Rcep ม ข อควรระว งอย างไร ส าหร บประเทศไทย

เปลี่ยนไป จากเมื่อก่อนประเทศไทยที่อยู่กับ โมเดล 1 เราก็อยูได้โดยไม่ ่รู้สึกเครียดแต่อย่างใดเลยในการใช้

ชีวิต ครั

นต่อมาเปลี่ยนเป็น โมเดล 2 เราก็ยังอยู่ได้โดยที่ไม่รู้สึกเครียดกบการใช้ชีวิตปกติเหมือนเกั ่า แต่พอ

ประเทศไทยเริ

มเข้าสู่ โมเดล 3 จะรู้สึกได้ทันที่เลยว่าคนไทยจ านวนไม่น้อยต้องจมอยูก่ ับความเครียดและ

มีแนวโน้มว่าจะเพิ

มมากขึ

น เพราะการแข่งขันและต่อสู้รุนแรงขึ

น และอีกในไม่ช้านี้ นโยบายใหม่ของ

รัฐบาลที่ก าลังพยายามผลักดัน โมเดล 4 อันเป็ น โมเดล เพื่อการแข่งขันแห่งนวัตกรรมมาสู่ประเทศไทย

ก็ยิ

งอาจท าให้คนไทยในปัจจุบันต้องเพิ

มความพยายามที่จะต้องยิ

งต่อสู้มากขึ

นเพื่อความอยู่รอด ซึ่งเป็ นผล

ที่ท าให้เกิดความเครียดมาขึ้นตามมาด้วยอยางแน่ ่นอนส าหรับคนไทย

ค าส าคัญ: (1) ความเครียด (2) สาเหตุความเครียด (3) ความเครียดของคนไทย (4) วิธีคลายเครียด (5) โมเดล 4.

Abstract

Show

Erewhile in Thailand, people's lives, not chaos. Life was simpler things. But the world has

changed. Innovations have to play a role in life more and more. Thailand has started to change people's

lives. When Thailand was the first model with 1, (Agriculture). We live without feeling stressed. And

when they changed to model 2, (Light industry) we still feel the same without feeling stressed. But when

the Thailand began to model 3, (Heavy industry) we felt immediately that the Thai people have caught

up with a lot of stress. Because of competition and the economic struggle more intensified. And soon the

new policy of the government is trying to push the 4 model, About Competition for innovation to

Thailand. It might even make people in Thailand currently need to increase their efforts and to struggle

even more to survive. This will cause increased stress on the people of Thailand.

Keywords: Stress of Thai people, Stress, Thailand model, Innovations, Increased stress

บทน า

โลกปัจจุบันทุกวันนี้ความก

าวหน้าในด้านเทคโนโลยีเดินหน้าไปอย

างรวดเร็ว เร็วเสียจนกระทังเรา่

แทบจะนึกไม่ถึงเลยวามีสิ่

งที่เหลือเชื่อที่เกิดจากฝี มือมันและสมองของมนุษย์ โลกทุกวันนี

ใบเล็กลงทุกที่ไม่

ว่าจะเกิดอะไรที่ไหนในโลกใบนี้เราจะรู้ได้ภายในมีกี่วินาที การเดินทางที่รวดเร็วจากที่หนึ่งไปยังที่หนึ่งจาก

ประเทศหนึ่งไปยังอีกประเทศหนึ่งหรือทวีปอีกซีกโลกหนึ่ง การติดต่อสื่อสารคุยกันเหมือนอยู่ใกล้ชิดข้างๆ

กน นัั

นคือผลของการใช้เทคโนโลยี และการสร้างนวัตกรรมสิ

งประดิษฐ์ใหม่ๆ ขึ

นมาตลอดเวลาจุดประสงค์

ก็เพื่อในการท าให้การใช้ชีวิตสะดวกสบายง่ายขึ้น

แต่เทคโนโลยีและนวัตกรรมสิ

งประดิษฐ์ที่ทันสมัยล

าหน้าทั

งหลายมันไม่ได้มาเฉยๆ แต่มันมา

พร้อมกบความเปลี่ยนแปลงอันมหาศาลบนโลกใบนีั ้ เกิดเป็นความต้องการที่จะมีมันและอยู่กบมันแม้จะต้องั

เปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมทรัพยากรต

างๆ ที่มีอยู

หรือแม้กระทั่งตัวเราเองเพื่อแลกก

บมัน เก

ดเป็ นวงจร

กระทบกันไปทั

ว ผู้ที่มีนวัตกรรมใหม่หรือเทคโนโลยีที่สูงกว่าก็ย่อมที่จะได้เปรียบ คนที่ด้อยกว่าก็ต้อง

พยายามที่จะต่อสู้ดิ

นรนหรือยอมที่จะต้องอยูให้รอด และสิ่ ่งนี้คือปัญหาที่ว่า คนไทยที่ต้องดิ

นรนต่อสู้ดิ

นรน

อยู่ในสภาพ สังคม เศรษฐกิจ การเมือง อย่างทุกวันนี

จะต้องได้รับความเครียดขนาดไหน และจัดการอย่างไร

หากที่จะต้องด ารงชีวิตอยู่กับมันอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ตลอดไป

ความเครียด (Stress)

โลกแห่งความก้าวหน้าหรือที่เราเรียกว่าโลกแห่งโลกาภิวัตน์อะไร ๆ ก็เกิดการเปลี่ยนแปลงอยู่

ตลอดเวลา การพัฒนาทางเทคโนโลยีที่รวดเร็ว การสื่อสารที่กาวไปข้างหน้าอย้ ่างไม่มีวันจะหยุดได้ สิ

งแปลก

ใหม่เกิดขึ้นทุกวันอย่างเหลือเชื่อแต่เป็ นเรื่องของความเป็ นจริง จนท าให้ผู้คนอีกจนวนมากตามไม่ทันในสิ่ง

ต่าง ๆ ที่เกิดขึ

น ทุกอยางเก่ ิดการเปลี่ยนแปลงหมด ทั

งการใช้ชีวิตดั

งเดิม ขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมเก่าๆ เริ

หายไป สิ่งที่เคยเป็ นหรือเคยมีเมื่อก่อนนี้ก็หายไป มีสิ่งใหม่เข้ามาทดแทนในทุก ๆ ด้านทั

ง เศรษฐกิจ

การเมือง สังคม และสิ

งแวดล้อม ท าให้มีคนจ านวนมากตามการเปลี่ยนแปลงไม่ทัน คนกลุ่มเก่าหรือร่วมสมัย

ก็ตามไม่ทันเทคโนโลยี แม้กระทั

งคนรุ่นใหม่ที่ไม่ใส่ใจก็ตามไม่ทันเหมือนกน ความสุขสบายแตั ่ก่อนที่เคยมี

ก็เริ่มหดหายไป กลายเป็ นสังคมที่ต้องดิ

นรนต่อสู้และต้องเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ ตลอดเวลาจะหยุดนิ่งไม่ได้

ก่อให้เกิดความกดดันจนกลายเป็ นความเตรียด (Stress) ในตัวบุคคล และจะเห็นได้ว่า ในประเทศที่

เจริญก้าวหน้าหรือประเทศที่พัฒนาแล้ว จะพบผู้ที่เกิดความเครียดและควบคุมสติของตัวเองไม่ได้ตามท้อง

ถนนบ่อยมากๆ และอาการลักษณะนี

ก็จะลุกลามไปยังประชากรประเทศต่าง ๆ อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ แม้แต่

ประเทศไทยของเรา

อันที่จริงความเครียดไม่ใช่สิ่งที่ไม่ดีเสียทั

งหมด ความเครียดมีทั

งคุณและโทษ ความเครียดหากมี

พอเหมาะพอควรก็จะท าให้เกิดการกระตุ้นเป็ นตัวเร้าให้เราก้าวไปข้างหน้าอย่างมีพลัง ท าให้ประสบ

