปราการทส่ี ำ� คญั ส�ำหรับการดำ� เนินธุรกจิ ในยุคสมยั น.้ี ............116
- ความเหมาะสมของ ISO 27001.................................................................................122
- ประโยชนข์ องการรบั รอง.................................................................................................122
Web Guide............................................................................................................................123
ใบความรู้อาเซียน หนว่ ยท่ี 3.............................................................................................124
สรุปเน้ือหาส�ำคัญ (ผงั มโนทัศน)์ ........................................................................................125
ใบงานที่ 3 .............................................................................................................................126
แบบฝึกหัด หน่วยท่ี 3..........................................................................................................127
กจิ กรรมบูรณาการจิตอาสา................................................................................................128
กิจกรรมบรู ณาการเศรษฐกิจพอเพยี ง..............................................................................128
กิจกรรมบูรณาการอาเซียน................................................................................................129
แบบทดสอบหลงั เรยี น หน่วยที่ 3.....................................................................................130
หนว่ ยที่ 4 การกระท�ำความผิดเกีย่ วกับคอมพิวเตอร.์ .......................................................133
แบบทดสอบก่อนเรยี น หน่วยท่ี 4....................................................................................134
- อาชญากรรมทางคอมพวิ เตอร์ (Computer Crime)...............................................136
- พระราชบัญญตั ิว่าด้วยการกระทำ� ความผดิ เก่ียวกบั คอมพิวเตอร.์ .......................144
- ความผิดเกีย่ วกับคอมพิวเตอร์........................................................................................146

6

Web Guide............................................................................................................................154
ใบความรอู้ าเซยี น หนว่ ยที่ 4.............................................................................................155
สรปุ เนื้อหาส�ำคญั (ผงั มโนทศั น์)........................................................................................156
ใบงานที่ 4 .............................................................................................................................157
แบบฝกึ หัด หนว่ ยท่ี 4..........................................................................................................158
กิจกรรมบูรณาการจติ อาสา................................................................................................160
กิจกรรมบูรณาการเศรษฐกิจพอเพยี ง..............................................................................160
กิจกรรมบรู ณาการอาเซียน................................................................................................161
แบบทดสอบหลังเรียน หนว่ ยท่ี 4.....................................................................................162
หนว่ ยท่ี 5 การรกั ษาความปลอดภยั ของขอ้ มลู สารสนเทศในระบบเครอื ขา่ ยและอนิ เทอรเ์ นต็
และการใชค้ อมพวิ เตอรโ์ ดยคำ� นึงถงึ ความปลอดภยั ........................................165
แบบทดสอบก่อนเรยี น หน่วยที่ 5....................................................................................166
- ความหมายของการพฒั นาจรยิ ธรรม...........................................................................168
- ความส�ำคญั ของการพัฒนาจรยิ ธรรม..........................................................................168
- สาเหตขุ องการพฒั นาจริยธรรมในงานอาชีพคอมพวิ เตอร.์....................................169
- ปัญหาจรยิ ธรรมในอาชีพคอมพวิ เตอร.์ .......................................................................170
- จริยธรรมในการประกอบอาชีพคอมพิวเตอร.์ ...........................................................172
- การใช้คอมพิวเตอรอ์ ย่างปลอดภัยกบั สุขภาพ...........................................................179
- การปอ้ งกันปัญหาทเี่ กิดข้ึนในการใชค้ อมพิวเตอร.์....................................................182
- 20 ขอ้ ควรปฏบิ ัติที่เพ่มิ ความปลอดภยั ในการใช้งานคอมพวิ เตอร.์ ......................184
- หลกั การใช้อินเทอรเ์ น็ตอย่างปลอดภัย........................................................................187
- การป้องกนั คอมพวิ เตอร.์ ................................................................................................190
Web Guide............................................................................................................................192
ใบความรู้อาเซยี น หนว่ ยท่ี 5.............................................................................................193
สรปุ เน้ือหาส�ำคญั (ผังมโนทศั น์)........................................................................................194
ใบงานที่ 5 .............................................................................................................................195
แบบฝกึ หดั หนว่ ยที่ 5..........................................................................................................196
กจิ กรรมบูรณาการจิตอาสา................................................................................................198
กิจกรรมบรู ณาการเศรษฐกิจพอเพยี ง..............................................................................198
กิจกรรมบูรณาการอาเซียน................................................................................................199
แบบทดสอบหลงั เรียน หนว่ ยท่ี 5.....................................................................................200

7

หน่วยท่ี 6 คา่ นยิ มทด่ี ใี นการใชค้ อมพิวเตอร.์ ....................................................................203
แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยท่ี 6....................................................................................204
- ความหมายของนกั คอมพวิ เตอร.์ .................................................................................206
- บทบาทและหน้าท่ีของนกั คอมพวิ เตอร.์ .....................................................................206
- ความรบั ผิดชอบของนักคอมพวิ เตอร.์ .........................................................................210
- คุณสมบัติของนักคอมพิวเตอร.์ ....................................................................................211
- จรรยาบรรณของนักคอมพิวเตอร.์ ...............................................................................212
- คา่ นิยมทีพ่ ึงประสงคข์ องนักคอมพิวเตอร.์ ................................................................213
- บคุ ลกิ ภาพของนกั คอมพวิ เตอร.์ ...................................................................................214
Web Guide............................................................................................................................215
ใบความร้อู าเซียน หน่วยท่ี 6.............................................................................................216
สรุปเนอ้ื หาสำ� คญั (ผังมโนทัศน)์ ........................................................................................218
ใบงานที่ 6 .............................................................................................................................219
แบบฝกึ หดั หนว่ ยที่ 6..........................................................................................................220
กจิ กรรมบูรณาการจติ อาสา................................................................................................222
กจิ กรรมบรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพียง..............................................................................222
กจิ กรรมบูรณาการอาเซียน................................................................................................222
แบบทดสอบหลงั เรียน หนว่ ยที่ 6.....................................................................................223
บรรณานุกรม ..............................................................................................................................................225

8

หนว ยการเรียนรทู ี่ 1

ความรูเก่ยี วกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศ

สาระสําคญั

เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) หมายถึง การนําเอาเทคโนโลยมี าใช
สรางมูลคาเพิ่มใหกับสารสนเทศ ทําใหสารสนเทศมีประโยชนและใชงานไดกวางขวางมากขึ้น
เทคโนโลยีสารสนเทศรวมไปถงึ การใชเ ทคโนโลยีดา นตา ง ๆ ที่จะรวบรวม จัดเก็บ ใชงาน สงตอ
หรือส่ือสารระหวางกัน เทคโนโลยีสารสนเทศเก่ียวของโดยตรงกับเคร่ืองมือเคร่ืองใชในการ
จัดการสารสนเทศ ไดแก เครื่องคอมพิวเตอรและอุปกรณรอบขาง ข้ันตอน วิธีการดําเนินการ
ซ่ึงเก่ียวของกับซอฟตแวร เก่ียวของกับตัวขอมูล เกี่ยวของกับบุคลากร เกี่ยวของกับกรรมวิธี
การดาํ เนินงาน เพอ่ื ใหขอมลู เกดิ ประโยชนส งู สุด

สมรรถนะประจาํ หนว ย

แสดงความรูเกีย่ วกับหลักการบริหารจัดการความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศ

เร่ืองท่ีจะศึกษา

1. ความหมายของเทคโนโลยสี ารสนเทศ
2. ระบบสารสนเทศคอมพวิ เตอร์
3. ความสำ�าํ คญั ของเทคโนโลยีสารสนเทศ
4. ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
55.. กกาารรบบรรหิหิ าารรจจดัดั กกาารรคคววาามมปปลลออดดภภัยัยขขอองงขข้ออ มมลูลู สสาารรสสนนเเททศศ
66.. กกาารรเเสสรรมิิมสสรรา้างงคคววาามมปปลลออดดภภัยัย
77.. ปปรระะเเภภททขขอองงภภัยยั คคุกกุ คคาามม
8. การรกั ษาความปลอดภัยบนระบบคอมพิวเตอร์

จดุ ประสงคการเรยี นรู ธรรมาภิบาล1เทคโนโลยีสารสนเทศในองคกร

1. อธิบายความหมายของเทคโนโลยสี ารสนเทศได
2. ยกตัวอยางระบบสารสนเทศคอมพวิ เตอรไ ด
3. จําแนกความสาํ คัญของเทคโนโลยสี ารสนเทศได
4. เปรยี บเทียบผลกระทบของเทคโนโลยสี ารสนเทศได
5. บรหิ ารจัดการความปลอดภยั ของขอ มูลสารสนเทศได
6. เสรมิ สรา งความปลอดภัยได
7. วเิ คราะหประเภทของภยั คกุ คามได
8. รกั ษาความปลอดภยั บนระบบคอมพิวเตอรไ ด

IT Governance 1

ความรูเกยี่ วกบั หลักการบรหิ ารจัดการความปลอดภัยเทคโนโลยสี ารสนเทศ

สรุปเน้อื ผหาสังาํ คมญั โน(ผทงั ัศมโนนท์ ศั น)

ระบบสารสนเทศ ความสําคญั ของ
คอมพิวเตอร เทคโนโลยีสารสนเทศ

ความหมายของ ผลกระทบของเทคโนโลยี
เทคโนโลยีสารสนเทศ สารสนเทศ

ความรูเกย่ี วกับหลกั การบรหิ าร
จัดการความปลอดภยั เทคโนโลยี

สารสนเทศ

การรักษาความปลอดภยั การบริหารจัดการความ
บนระบบคอมพวิ เตอร ปลอดภัยของขอมูล
สารสนเทศ

ประเภทของภยั คกุ คาม การเสริมสรา งความ
ปลอดภยั

ธรรมาภิบาลIT2Governance31
เทคโนโลยีสารสนเทศในองคกร

หนวยการเรียนรทู ี่ 1

แบบทดสอบกอ นเรยี น หนว ยท่ี 1

คําสัง่ จงทาํ เคร่ืองหมาย X ทบั ขอทถี่ ูกตองทส่ี ุด

1. ขอ ใด ไมใช สวนประกอบของสารสนเทศ ข. ซอฟตแ วร
ก. ฮารดแวร ง. ขอ มูลขา วสาร
ค. โทรทศั น
จ. การส่ือสาร

2. สวนสําคัญของระบบสารสนเทศคอมพิวเตอรเพ่ือจัดการใหคอมพิวเตอรทํางานได
อยา งมีประสิทธภิ าพคือขอ ใด
ก. ฮารดแวร ข. ซอฟตแวร
ค. เครอื ขา ย ง. กระบวนการทาํ งาน
จ. บุคลากรทางสารสนเทศ

3. ขอใด ไมใ ช ลักษณะทด่ี ขี องขอ มลู ข. มคี วามทนั สมัย
ก. มีความถกู ตอ ง ง. มีความนาเช่ือถอื
ค. มคี วามสวยงาม
จ. มคี วามแมนยํา

4. ขอใดหมายถงึ สารสนเทศ ข. ขอ มลู ทใี่ ชในคอมพิวเตอร
ก. ขอมลู ที่มีจํานวนมาก ๆ ง. ขอ มูลท่ยี งั ไมไดร ับการคดั กรอง
ค. ขอมลู ท่ผี านบุคคลจาํ นวนมาก
จ. ขอ มูลทผ่ี า นการประมวลผล

5. ขอใดไมจัดวาเปนฮารดแวร ข. ขา วสาร
ก. แปน พมิ พ ง. เครื่องพมิ พ
ค. จอภาพ
จ. คอมพิวเตอร

6. ขอ ใดคือซอฟตแ วร ข. เครือ่ งคิดเลข
ก. โปรแกรมคาํ นวณ ง. ขอ มลู ขาวสาร
ค. เคร่อื งพิมพด ีด
จ. คอมพวิ เตอร

ธรรมาภิบาล 2 IT Governance3

เทคโนโลยีสารสนเทศในองคกร

ความรเู กีย่ วกบั หลักการบริหารจัดการความปลอดภัยเทคโนโลยีสารสนเทศ

7. ขอ ใดคือผลบวกของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ก. ชว ยใหผลผลติ ทางอุตสาหกรรมลดลง
ข. ชว ยทาํ ใหสตปิ ญ ญาของมนษุ ยม เี ทาเดมิ
ค. ทําใหเ ศรษฐกจิ ของประเทศไทยไมเจริญ
ง. ทําใหเ กดิ ปญ หาเร่ืองความขัดแยง ความเปนอยู
จ. ชว ยสง เสรมิ ความสะดวกสบายของมนุษย

8. การรกั ษาความปลอดภยั ของขอ มลู สารสนเทศดว ยวธิ ีการเชิงกายภาพคือขอ ใด
ก. การตดิ ตงั้ ระบบรักษาความปลอดภยั ของหอ งเก็บขอ มูล
ข. การกําหนดใหผูใชข อ มลู มรี หัสผา นเพอ่ื การเขา ถงึ ขอ มูลได
ค. การกําหนดสทิ ธิในการเขา ใชขอมูลสารสนเทศท่แี ตกตา งกัน
ง. การรกั ษาความปลอดภยั ของการเขา ใชขอ มลู ตาง ๆ ท่ีมีอยูบนระบบเครอื ขายน้นั ๆ
จ. การรักษาไวซ่งึ ประสิทธิภาพการสงขอ มลู ใหมีอัตราสง คงที่ รวดเร็ว และมีความถกู ตอง

9. ขอ ใดคอื การรักษาความปลอดภัยของขอ มลู สารสนเทศดวยวิธีการเชงิ ตรรกะ
ก. การกําหนดสิทธิในการเขา ใชห อ งเกบ็ ขอ มูล
ข. การตดิ ตั้งระบบรกั ษาความปลอดภัยของหองเกบ็ ขอมูล
ค. การกําหนดใหผูใชข อมลู มรี หสั ผา นเพอื่ การเขา ถึงขอมลู ได
ง. การรกั ษาความปลอดภัยของการเขา ใชข อมูลตาง ๆ ทม่ี ีอยบู นระบบเครอื ขายนั้นๆ
จ. การรักษาไวซ ึ่งประสิทธภิ าพการสงขอมูลใหม ีอตั ราสง คงท่ี รวดเรว็ และมคี วามถกู ตอ ง

10.ขอ ใด ไมใช การรักษาความปลอดภัยของระบบเครอื ขาย
ก. การปองกนั การแพรกระจายของไวรัสคอมพิวเตอร
ข. การตดิ ตั้งระบบรกั ษาความปลอดภัยของหอ งเกบ็ ขอ มูล
ค. การปองกนั ส่งิ แปลกปลอมตา ง ๆ เชน สแปมเมล (spam mail)
ง. การรกั ษาความปลอดภยั ของการเขาใชขอ มลู ตาง ๆ ท่ีมอี ยูบ นระบบเครอื ขา ยนน้ั ๆ
จ. การรักษาไวซ่ึงประสิทธภิ าพการสง ขอมลู ใหมีอัตราสงคงที่ รวดเรว็ และมีความถูกตอง

IT4Governance 3 ธรรมาภบิ าล

เทคโนโลยีสารสนเทศในองคกร

หนวยการเรียนรูท ่ี 1

หนว ยการเรียนรทู ี่ 1

ความรเู กี่ยวกับหลักการบรหิ ารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศ

1. ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยี หมายถงึ การประยกุ ต นาํ เอาความรทู างวทิ ยาศาสตรม าใช และกอ ใหเ กดิ ประโยชน
ในทางปฏิบัติแกมวลมนุษย กลาวคือ เทคโนโลยีเปนการนําเอาความรูทางวิทยาศาสตรมาใชใน
การประดษิ ฐส งิ่ ของตา ง ๆ ใหเ กดิ ประโยชนส งู สดุ สว นทเ่ี ปน ขอ แตกตา งอยา งหนงึ่ ของเทคโนโลยกี บั
วทิ ยาศาสตร คอื เทคโนโลยจี ะขนึ้ อยกู บั ปจ จยั ทางเศรษฐกจิ เปน สนิ คา มกี ารซอ้ื ขาย สว นความรทู าง
วิทยาศาสตรเปนสมบัติสวนรวม มีการเผยแพรโดยไมมีการซ้ือขายแตอยางใด กลาวโดยสรุปคือ
เทคโนโลยีสมัยใหมเกิดข้ึนโดยมีความรูทางวิทยาศาสตรเปนฐานรองรับ บทบาทของเทคโนโลยี
ตอการพฒั นาประเทศไทยไดเ ลง็ เห็นความสาํ คัญของวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีมาเปน ลําดับ เชน
การตราพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาในป พ.ศ. 2514 และจัดต้ังกระทรวง
วทิ ยาศาสตรเ ทคโนโลยแี ละการพลงั งานแหง ชาตขิ น้ึ ในป พ.ศ. 2522 ใหท าํ หนา ทหี่ ลกั ในการเผยแพร
และพฒั นาผลงานทางวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยใี หเ กดิ ประโยชนส งู สดุ ปจ จบุ นั เทคโนโลยมี บี ทบาท
ตอการพัฒนาอยางมาก กลาวโดยสรุปดงั นี้

รูปที่ 1.1 แสดงเทคโนโลยี

ท่ีมา : https://quizizภzา.cพoทmี่ 1/.1adแmสดinงเ/ทqคuโiนzโ/ล5ยbี ea6208b6f689001a5d4286/

เดก็ ควรรู

เทคโนโลยีกอเกิดผลกระทบตอสังคมและในพ้ืนที่ท่ีมีเทคโนโลยีเขาไปเก่ียวของในหลายรูปแบบ
เทคโนโลยีไดช วยใหสงั คมหลาย ๆ แหงเกดิ การพฒั นาทางเศรษฐกิจมากขึ้น ซ่งึ รวมทงั้ เศรษฐกิจโลกในปจ จบุ นั
ในหลาย ๆ ขั้นตอนของการผลิตโดยใชเทคโนโลยีไดกอใหผลผลิตท่ีไมตองการ หรือเรียกวามลภาวะ เกิด
การสูญเสียทรัพยากรธรรมชาติและเปนการทําลายสิ่งแวดลอม เทคโนโลยีหลาย ๆ อยางท่ีถูกนํามาใช
มีผลตอ คานยิ มและวัฒนธรรมของสงั คม เมือ่ มีเทคโนโลยีใหม ๆ เกดิ ข้นึ มักจะถูกตัง้ คาํ ถามทางจรยิ ธรรม

ธรรมาภบิ าล 4 IT Governan5ce

เทคโนโลยีสารสนเทศในองคก ร

ความรูเกยี่ วกับหลกั การบรหิ ารจัดการความปลอดภัยเทคโนโลยีสารสนเทศ

1. เทคโนโลยกี บั การพฒั นาอตุ สาหกรรม การนาํ
เทคโนโลยีมาใชในการผลิตทําใหประสิทธิภาพในการ
ผลิตเพ่ิมขึ้น ประหยัดแรงงาน ลดตนทุน และรักษา
สภาพแวดลอม เทคโนโลยีที่มีบทบาทในการพัฒนา
อุตสาหกรรมในประเทศไทย เชน คอมพิวเตอรและ
อิเล็กทรอนกิ ส การส่ือสาร เทคโนโลยีชีวภาพและ
พนั ธกุ รรม วศิ วกรรม เทคโนโลยเี ลเซอร การสอื่ สาร
การแพทย เทคโนโลยพี ลงั งาน เทคโนโลยวี สั ดศุ าสตร รูปท่ี 1.2 แสดงเทคโนโลยกี บั การแพทย์
เชน พลาสติก แกว วัสดุกอ สราง โลหะ เปน ตน ทมี่ า : httpภาsพ:/ท/t่ี h2.i2pcแaสnดcงเeทrค.wโนoโลrdยpกี ับreกsารsพ.cฒั oนmา

คําถาม เทคโนโลยีชวี ภาพหมายถึง?
คาํ ตอบ เทคโนโลยชี วี ภาพ (Biotechnology) เปนความรหู รือวิชาการท่ีสามารถนาํ สิ่งมชี วี ติ

หรือผลผลิตจากส่ิงมีชีวิตมาใช หรือมาปรบั เปลีย่ นและประยกุ ตเพอื่ ใชป ระโยชน เรารจู กั การใชเทคโนโลยี
ชวี ภาพมานานแลว การทาํ นําป้ ลา ซีอว๊ิ การหมกั อาหาร หมักเหลา ลวนเปนเทคโนโลยีชวี ภาพแบบดง้ั เดมิ
เชนเดียวกับการปรับปรุงพันธุพืช สัตว ใหมีผลผลิตมากข้ึน มีคุณภาพดีขึ้น หรือการนําสมุนไพรมาใช
รกั ษาโรค บาํ รงุ สขุ ภาพ กจ็ ดั วา เปน เทคโนโลยชี วี ภาพแบบดัง้ เดมิ

2. เทคโนโลยกี บั การพฒั นาดา นการเกษตร ใชเ ทคโนโลยี
ในการเพ่ิมผลผลติ ปรับปรุงพนั ธุ เปน ตน เทคโนโลยีมีบทบาท
ในการพัฒนาอยางมาก ท้ังนี้ การนําเทคโนโลยีมาใชในการ
พัฒนาจะตอ งศึกษาปจ จัยแวดลอมหลายดาน เชน ทรพั ยากร
สิ่งแวดลอม ความเสมอภาคในโอกาส และการแขงขันทาง
เศรษฐกิจและสังคม เพ่ือใหเกิดความผสมกลมกลืนตอการ
พัฒนาประเทศชาตแิ ละสว นอื่น ๆ รปู ที่ 1hภt.t3าpพsแท:/่ี/ส1w.ด3uงtแtเhสดทiดcา คนงhเaกโทนiา4คร8โโเนกล4โษ6ยลต.wยกี รีกoบั ับrกdกาpารrรพeเsัฒกsน.ษcาoตmร

ทม่ี า :

สารสนเทศ หมายถึง ขอมูลท่ีเปนประโยชนตอการ
ดําเนินชีวิตของมนุษย สารสนเทศเกิดจากการนําขอมูลผาน
ระบบการประมวลผล คาํ นวณ วเิ คราะห และแปลความหมาย
เปน ขอความอยางเปน ระบบตามหลักวิชาการทีส่ ามารถนาํ ไป
ใชป ระโยชนไ ด เชน ระบบสอื่ สารผา นดาวเทยี มหรอื สญั ญาณ
ระบบตา ง ๆ การสรา งเครือขายคอมพิวเตอรระบบดาวเทยี ม รปู ท่ี 1.4 แสดงการกดเงนิ ผา่ นระบบมอื ถอื
การจองตั๋วเครอื่ งบิน การกดเงนิ จาก ATM เปนตน ทม่ี า : https://droidsans.com

ภาพที่ 1.4 แสดงการกดเงนิ จาก ATM การเกษตร

IT6Governance 5 ธรรมาภิบาล

เทคโนโลยีสารสนเทศในองคกร

หนว ยการเรยี นรทู ่ี 1

คาํ ถาม องคประกอบของระบบสารสนเทศมกี ่อี งคป ระกอบ อะไรบา ง?
คําตอบ มี 5 องคประกอบ ไดแก ฮารดแวร ซอฟตแวร ขอมูล บุคลากร และข้ันตอน

การปฏบิ ตั งิ าน

เทคโนโลยีสารสนเทศ Information Technology หรือ IT คือ การประยุกตความรูทาง
วิทยาศาสตรมาใชในระบบสารสนเทศ ต้ังแตกระบวนการจัดเก็บ ประมวลผล และการเผยแพร
สารสนเทศ เพ่ือชวยใหไ ดสารสนเทศท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพและรวดเร็วทนั ตอเหตกุ ารณ โดยเทคโนโลยี
สารสนเทศอาจประกอบดว ย

ภาพที่ 1.5 แสดงทเทีม่รคาปูโนท:โลhี่ ย1tีสt.pา5ร:/ส/แนwเสwทดศwงI.ncเfทgordคmeโasนtiigoโnnล.Tยineีส.cthhาn/รgoสluoนigdyเeทห.pรศhือpIT อุตสาหกรรม

1. เครอื่ งมอื และอปุ กรณต า ง ๆ เชน เครอื่ งคอมพวิ เตอร เครอ่ื งใชส าํ นกั งาน อปุ กรณส อื่ สาร
โทรคมนาคมตา ง ๆ รวมทง้ั ซอฟทแ วรท ง้ั แบบสาํ เรจ็ รปู และแบบพฒั นาขน้ึ เพอ่ื ใชใ นงานเฉพาะดา น
ซงึ่ เคร่ืองมอื เหลานี้จัดเปน เครอ่ื งมือทันสมัยและใชเ ทคโนโลยรี ะดับสงู (High Technology)

รปู ท่ี 1.6 แสดงโทรคมนาคมตา่ ง ๆ

ท่มี า : httpภ:า/พ/sทo่ี 1ri.6taแmสaดnงเgคmรอ่ื eงeม2ือแ.bลlะoอgุปsกpรoณtต.cาoงmๆ/2016/05

เดก็ ควรรู

การสื่อสารขอมูล หมายถึง การโอนถาย (Transmission) ขอมูลหรือการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวาง
ตน ทางกบั ปลายทาง โดยใชอ ปุ กรณท างอเิ ลก็ ทรอนกิ สห รอื เครอื่ งคอมพวิ เตอร ซงึ่ มตี วั กลาง เชน ซอฟตแ วร
คอมพิวเตอรสําหรับควบคุมการสงและการไหลของขอมูลจากตนทางไปยังปลายทาง นอกจากนี้อาจจะมี
ผูร ับผดิ ชอบในการกาํ หนดกฎเกณฑในการสงหรอื รบั ขอมูลตามรปู แบบท่ตี องการ

ธรรมาภบิ าล 6 IT Governan7ce

เทคโนโลยสี ารสนเทศในองคกร

ความรเู ก่ียวกบั หลักการบรหิ ารจัดการความปลอดภัยเทคโนโลยสี ารสนเทศ

2. กระบวนการในการนาอุปกรณเคร่ืองมือตาง ๆ ขางตนมาใชงาน เพ่ือรวบรวม จัดเก็บ
ประมวลผล และแสดงผลลัพธเปนสารสนเทศในรูปแบบตาง ๆ ที่สามารถนําไปใชประโยชนได
ตอ ไป เชน การจัดเกบ็ ขอมูลในลักษณะของฐานขอ มลู เปนตน

ภาพที่ 1ร.7ปู แทส่ี ด1ง.ร7วบแรวสมดจงัดกเกาบ็ รปจรัดะมเกวล็บผขล้อแมละูลแใสนดงลผกั ลษลพั ณธเะปนขสอางรสฐนาเนทศขในอ้ รมูปลูแบบตาง ๆ

ทม่ี า : https://tgypa.wordpress.com

เทคโนโลยีสารสนเทศจึงมีความหมายที่กวางขวางรอบ ๆ ตัวที่เก่ียวกับการใชสารสนเทศ
อยูม าก ดังน้ี

1. การเก็บรวบรวมขอมูล เปนวิธีการรวบรวมขอมูลเขาสูระบบ นักเรียนอาจเห็นพนักงาน
การไฟฟาไปที่บานพรอมเครื่องคอมพิวเตอรขนาดเล็กเพื่อบันทึกขอมูลการใชไฟฟาในการสอบท่ีมี
ผเู ขา สอบจาํ นวนมากกม็ ีการใชดนิ สอดาํ ระบายตามชองทเี่ ลอื กตอบ เพอ่ื ใหเ คร่ืองอา นเกบ็ รวบรวม
ขอ มลู ได เมื่อไปซือ้ สนิ คา ทห่ี างสรรพสินคา กม็ กี ารใชรหสั แทง (bar code) พนักงานจะนําสินคา
ผา นการตรวจของเครอื่ งอา นรหสั แทง เพอื่ อา นขอ มลู การซอื้ สนิ คา เมอื่ ไปทหี่ อ งสมดุ กพ็ บวา หนงั สอื
มรี หสั แทง เชน เดยี วกนั การใชร หสั แทง นเ้ี พอ่ื ใหง า ยตอ การจดั การขอ มลู จะเหน็ ไดว า การเกบ็ รวบรวม
ขอ มลู จากคอมพิวเตอรสามารถเกบ็ ไดห ลายแบบ

รปู ท่ี 1.8 แสดงการใช้รหัสแท่ง bar code

ทมี่ า : http://www.quinl.cภoาพmท/ี่p1r.8odแuสcดงtIกmารaใgชรeหsัส/Uแทpง lo(abadrImcoadgee) sอ/ุต1ส7า0ห4ก/ร1ร4ม92591152_14711.jpg

IT8Governance 7 ธรรมาภิบาล

เทคโนโลยสี ารสนเทศในองคก ร

หนวยการเรียนรูที่ 1

เดก็ ควรรู

บารโคดถูกใชเปนครั้งแรกเพ่ือติดปายกํากับรถรางแตก็ไมประสบผลสําเร็จในเชิงพาณิชย จนกระท่ัง
ระบบ ณ จุดขายอตั โนมตั ใิ นซูเปอรม ารเ ก็ตไดนําบารโคดไปใช ซ่ึงเปน งานหนึง่ ที่ทาํ ใหบารโ คด แพรหลายไป
เกอื บทัว่ โลก การใชงานบารโคดก็แพรกระจายไปยังงานอ่นื ๆ ท่มี กั เก่ียวขอ งกบั การระบุและการจับขอมลู
อตั โนมตั ิ (automatic identification and data capture: AIDC) บารโ คด สมยั ใหมใ นรปู แบบรหสั ผลติ ภณั ฑ
สากล (Universal Product Code: UPC) อันแรกสดุ ท่ีถูกอา น คือบารโ คดท่ตี ิดอยูบนหอหมากฝรง่ั รกิ ลีย
เมอื่ เดือนมิถุนายน ค.ศ. 1974

2. การประมวลผล ขอ มูลทเ่ี ก็บมาไดม กั จะเกบ็ ในส่อื ตาง ๆ เชน แผนบันทกึ แผนซีดี และ
เทป ขอมูลเหลานี้จะถูกนํามาประมวลผลตามความตองการ เชน แยกแยะขอมูล เปนกลุม
เรยี งลําดับขอมูล คํานวณ หรอื จัดการคัดแยกขอ มูลท่ีจดั เกบ็ น้ัน

รปู ทภี่า1พท.9่ี 1.แ9 สแสดดงงกกาารรปประรมะวลมผวลลขอผมลูลทขเ่ี กอ้ ็บมมาูลไดทมี่เกั กจ็บะเมก็บาใไนดสือ่ใ้ ตนาแง ผๆ่นซีดี

ท่ีมา : https://www.jib.co.th

3. การแสดงผลลพั ธ คอื การนาํ ผลจากการประมวลผลทไ่ี ด มาแสดงผลลัพธใ หอยใู นรปู แบบ
ตาง ๆ อปุ กรณทใ่ี ชในการแสดงผลลัพธม มี าก สามารถแสดงเปน ตวั หนังสอื รปู ภาพ ตลอดจนพิมพ
ออกมาทีก่ ระดาษ การแสดงผลลพั ธม ที ้ังท่ีแสดงเปน ภาพ เสียง และวีดทิ ศั น เปน ตน

รปู ที่ 1.10 แสดงการแสดงผลลพั ธ์ในรปู แบบของภาพ

ท่ีมา : http://www.ภrdาพ.aทcี่ .1t.h2/0wแoสrดkง2ก5า5รแ5ส/mดงyผwลลeพั bธ/html/unit2_1.htm

คําถาม วีดทิ ศั น คือ อะไร?
คําตอบ ภาพหรอื อะไรกไ็ ดท เ่ี กยี่ วขอ งกบั การแสดงภาพ ในทางคอมพวิ เตอร จงึ หมายถงึ อปุ กรณ

ตาง ๆ ท่จี ะชวยทาํ ใหม ีการแสดงภาพบนจอได ไมว า จะเปน โปรแกรมเก่ียวกบั ภาพ จานบนั ทึกที่ใชเกบ็ ภาพ
หนวยประมวลผลที่สามารถประมวลผลภาพได เรามักใชคํานี้นําหนาคําอ่ืน เชน video disk, video
conference เปน ตน

ธรรมาภบิ าล 8 IT Governan9ce

เทคโนโลยีสารสนเทศในองคก ร

ความรเู กยี่ วกับหลักการบริหารจดั การความปลอดภัยเทคโนโลยีสารสนเทศ

4. การทําสาํ เนา เมื่อมีขอมูลท่ีจัดเกบ็ ในส่อื อเิ ล็กทรอนกิ สต า ง ๆ การทําสาํ เนาจะทําไดงาย
และทําไดเปนจํานวนมาก อุปกรณท่ีชวยในการทําสําเนาจัดไดวาเปนเทคโนโลยีสารสนเทศอีก
ประเภทหน่ึงทีม่ กี ารพฒั นามาอยางตอเนือ่ ง เรามีเครือ่ งพมิ พ เคร่อื งถา ยเอกสาร อุปกรณการเก็บ
ขอ มลู ทางอเิ ล็กทรอนกิ ส เชน แผนบันทึก ซดี ีรอม ซึ่งสามารถทําสําเนาไดเ ปนจํานวนมาก