แต่อย่างไรก็ตามเมื่อเวลาผ่านไปสิ

งใหม่ ๆ ที่เกิดขึ

น และมีความเปลี่ยนแปลงขึ

นอีกมากมายแทบ

ตั

งตัวไม่ทันความเครียดก็ยิ

งเพิ

มมากขึ

น ตัวอย่างเช่น ความเครียดและความเศร้าของคนทั

งประเทศที่เกิดขึ

พร้อม ๆ กัน เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม ปี พ.ศ. 2559 ข่าวที่ช็อกคนไทยทั้งประเทศ เมื่อพ่อหลวงพระเจ้าแผ่นดิน

รัชกาลที่ 9 อันเป็ นที่รักสุดหัวใจของประชาชนคนไทยทั

งประเทศสวรรคตลง สร้างความโศกเศร้า เจ็บปวด

แก่คนไทยทั

งประเทศ เป็นความเครียดที่มากที่สุดของคนไทยพร้อม ๆ กันทั

งประเทศ จนกรมสุขภาพจิตต้อง

ออกมาประกาศเมื่อ 14 ตุลาคม ปี พ.ศ. 2559 โดยยงยุทธ์ วงค์ภิรมย์ศานติ์ (2559, หน้า 10) หัวหน้ากรม

สุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) เผยว่าสุขภาพจิตของประชาชนหลังการสูญเสียครั

งยิ

งใหญ่ว่า

การดูแลสุขภาพจิตของประชาชนโดยเฉพาะในยุคสมัยที่มีช่องทางรับรู้ข่าวสารที่รวดเร็วมากขึ้นเป็ น

สิ

งส าคัญ แม้เดิมจะเคยผ่านเหตุการณ์สูญเสียเช่นนี

มาบ้างแล้วก็ตาม

จะเห็นได้ว่าความเครียดของคนไทยที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะบางเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิด ท าให้คนไทย

จ านวนไม่น้อยซึมเศร้า เสียใจกับเหตุการณ์ เป็ นความเครียดที่ก

อเกิดในใจสุดที่จะหักห้ามได้ เมื่อบุคคลอัน

เป็นที่รักสุดหัวใจจากไป แต่ส าหรับคนไทยแล้วยังมีสิ

งที่เป็นสาเหตุของความเครียดหลายประเด็น อันเกิดมา

จาก เศรษฐกิจ การเมือง สังคม และสิ่งแวดล้อม ดังที่คณะรัฐมนตรีเห็นชอบร่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ

สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (ปี พ.ศ. 2560 - 2564) ในคราวที่ประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 13 กนยายน ปี พ.ศ. ั

2559 เพื่อที่ต้องการที่จะพัฒนาประเทศไทยให้ก้าวเดินไปข้างหน้า โดยส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการ

เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2559) จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (ปี พ.ศ. 2560-

2564) ประกอบด้วย 10 ยุทธศาสตร์ (1) การสร้างและพัฒนาศักยภาพมนุษย์ (2) การสร้างความเป็นธรรมและ

ลดความเหลื่อมล

าในสังคม (3) การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั

งยืน (4) การเติบโต

ที่เป็ นมิตรกับสิ

งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั

งยืน (5) การเสริมสร้างความมั

นคงแห่งชาติ เพื่อการพัฒนา

ประเทศสู่ความมั

งคงและยั

งยืน (6) การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้ องกนการทุจริตประพฤติมิชอบ และั

ธรรมาภิบาลในสังคมไทย (7) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ (8) การพัฒนาวิทยาศาสตร์

เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม (9) การพัฒนาภาคเมืองและพื

นที่เศรษฐกิจ (10) ความร่วมมือระหว่าง

ประเทศเพื่อการพัฒนา (แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (ปี พ.ศ. 2560-2564) เสนอ