รูปท่ี 1.1ท1ี่มาแ:สhดttภงpาก:พ/า/ทwร่ี 1wท.1�ำw1ส.pแำ� สoเดoนงnกาtาaโรดnทaยาํ ส.cเาํคoเน.รtาhือ่ /งreถnา่ tยalเอกสาร

5. การส่ือสารโทรคมนาคม เปนวิธีการท่ีจะสงขอมูลหรือขาวสารจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หน่ึง
หรือกระจายออกไปยังปลายทางคร้ังละมาก ๆ ปจจุบันมีระบบสื่อสารโทรคมนาคมหลายประเภท
ต้ังแตโทรเลข โทรศัพท โทรสาร วิทยุ โทรทัศน และเครือขายคอมพิวเตอรที่มีรูปแบบของสื่อ
หลายอยา ง เชน สายโทรศพั ท เสน ใยนาํ แสง เคเบลิ ใตน าํ้ คลนื่ วทิ ยุ ไมโครเวฟ และดาวเทยี ม เปน ตน

รูปที่ 1.12 แสดงการสอื่ สารโทรคมนาคมดาวเทียม

ภทา่มี พาท่ี :1.h2t2tpแsส:ด//งwกาwรสwือ่ .gสาisรtโdทaรค.oมrน.tาhคม

เด็กควรรู 2. ผูร บั ขอมูล (Receiver)
4. สอื่ นําขอ มูล (Medium)
องคป ระกอบของการส่ือสาร
1. ผสู งขอมูล (Sender)
3. ขอมลู (Data)
5. โปรโตคอล (Protocol)

1IT0Governance 9 ธรรมาภิบาล

เทคโนโลยสี ารสนเทศในองคกร

หนวยการเรยี นรูท่ี 1

2. ระบบสารสนเทศคอมพวิ เตอร

ระบบสารสนเทศคอมพิวเตอรประกอบดวยสวนประกอบหลกั 6 สว น คือ
1. ฮารด แวร (Hardware) หมายถึง เคร่ืองคอมพวิ เตอรและอุปกรณต อพวง เชน แปนพมิ พ
เมาส หนวยประมวลผลกลาง จอภาพ เคร่ืองพิมพ และอุปกรณอ่ืน ๆ ฮารดแวรจะทํางานตาม
โปรแกรมหรอื ซอฟตแวรท่เี ขยี นข้นึ

รูปทท่มี ภ่ี า1าพ.:1ทh3่ี 1tt.1pแ3sส:แ/ด/สaงดrงฮwฮาsารรeด ด์t.แwแวoรวrร(dH์ pa(rrHdewsasarr.dce)owma/re)

2. ซอฟตแวร (Software) บางคร้ังเรียกวาโปรแกรมหรือชุดคําสั่ง วัตถุประสงคหลักของ
ซอฟตแ วรท สี่ งั่ ใหฮ ารด แวรท าํ งาน คอื การประมวลผลขอ มลู (Data) ใหเ ปน สารสนเทศ (Information)

ที่มา : https://mindร4ปู 2ท.cภี่ o1าmพ.1ท/4่ีp1u.1แb4สliแcดส/0งดdงซซfอdอฟbฟต2ตแ9์แว5ร-ว 1(รSa์o1(f6Stw-o4ar7fet7)w9a-br5e3)7-94bc34015104

3. ขอ มลู หรอื ขา วสารสนเทศ (Data หรอื Information) ในการประมวลผลขอ มลู คอมพวิ เตอร
จะประมวลผลตามขอมลู หรอื ขอมูลสารสนเทศทป่ี อ นเขา สูหนว ยรับขอ มูล ดังนัน้ ขอมูลจึงเปน สว น
สําคญั อยา งหน่งึ ในการประมวลผลเพือ่ ใหไ ดส ารสนเทศเพอ่ื การตดั สินใจ

ธรรมาภบิ าล รูปท่ี 1.15 แสดงข้อมูลหรอื ข่าวสารสนเทศ IT Governa1nc1e

เทคโนโลยสี ารสนเทศในองคก ร ภาพท่ี 1.15 แสดงทกมี่าราส่ือ: สhาtรtแpลsะ:/เ/คcรdือtข.าwยu(.Taecle.tchommunication)

10

ความรูเกี่ยวกบั หลกั การบรหิ ารจดั การความปลอดภัยเทคโนโลยีสารสนเทศ

คาํ ถาม เทคโนโลยีคมนาคมและการสื่อสารนํามาประยุกตใชเพื่อพัฒนาและปรับปรุง
การดําเนินงานทางธรุ กจิ โดยมีวตั ถปุ ระสงคอะไรบา ง?
คาํ ตอบ มวี ตั ถุประสงคห ลกั 4 ประการดังนี้
1. เพ่อื การสื่อสารทางธรุ กิจท่ดี ขี ึ้น 2. เพอ่ื ใหก ารดําเนนิ งานมปี ระสิทธิภาพสูงขึน้
3. เพื่อการกระจายขอมูลทด่ี ีขึน้ 4. เพอื่ การจดั การกระบวนการธุรกิจที่สะดวกขึ้น

5. กระบวนการทาํ งาน (Procedure) เปน ขนั้ ตอนการทาํ งานเพอื่ ใหไ ดผ ลลพั ธห รอื ขอ มลู สารสนเทศ
จากคอมพวิ เตอร ในการทาํ งานกบั คอมพวิ เตอรจ าํ เปน ทผี่ ใู ชจ ะตอ งเขา ใจขน้ั ตอนการทาํ งานเพอ่ื ใหไ ดง าน
ทถ่ี กู ตองและมีประสิทธภิ าพ

รูปที่ 1.15 แสดงขอ้ มลู หรอื ขา่ วสารสนเทศ

ท่ีมา : http://www.thaigooภdาพvทie่ี w1.1.c6oแmสด/lงibกrรaะrบyว/นcกoาnรtทeาsงtา2น5(5P3ro/tcyepdeur2e/)tech04/43/__10.html

6. บุคลากรทางสารสนเทศ (Information systems personnel) เปน สว นท่ีสาํ คัญของระบบ
สารสนเทศคอมพิวเตอร เพื่อจัดการใหคอมพิวเตอรทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ ตลอดจนทํางาน
รว มกบั ผใู ชอยา งใกลช ิด

1IT2Governance รปู ที่ 1.15 แสดงข้อมลู หรอื ข่าวสารสนเทศ ธรรมาภิบาล

ที่มา : http:ภ/า/wพทw่ี 1w.1.k7rแuสnดoงnบgคุ lลaาkก.cรทoาmงส/2าร0ส1น7เ/ท1ศ0/25.html เทคโนโลยีสารสนเทศในองคก ร

11

หนว ยการเรียนรทู ี่ 1

3. ความสาํ คญั ของเทคโนโลยีสารสนเทศ
สามารถอธบิ ายความสาํ คญั ของเทคโนโลยสี ารสนเทศ
ในดานที่มีผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมดาน
ตา ง ๆ 6 ขอ ดังตอ ไปนี้
1. เทคโนโลยีสารสนเทศทําใหสังคมเปล่ียนจากสังคม
อุตสาหกรรมมาเปนสังคมสารสนเทศ
2. เทคโนโลยสี ารสนเทศทาํ ใหร ะบบเศรษฐกิจ
เปลย่ี นจากระบบแหง ชาติไปเปนเศรษฐกิจโลก ท่ีทําให รภูปาพทที่ ี่ 11ท..11ีม่88าแส:แดhสงtคtดpวงา:/มค/สwวาํ wาคญัมwขส.pอำ�งraเคทkญัคkโlนขaโnอลgยง.ีสเcาทoรmคสนโเนทโศลยี

ระบบเศรษฐกจิ ของโลกผกู พนั กบั ทกุ ประเทศ ความเชอื่ มโยงของเครอื ขา ยสารสนเทศทาํ ใหเ กดิ สงั คม
โลกาภวิ ตั น
3. เทคโนโลยสี ารสนเทศทาํ ใหอ งคก รมลี กั ษณะผกู พนั มกี ารบงั คบั บญั ชาแบบแนวราบมากขนึ้
หนว ยธรุ กจิ มขี นาดเลก็ ลง และเชอ่ื มโยงกบั หนว ยธรุ กจิ อนื่ เปน เครอื ขา ย การดาํ เนนิ ธรุ กจิ มกี ารแขง ขนั
กันในดานความเร็ว โดยอาศัยการใชระบบเครือขายคอมพิวเตอร และการสื่อสารโทรคมนาคม
เปนตัวสนบั สนุน เพ่อื ใหเ กดิ การแลกเปลี่ยนขอ มูลไดง า ยและรวดเร็ว
4. เทคโนโลยสี ารสนเทศเปน เทคโนโลยแี บบสนุ ทรยี สมั ผสั และสามารถตอบสนองตามความ
ตอ งการการใชเ ทคโนโลยใี นรปู แบบใหมที่เลอื กไดเ อง
5. เทคโนโลยสี ารสนเทศทาํ ใหเ กดิ สภาพทางการทางานแบบทกุ สถานท่แี ละทกุ เวลา
6. เทคโนโลยีสารสนเทศกอใหเกดิ การวางแผนการดาํ เนินการระยะยาวขน้ึ อีกทัง้ ยังทาํ ใหว ถิ ี
การตดั สินใจหรอื เลอื กทางเลือกไดล ะเอียดขึ้น

ธรรมาภิบาล รูปที่ 1.19 แสดงความสำ� คญั ของเทคโนโลยี IT Governa1nc3e

เทคโนโลยีสารสนเทศในองคกร ทม่ี า : http://www.prakklang.com

ภาพท่ี 1.19 แสดงความสาํ คญั ของเทคโนโลยีสารสนเทศ

12

ความรเู กย่ี วกับหลกั การบริหารจดั การความปลอดภัยเทคโนโลยีสารสนเทศ

เดก็ ควรรู
ขอ ดขี องเทคโนโลยสี ารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศมีเปาหมายกําหนดไวด งั นี้
1. เพิม่ ประสิทธิภาพการทํางาน 2. เพม่ิ ผลผลติ
3 .เพิม่ คณุ ภาพบรกิ ารลกู คา 4. ผลติ สนิ คาใหมแ ละขยายผลผลติ
5. สามารถสรา งทางเลือกเพือ่ แขงขันได 6. สรางโอกาสทางธุรกิจ
7. ดึงดดู ลกู คา และปอ งกันคูแขง

4. ผลกระทบของเทคโนโลยสี ารสนเทศ
การขยายตัวของเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศมีการขยายตัวอยางรวดเร็ว
ขีดความสามารถในการใชงานเพิ่มข้ึน ขณะเดียวกันก็มีราคาถูกลง มีการประยุกตใชงานอยาง
กวางขวาง จนกลาวไดวา เทคโนโลยีสารสนเทศเขามามีสวนเกี่ยวของกับมนุษยทุกคนไมทางตรง
ก็ทางออ ม ยกตวั อยางประเทศสหรัฐอเมรกิ าท่ีมกี ารเปล่ียนแปลงอยางเหน็ ไดชดั โดยในอดีตสหรฐั
เปน ประเทศเกษตรกรรม มผี ลผลิตทางดา นการเกษตรเปน สินคา หลัก ตอมาเปลย่ี นแปลงโครงสรา ง
การผลติ เปน ประเทศอุตสาหกรรม ปรมิ าณสัดสว นของสนิ คาดานอตุ สาหกรรมเพิ่มข้นึ อยางรวดเรว็
และในปจจุบันโครงสรางการผลิตของสหรัฐ เนนไปที่ธุรกิจการใหบริการและการใชสารสนเทศ
กนั มาก ทาํ ใหส ดั สว นการผลติ สนิ คา เกษตรลดลงไมถ งึ 5% ของสนิ คา ทงั้ หมด สว นสนิ คา อตุ สาหกรรม
มีมูลคานอยกวาอุตสาหกรรมบริการ ซึ่งใชขอมูลขาวสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเปนหลัก
หากมองภาพการใชคอมพิวเตอรและระบบสื่อสารทั่วไปของโลก ปจจุบันมูลคาของสินคาทางดาน
เทคโนโลยีสารสนเทศไดขยายตัวอยางรวดเร็ว ซ่ึงประเทศท่ีพัฒนาแลว 10 ประเทศ มีสัดสวน
การใชคอมพิวเตอรมากถงึ กวา 90% ของปริมาณการใชคอมพิวเตอร
ทวั่ โลก ประเทศท่ีพฒั นาแลว 10 อนั ดับ ไดแก สหรฐั อเมริกา
แคนาดา ญี่ปุน เยอรมนี ฝรั่งเศส อังกฤษ เนเธอรแลนด
สวิตเซอรแลนด เดนมารก และแอฟริกาใต ถาพิจารณา
บรษิ ทั ผผู ลติ สนิ คา ทางเทคโนโลยสี ารสนเทศพบวา ประเทศ
ผูผลิตเพ่ือสงออกขายมีเพียงไมกี่ประเทศ ประเทศเหลานี้
สว นมากมีเทคโนโลยขี องตนเอง มกี ารคนคิด วิจยั และพัฒนา รปู ที่ 1.20 แสดงผลกระทบของ
ภาพเทที่ ค1.โ2น0 โแลสยดงสี อานิ รเทสอนรเเนท็ตศ
สินคาใหกาวหนาอยูตลอดเวลา จากความกาวหนาของคอมพิวเตอร ทมี่ าม:อี hัตtรtpากsา:/ร/ขwยwายwต.วัmสูง-มcาuกlture.go.th
และเครื่องมือส่ือสารทําใหอุปกรณตาง ๆ มีขนาดเล็กลง แตมีความสามารถเพิ่มข้ึน และมีราคา
ถกู ลงจนผูที่สนใจสามารถหาซ้อื มาใชไ ด จนแทบกลา วไดวาบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศจะเขา มา
มีสวนในทุกบาน เพราะเคร่ืองใชอํานวยความสะดวกตาง ๆ ลวนแลวแตมีสวนประกอบของ
คอมพิวเตอร และระบบสือ่ สารอยูดว ยเสมอ

ธรรมาภิบาล1IT4Governance 13
เทคโนโลยสี ารสนเทศในองคกร

หนว ยการเรียนรูท ่ี 1

ปจจุบันคอมพิวเตอรและระบบส่ือสารไดสรางประโยชนอยางใหญหลวงตอวงการทางธุรกิจ
ทําใหทุกธุรกิจมีการลงทุน ขยายขอบเขตการใหบริการ โดยใชระบบสารสนเทศกันมากข้ึน กลไก
เหลา นที้ าํ ใหโ อกาสการขยายตวั ของเทคโนโลยสี ารสนเทศกวา งขวางเพมิ่ ขน้ึ นอกจากนกี้ ารเชอ่ื มโยง
เครือขายคอมพิวเตอรทําใหสังคมโลกเปนสังคมแบบไรพรมแดน การใชงานเครือขายคอมพิวเตอร
เชน อินเทอรเน็ต มีอัตราการขยายตัวสูงมาก จนกลาวไดวาเปนอัตราการขยายตัวแบบทวีคูณ
จนเชื่อแนวาภายในระยะเวลาอีกไมนานผูคนบนโลกสามารถติดตอส่ือสารกันผานทางเครือขาย
อินเทอรเ น็ตไดหมด
ผลกระทบในทางบวก
ผลกระทบในทางบวกหากยอนยุคไปในอดีตตั้งแตการประดิษฐคอมพิวเตอรขึ้นเมื่อปลาย
สงครามโลกครัง้ ท่ี 2 คอมพวิ เตอรในยุคแรกเนน การออกแบบเพอื่ เปน เครื่องจักรชว ยคํานวณ เพอ่ื
ใหก ารคาํ นวณทางคณติ ศาสตรท ม่ี คี วามยงุ ยากซบั ซอ นทาํ ไดง า ยและรวดเรว็ ขน้ึ คอมพวิ เตอรเ ครอื่ ง
แรก ๆ ของโลกสว นใหญส รางในมหาวทิ ยาลัย มจี ดุ มุง หมายเพือ่ เปนเคร่อื งคาํ นวณอิเลก็ ทรอนิกส
การนาํ คอมพวิ เตอรม าใชเ ปนเครอ่ื งคาํ นวณทาํ ใหเ กดิ การคน ควา ทางวชิ าการ เชน การวเิ คราะหเ ชงิ
ตวั เลข การแกสมการหลาย ๆ ชั้นทม่ี ีตวั แปรจํานวนมาก การนําคอมพวิ เตอรไ ปใชใ นการคํานวณ
ทางสถิติ ชวยทาํ ใหการสาํ รวจสํามะโนประชากรทําไดร วดเร็ว การใชคอมพิวเตอรเ พอ่ื การคาํ นวณ
ทาํ ใหเ กิดการพัฒนาซอฟตแวรต วั แปลภาษาที่เนน การคํานวณเปนหลัก เชน ภาษาฟอรแ ทรน ภาษา
เบสิก การใชคอมพิวเตอรเพื่อการคํานวณยังคง
ดาํ เนนิ ตอ มาจนถงึ ปจ จบุ นั โดยเฉพาะงานคาํ นวณใน
ปจ จุบันมีความสลบั ซบั ซอ นยิ่งขน้ึ เชน การคํานวณ
มวลของอากาศท่ีเคลื่อนไหวบนผิวโลก ทําใหเกิด
การพยากรณอากาศลวงหนาได ในชวงหลังจากป
พ.ศ. 2500 การดําเนนิ งานในวงการธุรกิจตอ งการใช
เครื่องจักรชวยมากข้ึน คอมพิวเตอรในยุคนี้เนน ครอปู มทพี่ 1ิว.เ2ต1อแร์ใสนดกงากราปรรปะรมะวยลกุ ผตลใ์ ชขอ้ง้ ามนลู
ในเร่ืองการประมวลผลขอมูล (data processing)
ภทา่มีพาท่ี :1.h21ttpแsปส:ดร//งะbผโลeยกnชรjนaะทrข์ oบอnใงนgคทsอาaงมmบพว.wวิกเเoทตrคอdโรนp์โrลeยsสี sา.cรสoนmเท/ศ
การประมวลผลขอมูล หมายถึง การนําขอมูลมาทําใหเปนสารสนเทศ มีการพัฒนาตัวแปลภาษา
ที่เหมาะสมกับงานประมวลผลขอมลู ไดแ ก ภาษาโคบอล เปนภาษาที่เหมาะกับการประยุกตใ ชงาน
การประมวลผลขอ มูล และยงั คงนยิ มตอ มา
งานทางดานธุรกิจสว นใหญม ุง ท่จี ะใหคอมพิวเตอรช ว ยประมวลผลขอมลู ท่ีมจี าํ นวนมาก เชน
ชวยคํานวณสถิติขอมูลของบริษัท ชวยจัดการเร่ืองขอมูลบัญชี ขอมูลสินคาคงคลัง และวัตถุดิบ
การตดิ ตามและการเรยี กเกบ็ หนส้ี นิ ตา งๆ คอมพวิ เตอรย งั มปี ระโยชนอ ยา งใหญห ลวงในวงการธรุ กจิ
หลังจากท่บี รษิ ัทอินเทลไดส รา งไมโครโพรเซสเซอรส าํ เรจ็ ในป พ.ศ. 2518 การใชง านคอมพิวเตอร

ธรรมาภิบาล 14 IT Governa1nc5e

เทคโนโลยีสารสนเทศในองคก ร

ความรูเก่ยี วกบั หลักการบริหารจัดการความปลอดภัยเทคโนโลยสี ารสนเทศ

เขามามีบทบาทในธุรกิจขนาดเล็ก และในที่สุดก็มีคอมพิวเตอรสวนบุคคล ยุคของการประมวลผล
กา วมาสยู คุ งานสารสนเทศ มกี ารมองระบบขอ มลู ในรปู แบบการใชง านทก่ี วา งขวางกวา เดมิ มรี ะบบ
การประมวลผลแบบเชอ่ื มตรงเรยี กคน ขอ มลู ทต่ี อบโตไ ดท นั ที ผใู ชค อมพวิ เตอรพ บวา สารสนเทศทไ่ี ด
จากการใชค อมพวิ เตอรเ พอ่ื คาํ นวณ แยกแยะ จดั การกบั ขอ มลู มปี ระโยชนอ ยา งยงิ่ ในเรอ่ื งการวางแผน
การจดั การ การควบคมุ งานในหนว ยงาน ทาํ ใหผ บู รหิ ารไดป ระโยชนจ ากการใชข อ มลู ในการวางแผน
แขง ขนั กบั หนว ยงานอนื่ ได การพฒั นาระบบสารสนเทศจงึ แพรก ระจายไปในองคก าร เพอ่ื ใหอ งคก าร
มรี ะบบการจดั การท่ใี ชขอมูลอยา งเตม็ ที่
ตอมาในระยะหลังป พ.ศ. 2530 พบวาระบบสารสนเทศมีประโยชนมาก แตมีจุดออนบาง
ประการ เชน สารสนเทศทงั้ หลายทไี่ ดม าจากขอ มลู นนั้ ยงั ไมส ามารถชว ยผบู รหิ ารตดั สนิ ใจไดโ ดยตรง
จึงเกิดความตอ งการใหไดร ะบบทช่ี วยเสริมการทํางานของผูบริหาร ชว ยสนับสนนุ การตดั สนิ ใจของ
ผูบริหาร มีลักษณะการรวบความรอบรู เกิดการประมวลผลความรอบรู แมจะมีการพัฒนาให
คอมพวิ เตอรชว ยงานตา ง ๆ ไดม ากแลว ก็ตาม แตย งั ตองพฒั นาใหใชงานไดดยี งิ่ ขน้ึ อีก พฒั นาการ
ของคอมพวิ เตอรช ว ยใหก ารทาํ งานของมนษุ ยด ขี นึ้ ทาํ ใหม นษุ ยส ามารถนาํ ความรแู ละประสบการณ
ตาง ๆ มารวมไวเปนหมวดหมู วิวัฒนาการเหลานี้ยอม
ทาํ ใหเ กดิ ผลกระทบตอ สงั คมอยา งมากมาย ซงึ่ มผี กู ลา ววา
สังคมโลกกําลงั อยูในยุคของการปฏวิ ัติ ครัง้ ท่ี 3 ครงั้ แรก
เกดิ เมอ่ื มนษุ ยค ดิ คน วธิ กี ารทางการเกษตร สามารถปลกู พชื
เลีย้ งสตั ว ซง่ึ เปลย่ี นการเรร อนของมนษุ ยใหม าต้ังถิ่นฐาน
เพ่ือทําการเกษตร ตอมาเกิดการปฏิวัติทางอุตสาหกรรม
ทําใหเกิดระบบการผลิตและเกิดโรงงานอุตสาหกรรมข้ึน รูปท่ี 1.22 แสดงการส่อื สารทช่ี ่วยให้สื่อสาร
มากมาย มีการรวมกลมุ เปน สังคมเมอื ง และปจจบุ ันกําลงั ภาพท่ี 1.22 อแยสดา่ งงกรารวสดอ่ื เสราร็วทไีใ่ รห้พขารวมสาแรอดยนางรวดเร็ว

ทม่ีจนาท:าํ ใhหtโ tลpก:/ม/ีลpกั eษdณ.mะไdรพ.cรhมuแlดaน.ac.th

กา วเขา สยู คุ สารสนเทศ ซงึ่ เหน็ ไดช ดั จากการสอื่ สารทใี่ หข า วสารอยา งรวดเรว็ จนทาํ ใหโ ลกมลี กั ษณะ
ไรพ รมแดน ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศตอสงั คมในทางบวกหรือทางที่ดมี ดี ังน้ี

เด็กควรรู

ขอ เสยี ของเทคโนโลยสี ารสนเทศ
1. วงจรชีวิตของระบบสารสนเทศเปนระบบที่มีวงจรชีวิตคอนขางจํากัด อาจจะอธิบายไดวา

เน่ืองจากการเปลี่ยนแปลงทางดา นเทคโนโลยี รวมทงั้ สภาพทางเศรษฐกิจและธุรกิจ
2. ลงทนุ สงู เทคโนโลยสี ารสนเทศเปน เครอื่ งมอื ทมี่ รี าคาแพง และสว นมากไมอ าจจะนาํ ไปใชไ ดท นั ที

แตจ ะตองมีความรคู วามเขาใจเสียกอ นจงึ จะใชไดอยา งถูกตอ งและมีประสทิ ธภิ าพ
3. กอ ใหเ กดิ ชอ งวา ง (Gap) เทคโนโลยสี ารสนเทศทาํ ใหเ กดิ ชอ งวา งในการรบั ขา วสารระหวา งคนจน

กับคนรวย
4. ผลกระทบของเทคโนโลยสี ารสนเทศที่มตี อสังคมมนุษย

ธรรมาภบิ าล1IT6Governance 15
เทคโนโลยสี ารสนเทศในองคก ร

หนวยการเรยี นรูท่ี 1

1. ชว ยสง เสรมิ ความสะดวกสบายของมนุษย
เทคโนโลยสี ารสนเทศชว ยใหค วามเปน อยขู องมนษุ ย
ดีขึ้น ชวยสงเสริมใหมีประสิทธิภาพในการทํางาน
ทําใหมนุษยมีเวลาวางเพ่ือใชในทางที่เกิดประโยชน
มากข้ึน มีเคร่ืองมือส่ือสารโทรคมนาคมสมัยใหมให
ติดตอ กนั ไดส ะดวก มรี ะบบคมนาคมขนสงท่ีรวดเรว็
สามารถใชโทรศพั ทในขณะเดนิ ทางไปมายงั ท่ีตา ง ๆ รูปท่ี 1.23 แสดงผโทอ่ รนทหัศยน่อ์นสใาจมารถชว่ ยการพกั
มีอุปกรณชวยอํานวยความสะดวกที่ควบคุมดวย
ภาพท่ี 1.ท23่มี แาส:ดhงเtคtpรื่อsง:/ช/ว wยwใหwเ ก.ิดpกcาmรพaักgผ.อcนoหmยอ นใจ

คอมพวิ เตอร เชน ลิฟต เคร่อื งซกั ผา เคร่ืองปรับอากาศ เคร่ืองชว ยใหเ กดิ การพกั ผอ นหยอนใจ เชน
วทิ ยุ โทรทศั น มรี ายการใหเ ลือกชมไดม ากมาย มกี ารแพรก ระจายสัญญาณโทรทัศนผานดาวเทยี ม
ทาํ ใหผูชมสามารถรับรูขาวสารตาง ๆ จากทั่วทุกมุมโลกไดอ ยา งรวดเร็วเหมอื นอยใู นเหตกุ ารณ
2. ชวยทําใหการผลิตในอุตสาหกรรมดีข้ึน
การผลิตสินคาในปจจุบันตองการผลิตสินคาจํานวน
มาก มคี ณุ ภาพ มมี าตรฐาน ซงึ่ ในปจ จบุ นั ใชเ ครอื่ งจกั ร
ทํางานอยางอัตโนมัติ สามารถทํางานไดตลอด 24
ชัว่ โมง สนิ คา ท่ีไดม คี ณุ ภาพและปรมิ าณพอเพยี งกับ
ความตองการของผูบริโภค ปจจุบันมีความพยายาม
ทจี่ ะสรา งหนุ ยนตใ หเ ขา มาชว ยในอตุ สาหกรรมการผลติ ภราูปพทท่ี ี่11.2.42แ4สใดแนงสคอวดตุ างมสพกายาหารยกสารมรรท้าี่จมงะกหสราุ่นารงยผหนนุลยตติ นเ์ ตขใหา้ เมขาามชาว่ชวยย
เชน การผลติ รถยนต
ที่มา : httใpนsอ:/ุต/สwาwหกwรร.mมกmารtผhลaติiland.com

คาํ ถาม เทคโนโลยีคมนาคมและการส่ือสารนํามาประยุกตใชเพ่ือพัฒนาและปรับปรุงการ

ดาํ เนินงานทางธุรกิจโดยมีวัตถปุ ระสงคอะไรบา ง?

คาํ ตอบ มวี ัตถุประสงคหลกั 4 ประการ ดังน้ี

1. เพ่อื การสอ่ื สารทางธรุ กิจทด่ี ขี น้ึ 2. เพ่ือใหก ารดาํ เนินงานมปี ระสิทธภิ าพสงู ข้ึน
3. เพ่อื การกระจายขอมลู ท่ีดขี ึน้ 4. เพ่อื การจดั การกระบวนการธรุ กจิ ท่ีสะดวกขน้ึ

3. ชวยสงเสริมใหเกิดการคนควาวิจัยสิ่งใหม
เทคโนโลยคี อมพวิ เตอรแ ละระบบสือ่ สาร เชน เครือ
ขา ยคอมพวิ เตอร ชว ยใหง านคน ควา วจิ ยั ในหอ งปฏบิ ตั ิ
การวจิ ยั ตาง ๆ มีความกา วหนา ย่ิงขนึ้ คอมพิวเตอร
ชวยงานคํานวณท่ีซับซอน ซึ่งแตกอนยากท่ีจะทําได
เชน งานสํารวจทางดานอวกาศ งานพัฒนาคิดคน รูปท่ี 1.25 แสดงงานสำ� รวจทางด้านอวกาศ

ธรรมาภิบาล 16 ภทาี่มพาท่ี :1.h25ttpแ:ส/ด/wงงwานwส.ําtiรeวwจทruางsดsา iaน.อcวoกmาศ

เทคโนโลยสี ารสนเทศในองคก ร IT Governa1nc7e

ความรูเก่ียวกบั หลกั การบรหิ ารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศ

ผลติ ภณั ฑและสารเคมตี าง ๆ ทาํ ใหไดสตู รยารกั ษาโรคใหม ๆ เกดิ ขึ้นมากมาย ปจ จบุ ันงานคน ควา
วิจัยทุกแขนงจําเปนตองใชคอมพิวเตอรชวยในการคํานวณตาง ๆ นักวิจัย นักวิทยาศาสตร
ใชประโยชนจากคอมพิวเตอรในการจําลองรูปแบบของสิ่งท่ีมองไมเห็น ใชในการคนหาขอมูล
ทีม่ ีจํานวนมากและแพรก ระจายอยทู ว่ั โลก สามารถคน หารายงานวจิ ัยทม่ี ผี เู คยทาํ ไวแ ลว และทีเ่ กบ็
ไวใ นหอ งสมดุ ตา ง ๆ ไดอ ยา งรวดเร็ว งานวิจัยตา ง ๆ มคี วามกาวหนายง่ิ ขึ้น เพราะเทคโนโลยีเขา ไป
มสี ว นเกยี่ วของอยอู ยางมาก
4. ชว ยสงเสรมิ สุขภาพและความเปนอยูใหดขี นึ้
คอมพวิ เตอรแ ละอปุ กรณท เ่ี กย่ี วกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ
ทาํ ใหก จิ การดา นการแพทยเ จรญิ กา วหนา ขนึ้ มาก เครอ่ื ง
มือเครื่องใชทางการแพทยลวนแลวแตใชคอมพิวเตอร
ชวยในการดําเนินการ ชวยในการแปลผล มีเคร่ือง
ตรวจหัวใจท่ีทันสมัย เครื่องเอกซเรยภาคตัดขวางที่
สามารถตรวจดูอวัยวะตาง ๆ ของรางกายไดอยาง รปู ที่ 1.26 แสสรดา้ งงกแาขรนใชเท้งยีามนคอมพิวเตอร์
ละเอียด มีเครื่องมือตรวจคนหาโรคที่ทันสมัย หรือ
ท่ีมา : http://ภmาพaทin่ี 1.n.2ia6.oแrส.tดhง/กnาiรaส/รeาnง/แaขrนtiเifcทiยีaมl-arms-2

แมแ ตก ารผา ตดั กม็ เี ครอื่ งมอื ชว ยในการผา ตดั ทท่ี าํ ใหค นไขป ลอดภยั ยง่ิ ขน้ึ มเี ครอื่ งคอยวดั และตรวจ
สอบสภาพการเปล่ยี นแปลงของรา งกายอยา งละเอียด ระบบการรกั ษาพยาบาลจากที่หา งไกล เชน
คนไขอ ยูท่จี งั หวัดชายแดนและขาดแคลนแพทยเ ฉพาะทาง แพทยผูทําการรักษาสามารถสงคําถาม
ปรึกษากับแพทยผูชํานาญการเฉพาะได มีการรวบรวมความรูของแพทยผูชํานาญการจัดสราง
เปนฐานความรอบรูเพ่ือใชประโยชนไดกวางข้ึน นอกจากน้ียังมีการพัฒนาเครื่องมือชวยคนพิการ
ตาง ๆ เชน การสรางแขนเทยี ม ขาเทยี ม การสรางเคร่ืองกระตนุ หัวใจ สรางเครอ่ื งชวยฟงเสยี ง
หรือมีการพฒั นาเทคโนโลยีการปลกู ถา ย
5. ชว ยสง เสรมิ สตปิ ญ ญาของมนษุ ย คอมพวิ เตอร
มีจุดเดนที่สามารถทํางานไดรวดเร็ว มีความแมนยํา
สามารถเกบ็ ขอ มลู ตา ง ๆ ไดม าก การแกป ญ หาทซ่ี บั ซอ น
บางอยางกระทําไดดีและรวดเร็ว งานบางอยางถาให
มนุษยทําอาจตองเสียเวลาในการคิดคํานวณตลอดชีวิต
แตคอมพิวเตอรสามารถทํางานเสร็จภายในเวลาไม รูปท่ี 1.27 แสดงการใช้งานคอมพวิ เตอร์
ก่ีวินาที ดังน้ัน จึงมีการนําคอมพิวเตอรมาจําลอง ภาพทที่่ีม1าจ.2�ำ7:ลhแอสttดงpงกsช:าว//ยรsสขitง บัeเสsเร.คgิมoรสตoือ่ ิปgงญlบeญ.นิcาoขmองมนษุ ย
เหตกุ ารณต า ง ๆ เพอื่ ใหม นษุ ยห าทางศกึ ษาหรอื แกไ ขปญ หา เชน การจาํ ลองสภาวะของสง่ิ แวดลอ ม
การจําลองระบบมลภาวะ จําลองการไหลของของเหลว การควบคุมระบบการจราจร หรือแมแต
การนําคอมพิวเตอรมาจําลองในสภาพที่เหมือนจริง เชน จําลองการเดินเรือ จําลองการขับ