คณะรัฐมนตรี วันที่ 13 ก

นยายน ปี พ.ศ. 2559 จะเห็นได้ว

าจากแผนพัฒนาเศรษฐก

จและสังคมแห

งชาติฉบับ

ที่ 12 นี

มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาความสามารถของประเทศให้ก้าวหน้า เป็ นการพัฒนาเพื่อความยั

งยืนอย่าง

แท้จริงแก้ไขความเหลื่อมล

าและความยากจน ยกระดับคุณภาพชีวิตและสร้างต้นทุนของสังคมไทยให้สูงขึ้น

พัฒนาโครงสร้างพื

นฐานด้านต่าง ๆ ทั

งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กาจัดและป้ องก ันการบริหารที่ไม่เป็ น

ธรรมและทุจริตประพฤติมิชอบ ฯลฯ แต่ในความเป็ นจริงขณะต้องยอมรับว่าวิถีชีวิตของคนไทยส่วนใหญ่ก็

ต้องเผชิญกับการแข่งขันในการด าเนินชีวิตและรับความกดดันจากสภาพของการเปลี่ยนแปลงตามยุคโลกา

ภิวัตน์ และระบบของทุนนิยม มีการต่อสู้ที่เข้มข้นมากขึ

นเรื่อยๆ เพื่อการต่อรองและมีอ านาจทางเศรษฐกิจ

การดิ

นรนเพื่อให้อ านาจเงินอยู่เหนือคู่แข่งท าให้มีผลให้คนไทยติดอยู่ในวัตถุนิยม (อังศินันท์ อินทรกาแหง ,

2551) คนจ านวนมากต้องการความสุขชั

วครู่จากภายนอกไม่ใช่ความสุขที่แท้จริงจากภายในจิตใจ สังคมจึง

อยู่อย่างเปราะบาง แนวโน้มครอบครัวอ่อนแอ แตกแยกเป็ นครอบครัว พ่อ-แม่ เดียวมากขึ้น ทุกคนต่างใช้

ชีวิตอยางอิสระขาดที่พึ่งและความผูกพันต่ ่อกน ความสัมพันธ์ครอบครัวเหินหั ่าง พ่อแม่ต้องออกท างานนอก

บ้านเหน็ดเหนื่อย สร้างความเครียดความกดดันเลยจนมาถึงลูก ๆ ความสัมพันธ์ในครอบครัวจึงเปราะบาง

เมื่อเกิดเหตุการณ์ใด ๆ ที่คาดไม่ถึงจึงยากที่จะเผชิญปัญหาด้วยตัวเองและเกิดความเครียดในที่สุด

ความเครียดของคนไทยที่มีผลมาจากการเมือง การเมืองไทยได้สร้างความเครียดอยางมากให้แก่ ่คน

ไทยจ านวนมากของประเทศ เหตุเพราะเกิดจากความขัดแย้งที่สะสมกนมานาน ตัั ้งแต่สมัยรัชการที่ 5 ที่มีการ

เปลี่ยนแปลงระบอบการบริหารประเทศและระบอบเศรษฐกิจ มีการเปลี่ยนแปลงจากระบอบเทศาภิบาลเป็ น

กระทรวง ทบวง กรม มีระบบข้าราชการกินเงินเดือน รายได้มาจากการเก็บภาษีอากร นอกจากนี้ แผนพัฒนา

เศรษฐกิจแห่งชาติฉบับที่ผ่าน ๆ มายังไม่สอดคล้องกบความเป็ นจริงหรือปฏิบัติได้ในสภาพของสังคมไทย ั