ธรรมาภบิ าล1IT8Governance 17
เทคโนโลยีสารสนเทศในองคก ร

หนวยการเรียนรูที่ 1

เคร่ืองบิน การขับรถยนต ส่ิงตาง ๆ เหลานี้ทําใหเหมือนจริงได หากมีการผิดพลาดก็ไมทําใหเกิด
อนั ตราย คอมพวิ เตอรจึงเปนเครื่องมือทช่ี วยในการเรยี นรูของมนษุ ยไดดี ปจ จุบันมีการนาํ บทเรียน
มาไวในคอมพวิ เตอร เรียกวา คอมพวิ เตอรชวยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI)
และคอมพวิ เตอรย งั เปน เครอ่ื งมอื ใหน กั เรยี น นสิ ติ นกั ศกึ ษา สมยั ใหม) เชอ่ื มโยงตดิ ตอ ทางอนิ เทอรเ นต็
สามารถเรียกคนขอมูลขาวสารผานทางเครือขาย สามารถเรียนรูการใชคอมพิวเตอรหรือเรียนจาก
ทหี่ างไกลได ถือเปนหนทางทท่ี ําใหเ กดิ สติปญญาอยา งแทจ รงิ
6. เทคโนโลยสี ารสนเทศชว ยใหเ ศรษฐกจิ เจรญิ รงุ เรอื ง
เทคโนโลยีจาํ เปน ตออตุ สาหกรรม กจิ การคา ธุรกิจตาง ๆ
กจิ การทางดา นธนาคาร ชว ยสง เสรมิ งานทางดา นเศรษฐกจิ
ทําใหกระแสเงินหมุนเวียนไดอยางกวางขวาง ผูผลิตใน
สายอตุ สาหกรรมจะผลติ สนิ คา ไดม าก ลดตน ทนุ ผบู รโิ ภค
ก็มีกําลังในการจับจายใชสอยมาก ธุรกิจโดยรวมจําเปน
ตองอาศัยการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางกัน มีการสื่อสาร รปู ท่ี 1.28 แสดงเทคโนโลยจี ำ� เปน็
เกี่ยวขอ งกนั เกดิ ระบบการแลกเปลีย่ นขอ มูลทางอิเลก็ ทรอนิกส ภาพทช่ี ว1ย.ตท2ใ8อ่ี่มหเกาแศสจิร:ดษกhงฐาเtกทtริจpคคเsโจนา้:ร/โญิ/ลdธรยuรุงุสี nเการuรอืจิ สbงตนyเ่า.ทcงศomๆ

เดก็ ควรรู

การสื่อสารขอมูลทางอิเล็กทรอนิกส (Data Communications) หมายถึง กระบวนการถายโอน
หรือแลกเปล่ียนขอมูลกันระหวางผูสงและผูรับ โดยผานชองทางสื่อสาร เชน อุปกรณอิเล็กทรอนิกส
หรือคอมพวิ เตอร เปนตวั กลางในการสง ขอมูลเพอ่ื ใหผ สู งและผูรบั เกิดความเขาใจซ่งึ กนั และกนั

7. ชวยใหเกิดความเขาใจอันดีระหวางกัน การสื่อสารโทรคมนาคมสมัยใหมชวยยอโลกให
เล็กลง โลกมีสภาพไรพรมแดน มีการเรียนรูวัฒนธรรมซึ่งกันและกันมากขึ้น เกิดความเขาใจอันดี
ระหวา งกนั ทาํ ใหล ดปญ หาในเรอื่ งความขดั แยง สงั คมไรพ รมแดนทาํ ใหม คี วามเปน อยแู บบรวมกลมุ
ประเทศมากข้นึ

ธรรมาภบิ าล รปู ท่ี 1.29 แสดงการสื่อสารคมนาคมไรพ้ รมแดน IT Governa1nc9e

เทคโนโลยสี ารสนเทศในองคกร ทม่ี าภ:าพhทttี่p1:./2/9wแoสrดaงdสaงั 1ค2ม7ไร.bพlรoมgแsดpนot.com/

18

ความรูเก่ยี วกบั หลกั การบริหารจัดการความปลอดภัยเทคโนโลยสี ารสนเทศ

8. ชวยสงเสริมประชาธิปไตย ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรมีการใชเทคโนโลยี
สารสนเทศเพอื่ กระจายขา วสาร เพอื่ ใหป ระชาชนไดเ หน็ ความสาํ คญั ของกระจายระบบประชาธปิ ไตย
แมแตการเลือกต้ังก็มีการใชคอมพิวเตอรรวมผลคะแนน ใชสื่อโทรทัศนวิทยุแจงผลการนับคะแนน
ทที่ าํ ใหทราบผลไดรวดเรว็

ภราูปพทที่ ี่11.3.03แ0สดแงสสงดเสงรสิมอื่ปรโะทชราธทปิ ศัไตนยใช์ นว่กายรสเล่งอื เกสต้งัรสิมมปาชรกิ ะสภชาาผธแู ปิทนไรตายษฎร
ผลกระทบในทางลบ ที่มา : https://www2.posttoday.com
ผลกระทบในทางลบ นบั ตง้ั แตเ ทคโนโลยสี ารสนเทศเขา มามบี ทบาทในชวี ติ ประจาํ วนั มากขน้ึ
การใชเ ทคโนโลยีเปนไปอยางกวางขวาง ซึ่งหมายถึงการใชเ ทคโนโลยีไปในดา นตา ง ๆ ซง่ึ แนน อน
ยอมตองมีทั้งคุณและโทษ ภาพยนตรหลายเร่ืองไดสะทอนความคิดของการนําเอาเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใชในทางลบ ผลกระทบในทางลบเหลาน้บี างอยา งเปน เพียงการคาดคะเนยงั ไมไดเ กิด
ขน้ึ จรงิ แตยอ มมโี อกาสเกิดข้นึ ได ผลกระทบในทางลบ มดี งั น้ี
1. ทําใหเกิดอาชญากรรม เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถนํามาใช
ในการกอ ใหเ กดิ อาชญากรรมได โจรผรู า ยใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการ
วางแผนการปลน วางแผนการโจรกรรม มกี ารลกั ลอบใชข อ มลู
ขา วสาร มกี ารโจรกรรมหรอื แกไ ขตวั เลขบญั ชดี ว ยคอมพวิ เตอร
การลอบเขาไปแกไขขอมูลอาจทําใหเกิดปญหาหลายอยาง
เชน การแกไขระดับคะแนนของนักเรียน การแกไขขอมูล
ในโรงพยาบาล เพื่อใหการรักษาพยาบาลคนไขผิด ซ่ึงเปน
การทาํ รา ยหรือฆาตกรรมดงั ท่เี ห็นในภาพยนตร รปู ที่ ภ1า.พ3ท1่ี 1แ.3ส1 ดแสงดองากาชรญอาาชญการกรรมรมคขออ มมลู พวิ เตอร์

ทมี่ า : http://www.krunonglak.com
2. ทําใหความสัมพันธของมนุษยเสื่อมถอย การใชคอมพิวเตอรและอุปกรณส่ือสารทําให
สามารถติดตอสื่อสารกันไดโดยไมตองเห็นตัว การใชงานคอมพิวเตอรหรือแมแตการเลนเกมที่มี
ลกั ษณะการใชง านเพยี งคนเดยี ว ทาํ ใหค วามสมั พนั ธก บั ผอู น่ื ลดนอ ยลง ผลกระทบนที้ าํ ใหม คี วามเชอ่ื
วา มนษุ ยสมั พนั ธของบุคคลจะนอยลง สังคมใหมจะเปน สงั คมที่ไมตองพึ่งพาอาศัยกนั มาก
3. ทาํ ใหเ กดิ ความวติ กกงั วล ผลกระทบนเ้ี ปน ผลกระทบทางดา นจติ ใจของกลมุ บคุ คลบางกลมุ
ธรรมาภบิ าล2IT0Governance
19 เทคโนโลยีสารสนเทศในองคก ร

หนว ยการเรยี นรูท ่ี 1

ทมี่ คี วามวติ กกงั วลวา คอมพวิ เตอรอ าจทาํ ใหค นตกงานมากขน้ึ มกี ารใชง านหนุ ยนตม าใชง านมากขนึ้
มีระบบการผลติ ทีอ่ ตั โนมตั มิ ากข้ึน ทําใหผูใ ชแรงงานอาจวา งงานมากขนึ้ ซึ่งความคิดเหลา นีจ้ ะเกิด
กับบุคคลบางกลุมเทาน้ัน แตถาบุคคลเหลาน้ันสามารถปรับตัวเขากับเทคโนโลยี หรือมีการพัฒนา
ใหม ีความรูความสามารถสงู ข้นึ แลวปญ หาน้จี ะไมเกดิ ขนึ้

4. ทําใหเกิดความเสี่ยงภัยทางดานธุรกิจ ธุรกิจในปจจุบันจําเปนตองพึ่งพาอาศัยเทคโนโลยี
สารสนเทศมากข้ึน ขอมูลขาวสารทั้งหมดของธุรกิจฝากไวในศูนยขอมูล เชน ขอมูลลูกหนี้การคา
ขอมูลสินคาและบริการตาง ๆ หากเกิดการสูญหายของขอมูลอันเนื่องมาจากเหตุอุบัติภัย เชน
ไฟไหม น้าํ ทว ม หรือดว ยสาเหตใุ ดกต็ ามท่ที ําใหขอมลู หาย ยอมทาํ ใหเ กดิ ผลกระทบตอธุรกจิ โดยตรง

5. ทําใหการพัฒนาอาวุธมีอํานาจทําลายสูงมากข้ึน ประเทศท่ีเปนตนตํารับของเทคโนโลยี
สามารถนาํ เอาเทคโนโลยไี ปใชใ นการสรา งอาวธุ ทม่ี อี านภุ าพการทาํ ลายสงู ทาํ ใหห มนิ่ เหมต อ สงคราม
ที่มกี ารทําลายสูงเกิดขน้ึ

รูปท่ี ภ1า.3พทท2่มี ่ี า1แ.3:ส2hดแttสงpดกsงา:ก/รา/wรพพwฒััฒwนน.าtอาeาcอวnาธุ oมวpีอุธาํrดeนnา้วจsยทaคาํ.cลอoายมmสพงู วิ เตอร์

6. ทาํ ใหเ กดิ การแพรว ฒั นธรรมและกระจายขา วสารทไ่ี มเ หมาะสมอยา งรวดเรว็ คอมพวิ เตอร
เปน อุปกรณที่ทํางานตามคาํ สัง่ อยา งเครง ครดั การนํามาใชในทางใดจึงข้นึ อยูกับผใู ช จรยิ ธรรมการ
ใชคอมพิวเตอรซึ่งเปนเร่ืองสําคัญดังเชน การใชงานอินเทอรเน็ตมีผูสรางโฮมเพจหรือสรางขอมูล
ขาวสารในเรือ่ งภาพทไี่ มเหมาะสม เชน ภาพอนาจาร หรอื ภาพทีท่ าํ ใหผ อู ืน่ เสยี หาย นอกจากนี้ยังมี
การปลอมแปลงระบบจดหมาย เพื่อสงจดหมายถึงผูอ่ืนโดยมีเจตนากระจายขาวที่เปนเท็จ ซึ่ง
จรยิ ธรรมการใชงานเครอื ขา ยเปนเร่ืองท่ตี องปลูกฝง กนั มาก

5. การบริหารจดั การความปลอดภยั ของขอ มูลสารสนเทศ
5.1 การรักษาความปลอดภยั ของขอ มลู สารสนเทศดวยวิธีการเชงิ กายภาพ
Ÿ การกําหนดสิทธใิ นการเขาใชหองเก็บขอ มูล
Ÿ การตดิ ต้งั ระบบรกั ษาความปลอดภัยของหอ งเก็บขอ มลู
5.2 การรักษาความปลอดภัยของขอ มูลสารสนเทศดว ยวธิ ีการเชงิ ตรรกะ
Ÿ การเขา รหสั ขอ มลู
Ÿ การกาํ หนดใหผ ูใ ชข อมูลมีรหสั ผานเพ่ือการเขา ถงึ ขอมูลได
ธรรมาภบิ าล
20 IT Governa2nc1e
เทคโนโลยีสารสนเทศในองคก ร

ความรูเกย่ี วกับหลักการบรหิ ารจัดการความปลอดภัยเทคโนโลยีสารสนเทศ

Ÿ การกาํ หนดสทิ ธใิ นการเขา ใชขอมูลสารสนเทศทแี่ ตกตางกัน

ทม่ี าร:ูปhทtt่ีpภ1sา.:พ3//ท3w่ี 1wแ.3w3ส.แดthสงaดไiงpวไวnรรgสั ัส.cคคอoอมmมพ/ิวพpเตnิวอgเรต- 8อdร1์n59

คําถาม สแปมเมลคือ?
คําตอบ สแปมเมล คอื จดหมายอเิ ลก็ ทรอนกิ ส (E-Mail) ทผ่ี สู ง (ซง่ึ มักจะไมปรากฏชื่อและ

ทีอ่ ยขู องผูสง) ไดสง ไปยังผรู บั ที่ไมไดมีการแจง ขอรบั ขา วสารไว โดยสง จาํ นวนครัง้ ละมาก ๆ และไมไ ดร ับ
ความยินยอมจากผูรับ ทําใหเกิดความรําคาญและเสียเวลา ซ่ึงการสงสแปมเมลนั้นอาจมีวัตถุประสงคใน
เชงิ พาณชิ ยห รือไมกไ็ ด

5.3 การรกั ษาความปลอดภยั ของระบบเครอื ขา ยหมายถึง
Ÿ การรักษาความปลอดภยั ของการเขา ใชข อ มลู ตา ง ๆ ที่มอี ยบู นระบบเครอื ขา ยนน้ั ๆ
Ÿ การรกั ษาไวซ งึ่ ประสทิ ธภิ าพการสง ขอ มลู ใหม อี ตั ราสง คงท่ี รวดเรว็ และมคี วามถกู ตอ ง
Ÿ การปองกันการแพรกระจายของไวรัสคอมพิวเตอรและสิ่งแปลกปลอมตาง ๆ เชน

สแปมเมล (spam mail) โฆษณา เปนตน

รูปที่ 1ท.3ี่ม4าภา:แพhสทt่ีดt1pง.3:/ก4/wาแรwสปดwง้อก.tงาriรกoปaันอ.งcกกoาัน.รtกhาแ/รsพแeพรcร่กuก rรรiะtะyจจา-aยาขnยอtiขงvไอiวrรuงสั sไค-วอirf รeมwัสพิวคaเlตอl.อpมรhพpิวเตอร์ ธรรมาภิบาล

2IT2Governance 21 เทคโนโลยีสารสนเทศในองคกร

หนว ยการเรียนรทู ี่ 1

เดก็ ควรรู

การรักษาความปลอดภัยทางกายภาพ หมายถึง มาตรการที่ใชในการปกปองทรัพยากรจากภัยคุกคาม
ทางกายภาพทั้งโดยเจตนาและไมเจตนา ซึ่งเปนหน่ึงในวิธีท่ีชวยลดความเส่ียงดานความปลอดภัย โดย
การจํากัดใหเฉพาะผูที่จําเปนตองใชงาน เชน ผูดูแลระบบเทาน้ันท่ีสามารถเขาถึง console ของระบบ
ปกติแลวระบบที่เปนเซิรฟเวอรผูใชท่ัวไปไมจําเปนตองใชงาน console แตสามารถใชโปรแกรมประเภท
ssh ทาํ การตดิ ตอเขา ไปใชงานยังเคร่ืองเซริ ฟเวอรได