สาเหตุของความขัดแย้ง ความเหลื่อมล

าของคนจนที่ไม่สามารถเข้าถึงทรัพยากรและได้รับการช่วยเหลือ มี

แต่การช่วยเหลือที่กระจุกติดอยู่ในคนมั

งคั

งและคนชั

นกลางที่ได้รับการส่งเสริม จ านวนคนจนก็เพิ่มขึ้น

จ านวนมาก ส่วนคนรวยก็ยิ

งรวยขึ

น ส่วนคนชั

นกลางแม้จะมีรายได้เศรษฐกิจที่ดีขึ

นแต่ก็ไม่ค่อยสนใจเรื่อง

ของการเมือง ในขณะที่คนจนก็ไม่มีอ านาจต่อรองใด ๆ

ที่ผ่านมาประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีมาแล้ว 29 คนในการบริหารประเทศภายใต้ระบอบที่เรียกว่า

ประชาธิปไตยในช่วง 85 ปี ขณะนี

ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีมาแล้ว 29 คน มีการท ารัฐประหารถึง 13

ครั

ง มีรัฐธรรมนูญมาแล้วถึง 19 ฉบับ ซึ่งฉบับสุดท้ายเป็ นฉบับชั

วคราว (ปี พ.ศ. 2557) จะเห็นว่าการที่

ประเทศใดที่มีรัฐธรรมนูญมากฉบับ คือ การบ่งบอกถึงเสถียรภาพทางการเมืองว่าไม่ค่อยมั

นคง ต้องแก้

รัฐธรรมนูญบ่อย ๆ และการแก้รัฐธรรมนูญส่วนใหญ่ก็เกี่ยวกับการเมืองเป็ นหลักเพื่อระบบการเลือกตั

ง แต่

ความเหลื่อมล

าทางเศรษฐกิจยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่องจึงเป็ นที่มาของพรรคการเมืองที่หาเสียงโดยใช้นโยบาย

พรรคที่จะดูแลประชาชนและให้เข้าถึงทรัพยากรได้มากขึ

น จึงเป็ นที่มาว่าคนจนจะเลือกนโยบายที่คนทั

วไป

เรียกว่าประชานิยม แต่ขณะเดียวกันที่คนชั

นกลางก็จะเลือกอยากที่จะเป็ นผู้ก าหนดและมีส่วนร่วมใน

นโยบายจากความแตกต

างของความต้องการเป็ นที่มาซึ่ งความขัดแย้งโดยมีผู้น าของแต

ละฝ่ ายให้การ

สนับสนุน ที่ผ่าน ๆ มา มีการต่อสู้ตอบโต้กันไปมามีจ านวนคนมากมายออกมาไม่ยอมซึ่งกันและกันมี

ความเครียดมากมายเกิดขึ้นแก่คนทั

งประเทศ ประเทศชาติเสียหายในหลาย ๆ ด้าน ทรัพยากรเสียหายจ านวน

มาก แม้ว่าขณะนี

เหตุการณ์จะดูสงบนิ

งดูเหมือนบ้านเมืองเริ

มเดินหน้าไปอันเนื่องจากการท ารัฐประหาร (

พฤษภาคม ปี พ.ศ. 2557) แต่ลึก ๆ แล้วเรื่องของการเมืองยังไม่จบและยังคงสร้างความเครียดให้แก่

ประชาชนจ านวนมากอย่างต่อเนื่องแน่นอน

ภาคอุตสาหกรรม SME (Small and Medium Enterprise) เป็นภาคอุตสาหกรรมที่มีผู้ประกอบกิจการ

จ านวนมากแต่ส่วนใหญ่เป็ นรายที่ไม่ใหญ่นัก แต่ด้วยพิษของเศรษฐกิจท าให้ธุรกิจ SME ต้องเลิกกิจการไป

เป็ นจ านวนไม่น้อย ส่งผลที่ตามมาคือการเกิด NPL ของธนาคารและการตกงานของพนักงานของ SME ที่

เลิกกิจการไปเพราะไม่สามารถทนทานต่อภาวะเศรษฐกิจที่ไม่ดีได้โดยมีปัจจัยมาจากเศรษฐกิจโลก และ

เศรษฐกิจของคู่ค้า ค่าเงินบาท การถูกตัดสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร (Generalized System of Preferences--

GSP) ขาดแคลนวัตถุดิบ ต้นทุนการผลิตสูง ขาดแต้มต่อที่จะไปท า FTA (Free Trade Area) เพิ ่

ม แถมอีกด้าน

หนึ่งก็ยังโดนการกีดกันจากคู่ค้าโดยมาตรการที่ไม่ใช่ภาษีอีกด้วย ข้อมูลจากหอการค้าไทย (The Thai

Clamber of Commerce) รายงานวา 15 คู่ ่ค้าตั้งป้ อมกีดกันสินค้าเพิ่ม 31 รายการโดยมากที่สุดคือ มาตรการ

ป้ องกนการน าเข้าสินค้าโดยแยกเป็ นมาตรการป้ องกั นหรือเซฟการ์ด (ั Safeguard) 20 รายการ และมาตรการ

AD (Anti-dumping) 11 รายการ โดยประเทศที่ใช้มาตรการกบประเทศไทยมากที่สุด คือ อินเดีย 7 รายการ ั

รองลงมา คือ อินโดนีเซีย 5 รายการ ฟิ ลิปปิ นส์ 3 รายการ ตุรกี ออสเตรเลีย โคลัมเบีย ตูนีเซีย ประเทศละ 2

รายการจะเห็นได้ว่า ภาคอุตสาหกรรมและภาคอุตสาหกรรม SME ได้รับผลกระทบอย่างมากมายจาก

ผลกระทบของเศรษฐกิจก่อให้เกิดความเครียดตามมา ทั

งผู้ที่ก าลังท าธุรกิจอยู่และผู้ที่ล้มเหลวเพราะ

ภาคอุตสาหกรรมและ SME เกี่ยวโยงใยข้องกบอุตสาหกรรมในภาคอื่น ๆ อีกจ านวนมากที่ได้รับผลกระทบั

ต่อเนื่องกนั

ภาคการเกษตรมีเรื่องราวมากมายที่สร้างความเครียดให้กับเกษตรกรไทย ราคาสินค้าทางการเกษตร

ที่ตกต ่าทั

งในตลาดโลก และในประเทศไทยติดต่อเนื่องกนมาหลายปี เชั ่น ข้าว ยางพารา อ้อย มันส าปะหลัง

ราคาน

ามันปาล์มที่ตกต ่า ส่วนหนึ่งเกิดจากน

ามันและภาคสินค้าโภคภัณฑ์ทั

วโลกตกต ่าลง ส่งผลให้สินค้า

เกษตรกรของเราได้รับผลกระทบไปด้วย ผลกระทบที่เกิดแก่ชาวนาหลังที่มีการยกเลิกโครงการจ าน าราคา

ข้าวในราคา 15,000 บาทต่อตัน ประกอบกบการมีสต๊อกข้าวในมือรัฐจ านวนมากเหลืออยูั ท าให้ราคาข้าวของ่

ชาวนาไทยขายได้ในระดับต ่ามาโดยตลอด ทั

งนี้ในช่วงต้นของรัฐบาล ‚คสช‛ ราคาข้าวเปลือกตกมาอยู่ที่

7,000-8,000 บาทต่อตัน ซึ่งเป็ นราคาที่ชาวนาแทบจะไม่ได้อะไรเลยในการลงทุนลงแรงไปทั

งหมด ยิ

งไป

กว่านั

น ในช่วงปลายปี 2559 ข้าวเปลือกในประเทศของไทยเข้าสู่สถานการณ์วิกฤตราคาข้าวเปลือกตกลงมา

เหลือแค

4,000-6,000 บาทต

อตัน และยังมีแนวโน้มว

าราคาข้าวจะลงต ่ามาอีก ซึ่งต ่ากว

าต้นทุนการผลิตมาก

ส่งผลให้ชาวนาไทยไม่สามารถเผชิญกบวิกฤตตามล าพังได้ท าให้หลายฝ่ ายต้องยื่นมือมาชั ่วยเป็ นการเกิด