5.4 การรกั ษาความปลอดภยั ของระบบเครอื ขายมี 2 ประเภท
1. การรกั ษาความปลอดภยั เชงิ กายภาพ
ตวั อยา ง การใชเ ครอ่ื งมอื ตรวจวดั สภาพการสอื่ สาร ณ อปุ กรณ

เช่ือมตอระบบเครือขาย เพื่อบงบอกถึงสิทธิการเขาสูระบบเครือขายของ
บุคลากรแตล ะคน

อปุ กรณ อุปกรณเ ราเตอร
2. การรักษาความปลอดภยั เชงิ ตรรกะ
(Network MaŸŸnagซไฟeอmรฟวตeอแn ลtวลรS เ o(พFfอ่ืtirwกeaาwรreaบ)lรl)หิ ารจดั การระบบเครอืทข่มี าา ย: http://wwรwปูภ.าtทrพi่ีoท1aี่ 1..c3.3o55.tแhแส/สดsงeดอcงปุ uกเrรรitณาy-เเรaตาnอเตtรiอv์รir us-ifrewall.php

Ÿ การกาํ หนดเลือกวาวธิ ใี ดเปนวธิ ที เี่ หมาะสมจะตองคํานึงถึงปจ จยั
- ระดบั ความวกิ ฤตหรอื ความเสยี หายทจ่ี ะเกิดขน้ึ หากมกี ารบกุ รุกเครอื ขาย
- งบประมาณการดําเนินการจัดหา ติดตั้ง และบาํ รงุ รักษา
- ความพรอมดา นบคุ ลากรในองคก ร
- สารสนเทศมากมายมหาศาลทั้งดีและไมด ีสงตรงถงึ หองนอน

ธรรมาภิบาล ที่มา : http://wภwราพwปู ท.ทtี่ r1่ีi.o316a.3.cแ6oสด.tแงhไส/ฟsรดeว cงอuไลฟrลit รy(Fว์-iarอenwลtaiลvlli)์rus-fri ewall.php IT Governa2nc3e
22
เทคโนโลยสี ารสนเทศในองคก ร

Ÿ อเี มลอ าจจะมสี งิ่ ทไี่ มด มี ากมาย เชน เรอ่ื งราวทไี่ มเ ปน จรงิ การตฉิ นิ นนิ ทา และจดหมาย
ลกู โซท ีพ่ ยายามจะเอาเงินจากกระเปา เรา

Ÿ ไวรัสอาจผา นมากับขอ มลู อีเคมวลามเ รขูเ ากย่ีมวากสบั หูคลอักมกาพริวบรเติหาอรรจัด การความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศ
Ÿ ภาพทไี่ มเ หมาะสม ผดิ กฎหมาย ภาพยนตร อาจถูกสง มาพรอมกบั ขอมลู อเี มล

6. การ6เส.2รวมิ ิธสกี ราารงจคดั กวาารมกปับลเนออื้ ดหภาัยที่ไมเหมาะสมทป่ี รากฏบนจอคอมพวิ เตอร

6.1 กŸารปเสดรหิมนสารเาวงบ็ ความปลอดภัยในการใชอ นิ เทอรเ นต็ สําหรบั เด็ก กฎสําหรบั การใชอีเมล
ŸŸไไมมใ ไหดทผ อี่ ลยปูอดีเมบลราแ วกเคซนอทรเี่ (รbาrไoมwร จูseกั r)
ŸŸไถมาเปยดังไอมเี ไมดลผ จลาปกดคคนอหมรพอื อวิ งเตคอกรรพ/ธรรุ อ กมิจกทับเ่ี รแาจไง มผร ูป จู กักครองหรือครู
ŸŸอสเี มาลมอ าารจถจหะลมีกสี เลงิ่ ท่ยี ไ่ีงมปด ญมี หาากโมดายยกเาชรน บอเรกอื่ ใงหรคานวทอืน่ไ่ี มทเ รปาน บจหรางิ กกเารราตพฉิบนิ อนะนิไรทผาดิ แพลละาจดดหมาย

ลกู โซท ี่พ6ย.3ายกาฎมขจอะงเกอาารเงแนิ ชจตากกระเปา เรา
Ÿ ไวรสั อาจผา นมากับขอมูลอีเมลเขา มาสคู อมพิวเตอร
Ÿ ภาพที่ไมเหมาะสม ผดิ กฎหมาย ภาพยนตร อาจถูกสง มาพรอมกบั ขอมลู อีเมล

6.2 วธิ กี ารจดั การกบั เนอื้ หาท่ีไมเหมาะสมท่ปี รากฏบนจอคอมพวิ เตอร
Ÿ ปด หนาเวบ็
Ÿ ไมไ ดผ ลปดบราวเซอร (browser)
Ÿ ถา ยังไมไ ดผลปด คอมพวิ เตอรพรอมกบั แจง ผูปกครองหรอื ครู
Ÿ สามารถหลีกเลยี่ งปญหาโภดายพทกี่ า1.3ร7บแอสดกงใกหฎขคองนกาอร่ืนแชทตราบหากเราพบอะไรผิดพลาด

6.3 กฎของการแชต

Ÿ ไมส ามารถเชื่อไดวา บุคคลเหลาน้ันเปน คนอยางท่ีเคาพูด
Ÿ อยาใหชือ่ จรงิ ควรใชชื่อสมมุติ
Ÿ อยาใหขอมูลวา คณุ อยูทไี่ หน หมายเลขโทรศพั ท (โทรศพั ทมือถอื ) เรยี นอยูท่ไี หน พอ
แมเ ปน ใคร
Ÿ ทาํ ความเขา ใจใหช ัดเจนถึงกฎของแตล ะหอ งแชตทจี่ ะเขาไปเลน
Ÿ ใหจําไววาคุณอาจเปนบุคคลนิรนามในอินเทอรเน็ต แตบอยคร้ังที่คนอ่ืนสามารถ
สืบเสาะไดว าใครเปนคนใสข อมูลในอินภาเพททอี่ 1ร.3เ7นแ็ตสดงดกฎังขนองัน้ การตแชอตงมคี วามสุภาพกบั ผูอ ื่นเสมอ
หนวยการ6เร.4ียนŸกŸรทูฎไี่ไมข1มสออางอกมกาาไรรปแถพชเชบต่ือกกไับาดรบว สคุาอ่ื บคสลคุ าทครลพ่ี ทเบาหงลหอารอนอืนนั้รไูจเลปักนนส ค่ือนสอารยผา างทน่เีทคาา งพอูดอนไลน
ŸŸอถยา ารใสู หึกช ถื่อกู จกรดงิ ดคันวจราใกชกชาือ่ รสสมือ่ มสตุ าิรออนไลนกับใครใหป รึกษาผูใหญท ีร่ บั ผิดชอบ

ธรรมาภบิ าลแITมเGปนoใvคeรrŸnŸŸaอnปใยcหราeชกึ ใอ่ืษหอาข หีเอ มามลรลู กอื วบักา บัเคพผณุ ื่อใู หนอญทยทู่ีรท จู่ีไรี่ หกั บั นดผี ดิ ไหมชมอค าบวยรเเ2สใล3หมขกอโับทอครยศนา พัแใหปทถ ล กู(กโหหทลนรอศา กัพลทอ มหอื รถอื อืถ)กู กเรดยีดเทนนัคโอนเโพลยยีสูทอ่ื ารไไี่ สปหนเพนทศบในพอเงจคออก ร

กับคนทร่ี จู Ÿกั อทอํานคไวลานม เขาใจใหช ดั เจนถงึ กฎของแตละหองแชตทีจ่ ะเขาไปเลน
AW_184_257_inside_Ver6.indd Ÿ2Ÿ3 ใหหาจกําถไูวกวใคารคหุณรอือาสจิ่งเใปดนรบบกุควคนลในนิรหนอางมแใชนตอใินหเรทีบออรอเนก็ตจากแกตาบรอสยนคทรน้ังาที่คแนลอะื่นอสยาามตาิดรตถอ3/29/57 BE 5:38 PM

สสบื นเทสนาะาไอดกี ว า ใครเปน คนใสขอ มูลในอินเทอรเนต็ ดังนัน้ ตอ งมีความสุภาพกบั ผอู นื่ เสมอ
66.4.5กกฎฎข-อกงากราปรอแงชกตนั กไวารรสัสแ่ือสละารขทอามงลู อขอยนะไลน
ŸŸไหมาอ กอขกอ ไมปลูพบบากงบั อบนั คุ รคูสลกึ ทด่พีเี กบินทหจ่ีรอืะเรชจู อื่กั ไสด่อื สสราุปรไผดาเ นลยทวาางไอมอจนรไิงลน
Ÿ ใหร ะวงั อเี มลท บ่ี อกวา โปรดสง ตอ ใหท กุ ๆ คน เพราะอาจจะมแี ตเ รอ่ื งหลอกลวงไรส าระ
ธรรมาภิบาล2ITห4รGอื oมvีไวeรrสัnaทnไ่ี มceควรสง ตอ23
เทคโนโลยีสารสนเทศในองคก ร
Ÿ อยา เขาไปในเวบ็ ไซตของธนาคารใด ๆ ทอ่ี างบอกใหค ณุ แจงรหสั ผาน

Ÿ ปรกึ ษาหารอื กบั ผใู หญท ร่ี บั ผดิ ชอบเสมอ อยา ใหถ กู หลอกลอ หรอื ถกู กดดนั เพอ่ื ไปพบเจอ
กหับนคว ยนกทารร่ี เรูจ ยี กั นŸอรทูอหี่ น1าไกลถนูก ใครหรือส่ิงใดรบกวนในหองแชตใหรีบออกจากการสนทนา และอยาติดตอ
สนทนาอกี Ÿ ถารูสกึ ถกู กดดันจากการส่อื สารออนไลนกบั ใครใหป รกึ ษาผใู หญท่รี ับผดิ ชอบ

6.5 กŸฎ-ใกหาชรอ่ื ปออ ีเงมกลนั ก ไับวเรพสั อื่ แนลทะีร่ขูจ อ กั มดลู ี ขไมยคะวรใหก ับคนแปลกหนา
ŸŸหปารกกึ ขษอามหูลาบรอืางกอบั นั ผรใู หูสญกึ ดท ีเร่ีกบั นิ ผทดิ ี่จชะอเชบือ่เสไดมสอรอปุ ยไาดใเ หลถยกู วหา ลไมอจกรลิงอ หรอื ถกู กดดนั เพอ่ื ไปพบเจอ

กับคนท่รี จู Ÿักอใอหนร ไะลวนงั อเี มลท บ่ี อกวา โปรดสง ตอ ใหท กุ ๆ คน เพราะอาจจะมแี ตเ รอื่ งหลอกลวงไรส าระ
หรือมีไวรัสทŸ่ไี มหค าวกรถสูกงใตคอ รหรือส่ิงใดรบกวนในหองแชตใหรีบออกจากการสนทนา และอยาติดตอ
สนทนาอีกŸ อยา เขาไปในเว็บไซตของธนาคารใด ๆ ทอี่ างบอกใหคุณแจง รหัสผาน

6.5Ÿกฎเก-ก็บารรหปัสอ ผงากนนั เไปวนรคัสวแาลมะลขับอเมสูลมขอยะ
ŸŸใหหารกะขมอ ัดมรลูะบวังาเงวอ็บนั ไรซูส ตึกทด่ีใีเหกดนิ าทวจ่ี นะโเหชล่อื ดไดฟสรรี ุปหไรดือเมลีเยกวมาใไหมเจลรนิงฟรี เพราะอาจเต็มไปดวย

ไวรสั หรือจŸะมใีขหอ ร มะูลวทงั อ่ไี มเี มเ หลทมบ่ีาะอสกมวาสโงปมราดใสหงคตุณอ ใหท กุ ๆ คน เพราะอาจจะมแี ตเ รอ่ื งหลอกลวงไรส าระ
หรอื มีไวรสั Ÿท่ไี บมาคงวครรสงั้ งบตาองคนอาจจะใชเลหลวงใหค ณุ เชือ่ มตอไปยงั เวบ็ ไซตท ี่ไมเ หมาะสม

Ÿ อยาเขา ไปในเว็บไซตของธนาคารใด ๆ ทอ่ี า งบอกใหค ุณแจง รหัสผาน
Ÿ เก็บรหัสผา นเปนความลบั เสมอ
Ÿ ใหระมัดระวังเว็บไซตที่ใหดาวนโหลดฟรี หรือมีเกมใหเลนฟรี เพราะอาจเต็มไปดวย
ไวรัส หรือจะมขี อมูลท่ีไมเ หมาะสมสง มาใหคุณ
Ÿ บางครัง้ บางคนอาจจะใชเลหลวงใหค ุณเชอ่ื มตอ ไปยงั เว็บไซตทไี่ มเ หมาะสม

ภาพที่ 1.38 แสดงเวบ็ ไซตท ่ใี หดาวนโ หลดฟรี

6.6 กฎการเผยแพรเ รอื่ งราวในเวบ็ บล็อก
Ÿ ตรวจสอบใหม ่นั ใจวา ใสเฉพาะขอ มลู ทป่ี ลอดภยั
Ÿ ใหม ีรหสั สว นตัวเพือ่ ปกปอ งรูปภาพของคณุ
Ÿ ตองไดรับการอนุญรปูาตท่ีจภ1าา.พ3กท7พี่ 1.แอ38สแแดมสงด เงผวเว็บูป็บไกซซคตตท ร์ที่ใหอี่ใด หงาวด้ นคาโ หรวลนู ดใ์โฟนหรีกลดารฟสรีรางเวบ็ ไซตข องคณุ เอง และ

ใหทานเหลา นั้นชวยตรวจสอบ และทบทมี่ทาว:นhสttมp:า่ํ//เwสwมwอ.birdkm.com/

ธรรมาภิบาล6.6 กฎการเผยแพรเ รอ่ื งราวในเวบ็ บล็อก IT Governance

เทคโนโลยีสารสนเทศในŸองคกตรรวจสอบใหม่ันใจวาใสเฉพาะขอ ม24ลู ท่ปี ลอดภยั
Ÿ ใหม ีรหัสสว นตวั เพื่อปกปองรูปภาพของคณุ
Ÿ ตองไดร บั การอนุญาตจากพอ แม ผูป กครอง ครู ในการสรางเวบ็ ไซตข องคณุ เอง และ
AW_184_257_insidใeห_Vทerา6.นindเdหล24านัน้ ชวยตรวจสอบ และทบทวนสมา่ํ เสมอ
3/29/57 BE 5:38 PM

ธรรมาภิบาล 24 IT Governa2nc5e

เทคโนโลยีสารสนเทศในองคก ร

ความรูเ กย่ี วกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภัยเทคโนโลยสี ารสนเทศ

Ÿ อยา ใสเ รอ่ื งราวสวนตัวเขา ไปในเว็บบลอ็ ก หรอื ในการสนทนากลมุ
Ÿ จําเปน ตอ งมีความระมดั ระวังมาก ๆ ในการใสอะไรลงไปในอนิ เทอรเ นต็ เพราะทนั ที
ท่ีมกี ารเผยแพรค นจากท่วั โลกสามารถเห็นได และอาจมีการนาํ ขอ มลู ไปใชใ นทางผดิ ๆ
6.7 ขอแนะนําการใชอนิ เทอรเ นต็
Ÿ เรียนรเู กี่ยวกับมารยาททว่ั ไปในการใชอ ินเทอรเ น็ต (Netiquette)
Ÿ ทําตามหลักพ้ืนฐานความปลอดภัย และเรียนรูวิธีการ แนวปฏิบัติ เมื่อตองเผชิญกับ
สถานการณเ ส่ยี งออนไลน

รูปที่ 1.3ภท8าี่มพ ท าแี่ 1:ส.3hด9ttงpแกส:/ดา/wงรกaใาชtรaใ้อชcอนิhินiเwเททaออzรaรเน.เ์b็ตนlใoต็นgกใsานpรทกoาํ าtก.cริจoกทmร�ำรกมิจกรรม

คําถาม จรรยามารยาทบนอินเทอรเ นต็ คือ?
คําตอบ จรรยามารยาทบนอนิ เทอรเ นต็ (Netiquette) ทกุ วนั นอี้ นิ เทอรเ นต็ ไดเ ขา มามบี ทบาท

และสงผลกระทบตอชีวิตความเปนอยูของมนุษยในแทบทุกดาน รวมท้ังไดกอใหเกิดประเด็นปญหาข้ึนใน
สังคม ไมว า ในเร่ืองความเปน สว นตวั ความปลอดภยั เสรีภาพของการพดู อานเขยี น ความซอ่ื สตั ย รวมถึง
ความตระหนักในเร่ืองพฤติกรรมที่เราปฏิบัติตอกันและกันในสังคมอินเทอรเน็ต ในบทความน้ีผูเขียนขอ
ทบทวนเรอื่ ง จรรยามารยาทบนอินเทอรเน็ต หรอื ที่เรยี กกันในกลุมผใู ชอ ินเทอรเ นต็ วา “Netiquette” เพ่อื
ใหเปนของฝากสําหรับสมาชิกใหมที่เรียกกันวา “Net Newbies” และใหเปนของแถมเพ่ือการทบทวน
สาํ หรบั นักทอ งเน็ตทเี่ ปน “ขาประจํา”

6.8 มารยาททว่ั ไปในการใชอ ินเทอรเน็ต
Ÿ ไมใ ชอ นิ เทอรเ น็ตเพือ่ ลวงละเมิดหรือรบกวน ผูอืน่
Ÿ ไมใ ชร ะบบเครือขายคอมพวิ เตอรเพอ่ื การใด ๆ ท่ขี ดั ตอ กฎหมายหรอื ศีลธรรม
Ÿ ไมนําขอ มลู ของผูอ่ืนมาใชใ นทางทีผ่ ดิ หรือเปลย่ี นแปลงขอ มลู นัน้ ๆ

ธรรมาภบิ าล2IT6Governance25
เทคโนโลยีสารสนเทศในองคกร

หนว ยการเรียนรูที่ 1

Ÿ ไมบ อกรหสั กบั ผูอ่นื แมแ ตเพอ่ื นสนิท
Ÿ ไมใ ชบญั ชีชือ่ ผใู ชของผอู ื่น หรือใชเครือขา ยโดยไมไดร ับอนุญาต
Ÿ ไมย มื หรอื ใชโ ปรแกรม รปู ภาพ หรอื ขอ มลู ของผอู น่ื บนอนิ เทอรเ นต็ โดยไมไ ดร บั อนญุ าต
จากเจาของ
Ÿ ไมฝาฝนขอหามของผใู หบ ริการอนิ เทอรเ น็ต
Ÿ ไมเ จาะเขา ระบบของผูอ่นื หรอื ทาลองใหผอู ืน่ เจาะระบบของตวั เอง
Ÿ หากพบมีการรวั่ ไหลในระบบ หรือบคุ คลนา สงสยั ใหรบี แจง ผูใหบรกิ ารในทนั ที
Ÿ หากตอ งยกเลิกการใชอนิ เทอรเ นต็ ใหลบขอ มูลทั้งหมดและแจงผูดแู ลเว็บไซต
Ÿ การทงิ้ บัญชชี อ่ื ผูใ ชงานไวบนอนิ เทอรเนต็ อาจทาํ ใหม ีผูไมหวังดเี จาะเขา มาในระบบได
6.9 กฎความปลอดภยั
Ÿ ไมเ ปดเผยขอมลู สวนตัวเชน เบอรโทรศพั ท ชือ่ โรงเรยี น ช่ือเพอ่ื นหรอื ผูป กครอง
Ÿ ไมน ัดแนะเพ่ือพบปะกบั บุคคลท่ีรูจักทางอนิ เทอรเ นต็ โดยไมบอกผปู กครอง
Ÿ ไมสงรูปหรือขอมูลสวนตัวใหก บั คนทีร่ จู ักทางอินเทอรเ นต็
Ÿ ไมใ หความสนใจหรอื ตอบโตกับคนท่ีถอยคําหยาบคาย
Ÿ ไมโ หลดสิง่ ที่ไมค ุนเคยหรือเปด เอกสารจากอีเมลข องคนทเ่ี ราไมร จู ัก
Ÿ หากพบขอ ความหรอื รปู ภาพรนุ แรงใหรบี แจงผูปกครองหรือคณุ ครู
Ÿ เคารพในกฎระเบยี บ นโยบาย หรือขอ ตกลงที่ใหไวก บั ผปู กครองและคณุ ครูในการใช
อนิ เทอรเ น็ต

7. ประเภทของภยั คกุ คาม

ภยั ภิบัติทีเ่ กดิ ข้ึนกับระบบ (Disaster) เปน ความเสียหายท้ังทางดานกายภาพและดานขอ มูล
ทเี่ กดิ ขน้ึ กับระบบคอมพวิ เตอร (Hardware Programs) แฟมขอ มลู และอุปกรณอ่นื ๆ ถกู ทําลาย
ใหเ กดิ ความเสยี หาย ซง่ึ ที่รา ยแรงท่สี ุดอาจคอื การท่ภี ยั นัน้ ทาํ ใหร ะบบลมจนไมส ามารถใชงานได

ธรรมาภบิ าล รูปท่ี 1.39 แสดงภยั คุกคามทางคอมพวิ เตอร์ IT Governa2nc7e

เทคโนโลยีสารสนเทศในองคกร ท่มี า ภ: าhพtทtpี่ 1:/.4/p0aแkสaดpงภoยัnคgุก1ค2า3ม4ท5าง6ค.bอมloพgิวsเตpอoรt .com/

26

ความรูเ ก่ียวกับหลักการบรหิ ารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยีสารสนเทศ

ประเภทของภัยคุกคามท่ีเกิดข้ึนกับระบบคอมพิวเตอรและเครือขายนั้นสามารถจําแนกได
2 ประเภทหลกั ๆ ดังน้ี
1. ภยั คกุ คามทางตรรกะ (Logical) หมายถงึ ภัยคุกคามทางดา นขอมูล
2. ภัยคุกคามทางกายภาพ (Physical) หมายถึง ภัยที่เกิดกับตัวเครื่องและอุปกรณ เชน
ภยั ภบิ ตั จิ ากธรรมชาติ และภยั จากการกระทาํ ของมนษุ ยท ที่ าํ ความเสยี หายใหก บั ตวั เครอื่ งและอปุ กรณ
ภัยคุกคามทางดา นขอ มลู
Hacker คอื ผทู แี่ อบเขา ใชง านระบบคอมพวิ เตอรข อง
หนว ยงานหรอื องคก รอน่ื โดยมไิ ดร บั อนญุ าต แตไ มม ปี ระสงค
รา ย หรือไมม ีเจตนาที่จะสรา งความเสยี หายหรอื สรางความ
เดือดรอนใหแกใครทั้งสิ้น แตเหตุผลที่ทําเชนนั้นอาจเปน
เพราะตองการทดสอบความรูความสามารถของตนเอง
กเ็ ปนไปได ท่ีมา : รhtปู tpทภ:/า่ี /พ1wท.4aี่ 1t0a.4c1แhแสiwสดดaงงzaHH.abcalokcegkrseprot.com
Cracker คือ ผทู ีแ่ อบเขา ใชงานระบบคอมพวิ เตอรของหนว ยงานหรอื องคก รอน่ื โดยมเี จตนา
รา ย อาจจะเขา ไปทาํ ลายระบบหรอื สรางความเสยี หายใหกบั ระบบ Network ขององคก รอืน่ หรอื
ขโมยขอ มลู ที่เปนความลับทางธรุ กจิ
Note : ไมวาจะเปน Hacker หรือ Cracker ถามีการแอบเขาใชงานระบบคอมพิวเตอร
เครือขายของผอู นื่ แมว าจะไมป ระสงครา ยก็ถือวาไมด ที ั้งส้ิน เพราะขาดจริยธรรมดานคอมพวิ เตอร
ไวรัส (Viruses) คือ โปรแกรมคอมพิวเตอรประเภทหนึ่งท่ีเขียนข้ึนโดยความต้ังใจของ
Programmer ถูกออกแบบมาใหแพรกระจายตัวเองจากไฟลหนึ่งไปยังไฟลอ่ืน ๆ ภายในเคร่ือง
คอมพิวเตอร ไวรัสจะแพรกระจายตัวเองอยางรวดเร็วไปยังทุกไฟลภายในคอมพิวเตอร หรืออาจ
จะทําใหไฟลเอกสารติดเช้ืออยางชา ๆ แตไวรัสจะไมสามารถแพรกระจายจากเคร่ืองหนึ่งไปยังอีก
เคร่ืองหนึ่งไดดวยตัวมันเอง โดยท่ัวไปแลวจะเกิดจากการที่ผูใชใชสื่อจัดเก็บขอมูล เชน Diskette
คัดลอกไฟลขอมูลลง Disk และติดไวรัสเมื่อนําไปใชกับเคร่ืองอ่ืน หรือไวรัสอาจแนบมากับไฟล
เม่อื มกี ารสง E-mail ระหวา งกนั

2IT8Governance ภราปูพทที่ ่ี11.4.24แ1สดแงสไวดรัสงไ(Vวirรuสัses) ธรรมาภิบาล

ที่มา : http://jayciao.blogspot.com/ เทคโนโลยสี ารสนเทศในองคก ร

27

หนว ยการเรยี นรูท่ี 1

หนอนอินเทอรเ นต็ (Worms) มีอันตรายตอระบบมาก สามารถทําความเสียหายตอ ระบบได
จากภายใน เหมือนกับหนอนที่กัดกินผลไมจากภายใน หนอนรายเปนโปรแกรมคอมพิวเตอรที่ถูก
ออกแบบมาใหส ามารถแพรก ระจายตวั เองจากเครอื่ งคอมพวิ เตอรเ ครอื่ งหนง่ึ ไปยงั อกี เครอื่ งหนงึ่ โดย
อาศยั ระบบเนต็ เวิรค (ผา นสาย Cable) ซงึ่ การแพรก ระจายสามารถทําไดด วยตัวของมนั เองอยาง
รวดเรว็ และรนุ แรงกวาไวรสั เม่อื ไรกต็ ามที่ส่งั Share ไฟลข อมลู ผาน Network เมอื่ น้ัน Worms
สามารถเดินไปกบั สายส่ือสารได

Spam mail คอื การสง ขอ ความทีไ่ มเ ปน ทีต่ อ งการใหกับคนจํานวนมาก ๆ จากแหลงทผี่ ูร ับ
ไมเคยรูจักหรือติดตอมากอน โดยมากมักอยูในรูปของ E-mail ทําใหผูรับรําคาญใจและเสียเวลา
ในการลบขอ ความเหลา นน้ั Spam mail ยงั ทาํ ใหป ระสทิ ธภิ าพการขนสง ขอ มลู บนอนิ เทอรเ นต็ ลดลง
ดวย

8. การรักษาความปลอดภยั บนระบบคอมพิวเตอร

การรักษาความปลอดภัยบนระบบคอมพิวเตอร จําแนกการรักษาความปลอดภัยออกเปน
2 ดาน ไดแก

1. ความปลอดภัยของขอมูล (Information Security) ขอมูลจัดเปนทรัพยสินประเภทหน่ึง
ขององคก ร และเปน หวั ใจหลกั สาํ หรบั การดาํ เนนิ ธรุ กจิ ดงั นนั้ จาํ เปน ตอ งใหค วามสาํ คญั ในการรกั ษา
ความปลอดภัยของขอ มลู เชนเดียวกบั การรกั ษาความปลอดภัยของตัวเครื่องและอปุ กรณ หรืออาจ
ใหความสาํ คญั มากกวา ดว ยซ้าํ ไป

2. ความปลอดภัยทางกายภาพ (Physical Security) ไดแ ก ทรพั ยส ินหรอื อปุ กรณต า ง ๆ

รูปท่ี 1ทภ.่มี4าาพ2ท :่ี h2แ.t4tส3pด:แ//งสaกดrงiาtก.รlาpรรrรกัuกั .ษษaาcาค.คtวhาว/มlาปaมลwอปcดoลภmยัอบด/นpภรaะัยgบeรบ1ะค.อบpมhบพpควิ ?เอตidอม=รพ1 2วิ เตอร์

มาตรการการรกั ษาความปลอดภยั ของขอ มูล
1. การระบตุ วั บคุ คลและอาํ นาจหนา ท่ี (Authentication & Authorization) เพอื่ ระบตุ วั บคุ คล
ทต่ี ดิ ตอหรอื ทาํ ธรุ กรรมรวมดวย

ธรรมาภิบาล 28 IT Governa2nc9e

เทคโนโลยสี ารสนเทศในองคกร

ความรูเกย่ี วกับหลักการบริหารจัดการความปลอดภัยเทคโนโลยสี ารสนเทศ

2. การรักษาความลับของขอมูล (Confidentiality) เพื่อรักษาความลับในขณะสงผานทาง
เครือขา ยไมใ หค วามลับถูกเปด โดยบคุ คลอนื่ ทีไ่ มใ ชผูรับ

3. การรกั ษาความถกู ตอ งของขอ มลู (Integrity) เพอ่ื การปอ งกนั ไมใ หบ คุ คลอนื่ ทไี่ มใ ชผ รู บั แอบ
เปด ดู และแกไขเปลย่ี นแปลงขอมูล

4. การปองกันการปฏิเสธ หรืออางความรับผิดชอบ (None-Repudiation) เพื่อปองกัน
การปฎเิ สธความรบั ผดิ ในการทาํ ธรุ กรรมระหวา งกนั เชน การอา งวา ไมไ ดส ง หรอื ไมไ ดร บั ขอ มลู ขา วสาร

การรกั ษาความปลอดภยั ของขอมูล
การเขา รหสั (Cryptography) คือ การทาํ ใหขอ มูลทจ่ี ะสง ผานไปทางเครือขายอยใู นรูปแบบ
ทไ่ี มส ามารถอา นออกไดด ว ยการเขา รหสั (Encryption) ทาํ ใหข อ มลู นนั้ เปน ความลบั ซงึ่ ผทู มี่ สี ทิ ธจิ รงิ
เทา น้นั จะสามารถอานขอ มูลน้ันไดดว ยการถอดรหัส (Decryption)

ทมี่ า : http://www.tips4secภuารrพitปูทy่ีท.1c.่ีo414m.4แ/tส3hด /งh กแoาwรสเข-ดtา oงร-หกeัสาliรm(Cเirขnyา้pattรoeหg-rdสัaaphilyy)promos-website-pop-up

Web Guide

1. http://pondsaysone.myreadyweb.com/article/topic-10032.html
2. http://blog.eduzones.com/kittipung/33214
3. http://www.zoneza.com/view3833.htm
4. http://bit2alone.wordpress.com/about/

ธรรมาภิบาล3IT0Governance29
เทคโนโลยสี ารสนเทศในองคกร

หนว ยการเรียนรูท่ี 1

ใบความรูอาเซยี น หนวยท่ี 1
เรอ่ื ง AEC แผนขยายเนต็ ทว่ั ประเทศ และความปลอดภยั ในธรุ กรรม

อเิ ลก็ ทรอนกิ สไ ทยรองรบั อาเซยี น

รายงาน AEC แผนขยายเนต็ ทัว่ ประเทศ และ
ความปลอดภัยในธุรกรรมอิเล็กทรอนิกสไทยรองรับ
อาเซียน การเขาสูประชาคมอาเซียนในป 2558
เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารนบั เปน สว นสาํ คญั
ทชี่ ว ยขบั เคลอ่ื นความเปน สากลเขา สปู ระชาคมอาเซยี น
โดยกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
หรือกระทรวงไอซที ี ไดว างแนวทางในการขับเคล่ือน
ประเทศไทยเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนดวย
การขยายบรกิ ารอนิ เทอรเนต็ ครอบคลุมทั่วประเทศ สรางความปลอดภัยในธุรกรรมอเิ ลก็ ทรอนกิ ส
และพัฒนาบุคลากรดานไอซีทีเปนหลัก นาวาอากาศเอกอนุดิษฐ นาครทรรพ รัฐมนตรีวาการ
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร กลาววา กระทรวงไอซีทียังเรงพัฒนาโครงสราง
พนื้ ฐานดา นเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารของประเทศอยา งทว่ั ถงึ และเทา เทยี ม ทงั้ การเปด
ใหบริการฟรี Wi-Fi จํานวน 250,000 จุดท่ัวประเทศ พัฒนาโครงสรางอินเทอรเน็ตใหเขาถึง
ประชาชนทวั่ ประเทศ เชอ่ื มโยงขอ มลู หนว ยงานภาครฐั ทวั่ ประเทศใหเ ปน ศนู ยก ลางในรปู แบบขอ มลู
อิเล็กทรอนิกส และใหบริการบนระบบคลาวดคอมพิวต้ิงท่ีชวยยกระดับบริการภาครัฐใหสะดวก
รวดเรว็ มปี ระสทิ ธภิ าพ ลดตน ทนุ การจดั เกบ็ ขอ มลู ภาครฐั มคี วามปลอดภยั และขอ มลู ทางเทคโนโลยี
มีความเชื่อมโยงกับนานาประเทศที่เปนสากลมากขึ้น ซ่ึงประเทศไทยไดเร่ิมใชคลาวดฯในการ
จัดเก็บขอมูลภาครัฐต้ังแตเดือนเมษายน 2555 และยังพัฒนาบริการอยางตอเนื่อง สงเสริม
ผูประกอบการไทยใหใชซอฟตแวรไทยในการประกอบธุรกิจเพื่อเช่ือมภาคธุรกิจดวยเทคโนโลยี
สรางมาตรฐานความปลอดภัยดานธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส รองรับการขยายตัวของธุรกรรม
อิเล็กทรอนิกสในการขยายธุรกิจสูตลาดอาเซียน ตลอดจนสรางและพัฒนาบุคลากรท่ีมีความรู
ความเชยี่ วชาญ และพฒั นามาตรฐานวชิ าชพี ดา นเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารใหเ พยี งพอ
รองรบั การขยายตวั ของตลาดธรุ กจิ ไอซที ใี นตลาดอาเซยี นอยา งเปน สากลและเทา เทยี มนานาประเทศ

ธรรมาภบิ าล 30 IT Governa3nc1e

เทคโนโลยีสารสนเทศในองคกร

หนวยการเรียนรูท ่ี 1

กจิ กรรมทายหนวยการเรยี นรทู ่ี 1

ใบงานท่ี 1
เร่อื ง ความรเู กยี่ วกับหลักการบรหิ ารจดั การความปลอดภัยเทคโนโลยีสารสนเทศ

คาํ ส่ัง ใหนักเรียนศึกษาหาความรูเพ่ิมเติมจากอินเทอรเน็ต หรือหนังสือพิมพ วารสาร ฯลฯ
เกย่ี วกบั หลกั การบรหิ ารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศ พรอ มตอบคาํ ถาม
ตอ ไปนี้

หลักการบรหิ ารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยีสารสนเทศ

1. สรปุ หลกั การบริหารจัดการความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศทนี่ ักเรยี นคนควา มา
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

2. ทีม่ า
.................................................................................................................................................................................

3. นักเรยี นคดิ วา หลกั การบรหิ ารจัดการความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศมีประโยชนอ ยา งไร
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
ธรรมาภบิ าล32เทคโนโลยีสารสนเทศในองคกร
32 IT Governance

ความรเู กี่ยวกบั หลกั การบรหิ ารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยีสารสนเทศ

แบบฝแึกบบหฝัด กหหนัดว่ ยที่ 1

ตอนที่ 1 คาํ สงั่ ใหนักเรียนตอบคาํ ถามตอ ไปน้ี

1. จงอธบิ ายความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

2. ระบบสารสนเทศคอมพวิ เตอรประกอบดวยอะไรบาง
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

3. เทคโนโลยสี ารสนเทศมคี วามสาํ คญั อยา งไร
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

4. จงยกตัวอยางผลกระทบทางบวกของเทคโนโลยสี ารสนเทศ

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................
ธรรมาภิบาล33เทคโนโลยีสารสนเทศในองคกร
IT Governance 33

หนว ยการเรียนรทู ่ี 1

5. จงอธิบายการบรหิ ารจัดการความปลอดภยั ของขอมลู สารสนเทศ
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

6. การเสริมสรา งความปลอดภัยคือ
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

7. ประเภทของภัยคุกคามมีอะไรบาง
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

8. การรักษาความปลอดภยั บนระบบคอมพิวเตอรมวี ิธกี ารอยา งไร

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................
ธรรมาภิบาล34เทคโนโลยีสารสนเทศในองคก ร
34 IT Governance

ความรูเกีย่ วกับหลักการบรหิ ารจัดการความปลอดภัยเทคโนโลยีสารสนเทศ

ตอนท่ี 2 คําสง่ั ใหนกั เรยี นโยงเสนความสัมพันธใหถ ูกตอ ง

เทคโนโลยีสารสนเทศ ทาํ ใหเ กดิ การแพรว ฒั นธรรมและกระจายขา วสาร
(Information Technology) ทีไ่ มเ หมาะสมอยา งรวดเรว็

ระบบสารสนเทศคอมพวิ เตอร ความปลอดภยั ของขอ มูล (Information Security)
ความสาํ คัญของเทคโนโลยี ความปลอดภยั ทางกายภาพ (Physical Security)

สารสนเทศ การเสรมิ สรา งความปลอดภยั ในการใชอ นิ เทอรเ นต็
ผลกระทบในทางลบของ สําหรบั เด็ก กฎสาํ หรับการใชอีเมล
เทคโนโลยสี ารสนเทศ กระบวนการจดั เกบ็ ประมวลผล และการเผยแพร
ไมใหทอี่ ยอู ีเมลแกค นท่ีเรา สารสนเทศ เพอ่ื ชว ยใหไ ดส ารสนเทศทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ
และรวดเรว็ ทันตอเหตกุ ารณ
ไมร จู กั เทคโนโลยีสารสนเทศกอใหเกิดการวางแผน
การรักษาความปลอดภยั การดําเนินการระยะยาวขึ้น อีกทั้งยังทําใหวิถี
บนระบบคอมพวิ เตอร การตัดสนิ ใจหรอื เลือกทางเลอื กไดละเอยี ดข้ึน
IT Governance ฮารดแวร (Hardware), ซอฟตแวร (Software),
ขอ มลู หรอื ขา วสารสนเทศ, การสอื่ สารและเครอื ขา ย,
กระบวนการทาํ งาน และบุคลากรทางสารสนเทศ

ธรรมาภิบาล3535 เทคโนโลยีสารสนเทศในองคก ร

หนวยการเรียนรูท่ี 1

กจิ กรรม บรู ณาการจิตอาสา

กิจกรรม : ความรูเ ก่ียวกับหลกั การบรหิ ารจดั การความปลอดภัยเทคโนโลยีสารสนเทศ
จุดประสงค : เพอื่ ใหน กั เรยี นมคี วามรเู กยี่ วกบั หลกั การบรหิ ารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยี

สารสนเทศ
1. ใหน ักเรยี นทาํ แผนพบั สรุปความรูเบอ้ื งตนเกยี่ วกบั ความรูเก่ยี วกบั หลักการบรหิ าร

จดั การความปลอดภยั เทคโนโลยีสารสนเทศ
2. แจกแผน พบั ใหก บั บคุ คลทย่ี งั มคี วามรนู อ ย หรอื ไมม คี วามรเู กย่ี วกบั หลกั การบรหิ าร

จัดการความปลอดภัยเทคโนโลยีสารสนเทศในสถานศึกษาเพื่อประโยชนตอไป

กิจกรรม บรู ณาการเศรษฐกิจพอเพียง

กจิ กรรม : รอู ีกนิด อนาคตไกล
จุดประสงค : เพ่ือใหนกั เรียนใชหลกั การบรหิ ารจัดการความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศ
ภาระงาน 1. ใหน ักเรยี นจับคู ใหแตละกลมุ รวบรวมขอมูลเก่ียวกับส่ิงตา ง ๆ ทช่ี ว ยใหเ กดิ หลัก

การบรหิ ารจัดการความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศ
2. จัดทาํ ปายนิเทศเพอ่ื เผยแพรความรู และเพอ่ื เปนการประหยดั คาใชจ าย
3. สรุปผลการดําเนนิ งานเพ่อื รายงานครผู ูสอน

ธรรมาภบิ าล36เทคโนโลยสี ารสนเทศในองคก ร 36 IT Governance

ความรเู กย่ี วกับหลกั การบริหารจัดการความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศ

กจิ กรรม บรู ณาการอาเซยี น

คาํ ส่งั ใหนกั เรยี นหาคาํ ศัพทม าเติมใหสัมพนั ธกับขอความทกี่ าํ หนดให

1. การประยุกตความรูทางวิทยาศาสตรมาใชในระบบสารสนเทศ ต้ังแตกระบวนการจัดเก็บ
ประมวลผล และการเผยแพรส ารสนเทศ

.................................................................................................................................................................................

2. แปนพมิ พ เมาส หนวยประมวลผลกลาง จอภาพ เครอื่ งพมิ พ

.................................................................................................................................................................................

3. โปรแกรมหรอื ชุดคาํ ส่งั วัตถปุ ระสงคห ลกั ของซอฟตแวรที่ส่ังใหฮารด แวรท ํางาน

.................................................................................................................................................................................

4. การตดิ ตอส่อื สารกันระหวา งผสู ง และผูรบั โดยผานโครงขา ย

.................................................................................................................................................................................

5. ข้ันตอนการทาํ งานเพอื่ ใหไ ดผ ลลัพธหรือขอ สนเทศจากคอมพิวเตอร

.................................................................................................................................................................................

6. กระบวนการถา ยโอนหรอื แลกเปลยี่ นขอ มูลกนั ระหวา งผสู ง และผรู ับโดยผา นชองทางสอ่ื สาร

.................................................................................................................................................................................

7. ภยั ทเ่ี กิดกบั ตัวเครอื่ งและอปุ กรณ

.................................................................................................................................................................................

8. ผทู แี่ อบเขา ใชง านระบบคอมพวิ เตอรข องหนว ยงานหรอื องคก รอน่ื โดยมเี จตนารา ย อาจจะเขา ไป
ทาํ ลายระบบ

.................................................................................................................................................................................

9. ท่ีแอบเขาใชงานระบบคอมพิวเตอรของหนวยงานหรือองคกรอ่ืนโดยมิไดรับอนุญาต แตไมมี
ประสงคร าย หรอื ไมม ีเจตนาท่จี ะสรา งความเสียหายหรือสรางความเดอื ดรอ นใหแกใ ครทงั้ ส้นิ

.................................................................................................................................................................................

10.การสงขอ ความที่ไมเปน ท่ตี องการใหกับคนจาํ นวนมาก ๆ จากแหลงท่ผี รู ับไมเ คยรูจักหรือติดตอ
มากอ น โดยมากมกั อยใู นรูปของ E-mail ทาใหผูร ับรําคาญใจ

.................................................................................................................................................................................

IT Governance 37 ธรรมาภิบาล37เทคโนโลยสี ารสนเทศในองคกร

หนว ยการเรียนรทู ี่ 1

แแบบบบททดดสสออบบกหอลนงั รเรียียนนหหนนวว่ ยที่ 1

คาํ สงั่ จงทําเครื่องหมาย X ทับขอทีถ่ ูกตองทสี่ ุดเพยี งขอเดียว

1. ผลลบของเทคโนโลยสี ารสนเทศคอื
ก. ทาํ ใหความสมั พนั ธของมนษุ ยเส่ือมถอย
ข. ชวยใหเ กดิ ความเขาใจอนั ดรี ะหวา งกัน
ค. ทําใหเ ศรษฐกจิ เจริญรุง เรือง
ง. ชว ยสง เสรมิ สตปิ ญ ญาของมนษุ ย
จ. ชว ยสงเสรมิ ประชาธิปไตย

2. การเขา รหสั ถอื วาเปนรกั ษาความปลอดภยั ประเภทใด
ก. เชงิ กายภาพ ข. เชงิ ตรรกะ
ค. เชงิ วิทยาศาสตร ง. เชิงสังคมศาสตร
จ. เชิงจรรยาบรรณ

3. ขอใด ไมใช วิธีการจดั การกับเน้ือหาท่ไี มเหมาะสมท่ปี รากฏบนจอคอมพวิ เตอร
ก. ปดหนาเว็บ ข. ปด บราวเซอร browser
ค. ไมใ หทอ่ี ยอู เี มลแ กคนที่เราไมรจู กั ง. ปด คอมพวิ เตอรพ รอ มกบั แจง ผปู กครองหรอื ครู
จ. หลกี เลย่ี งปญหาโดยการบอกใหค นอนื่ ทราบหากเราพบอะไรผดิ พลาด

4. ขอใด ไมใช กฎของการแชต การส่ือสารทางออนไลน
ก. ไมอ อกไปพบกบั บคุ คลทีพ่ บ หรอื รูจักสื่อสารผานทางออนไลน
ข. ใหช ือ่ อเี มลก ับเพื่อนทีไ่ มรูจ ักดี และควรไปพบกบั คนแปลกหนา
ค. ถารสู ึกถกู กดดนั จากการส่อื สารออนไลนก ับใครใหปรึกษาผใู หญท ร่ี ับผิดชอบ
ง. ปรึกษาผูใหญท่ีรบั ผิดชอบ อยา ใหถ กู หลอกลอ เพอ่ื ไปพบเจอกับคนทีร่ ูจ ักออนไลน
จ. หากถกู ใครหรอื สง่ิ ใดรบกวนในหอ งแชตใหร บี ออกจากการสนทนา และอยา ตดิ ตอ สนทนาอกี

5. ขอ ใด ไมใช กฎ-การปองกันไวรัส และขอ มลู ขยะ
ก. เก็บรหัสผา นเปน ความลับเสมอ
ข. ใหร ะวงั อเี มลทบ่ี อกวาโปรดสงตอใหท กุ ๆ คน
ค. หากขอ มลู บางอันรสู ึกดเี กนิ ท่จี ะเชอื่ ไดสรปุ ไดเลยวาไมจ รงิ
ง. เขาไปในเว็บไซตข องธนาคารใด ๆ ท่ีบอกใหค ณุ แจงรหสั ผาน
จ. ใหระมดั ระวังเวบ็ ไซตท ใ่ี หด าวนโหลดฟรี เพราะอาจเตม็ ไปดวยไวรสั

ธรรมาภิบาล38เทคโนโลยีสารสนเทศในองคกร 38 IT Governance

ความรเู กยี่ วกับหลักการบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศ

6. ภยั คกุ คามทางตรรกะหมายถงึ ขอ ใด ข. ภัยที่เกดิ กับตวั เคร่ือง
ก. ภยั คกุ คามทางดา นขอมูล
ค. ภยั ท่เี กิดกบั อปุ กรณ ง. ภัยพบิ ัตจิ ากธรรมชาติ
จ. ภัยจากการกระทําของมนษุ ย
7. เราทําการรกั ษาความถกู ตอ งของขอมูลเพอื่ อะไร
ก. เพอ่ื การปองกนั ไมใหบุคคลอื่นทไ่ี มใ ชผูร บั แอบเปดดูและแกไ ขเปล่ยี นแปลงขอ มลู
ข. เพอื่ รกั ษาความลบั ในขณะสง ผา นทางเครอื ขา ยไมใ หค วามลบั ถกู เปด โดยบคุ คลอนื่ ทไี่ มใ ชผ รู บั
ค. เพ่อื ระบุตวั บคุ คลทตี่ ิดตอ หรือทําธุรกรรมรวมดว ย
ง. เพ่อื ปองกนั การปฏิเสธความรบั ผิดในการทาํ ธุรกรรมระหวางกัน
จ. เพ่อื ปองกันการอางความรับผิดชอบ

8. ผทู แ่ี อบเขา ใชง านระบบคอมพวิ เตอรของหนว ยงานโดยมิไดร บั อนุญาต แตไมม ปี ระสงคราย
เหตผุ ลที่ทาํ เชนน้นั เปน เพราะตอ งการทดสอบความรคู วามสามารถของตนเองคอื ขอใด
ก. Organized Crime ข. Career Criminal
ค. Com Artist ง. Cracker
จ. Hacker

9. ผทู แี่ อบเขา ใชง านระบบคอมพวิ เตอรข องหนว ยงานโดยมเี จตนารา ย อาจจะเขา ไปทาํ ลายระบบ
Network ขององคก รอื่น หรือขโมยขอมูลท่ีเปนความลับทางธุรกิจคือขอ ใด
ก. Organized Crime ข. Career Criminal
ค. Com Artist ง. Cracker
จ. Hacker

10.ขอใด ไมใช มารยาททั่วไปในการใชงานอนิ เทอรเ นต็
ก. ไมใ ชอ ินเทอรเ น็ตเพอ่ื ลวงละเมดิ หรือรบกวนผูอ ื่น
ข. ไมใชระบบเครือขายคอมพิวเตอรเพอื่ การใด ๆ ที่ขัดตอกฎหมายหรือศลี ธรรม
ค. นําขอมลู ของผอู ่ืนมาใชในทางท่ีผิด หรอื เปล่ยี นแปลงขอมลู นน้ั ๆ
ง. ไมบ อกรหัสกบั ผูอื่นแมแ ตเพื่อนสนทิ
จ. ไมใ ชบ ัญชีชื่อผูใชข องผอู นื่ หรอื ใชเ ครือขา ยโดยไมไ ดร ับอนญุ าต

IT Governance 39 ธรรมาภบิ าล39เทคโนโลยีสารสนเทศในองคก ร

40