ความเครียดทั

งชาวนาและผู้ที่ยื่นมือเข้ามาช่วยเหตุการณ์วิกฤตภาคเกษตรราคาตกต ่านี้เกิดขึ้นกับผลิตผลทาง

การเกษตรทุกตัวไม่ว่าจะเป็ นยางพารา มันส าปะหลัง ปาล์ม สร้างความเครียดไปทั

วหน้า (หนังสือพิมพ์

ไทยรัฐ, 2560)

ความเครียดที่เกิดในภาคอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว แต่ก

อนเมื่อธุรกิจด้านอื่น ๆ ชะลอตัวลงก็ได้

ธุรกิจด้านการท่องเที่ยวนี่แหละเป็ นตัวเสริมพยุง GDP (Gross Domestic Product) ของประเทศเอาไว้ได้บ้าง

ในระดับหนึ่งอาจจะเรียกได้ว่าดีเลยเชี่ยวละเพราะนักท่องเที่ยวจากทั

วโลกขณะนี

รู้จักเมืองไทยดีและนิยมมา

เที่ยวเมืองไทยเนื่องจากเมืองไทยมีอากาศและภูมิทัศน์ของประเทศดีสวยงาม ที่พัก อาหารราคาไม่แพง มี

สถานที่ท่องเที่ยวมากมายทั่วประเทศเที่ยวได้ทั้งกลางวันและกลางคืน ความเสี่ยงในเรื่องอาชญากรรมไม่มี

คนไทยเป็นคนที่มีมิตรไมตรี มนุษยสัมพันธ์ดี จึงมีทัวร์จากทั

วโลกมาประเทศไทยเป็นจ านวนมาก และที่มาก

ที่สุดก็คือทัวร์จากประเทศจีน

แต่เมื่อปลายปี พ.ศ. 2559 ได้เกิดเรื่องช็อกวงการอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวท าให้นักท่องเที่ยว

โดยเฉพาะจากจีนหายไปแทบไม่เหลือเลย ในเรื่องนโยบายการปราบปราม ‚ทัวร์ศูนย์เหรียญ‛ และเป็ น

ประเด็นใหญ่ในการด าเนินนโยบายของภาครัฐ ท าให้รายได้หายไปจ านวนหลายแสนล้านบาทเป็ น

ผลกระทบต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจมากอย่างที่ใครก็คาดไม่ถึงท าให้ตลาดอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว

ลดลงไปกว่า 46 เปอร์เซ็นต์ หรือคือ เป็นจ านวนนักท่องเที่ยวที่หายไป 108,000 คน ส่วนใหญ่เป็ นชาวจีน

อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเกี่ยวข้องกับชีวิตคนไทยจ านวนมากมายในทุกพื้นที่นับร้อยอาชีพที่ฝากไว้กับ

นักท่องเที่ยวให้บริการนักท่องเที่ยว และเมื่อจ านวนทัวร์และนักท่องเที่ยวลดลงก็ย่อมน ามาซึ่งปัญหาด้าน

เศรษฐกิจและสร้างความเครียดให้แก่คนที่อยู่ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

คนไทยในยุคโลกาภิวัตน์ต้องเผชิญกบการตั ่อสู้อย่างหยุดนิ

งไม่ได้ ก่อให้เกิดความเครียดจากปัญหา

มากมายของสังคม ความยากจน การเพิ

มขึ

นของจ านวนประชากร การขาดการศึกษา การมีบุตรมาก การมี

อาชีพที่ไม่มันคง ไม่ ่มีงานท า สภาพแวดล้อมที่ไม่ดี ปัญหาอาชญากรรม ครอบครับแตกแยก ขาดความอบอุ่น

ปัญหายาเสพติด ปัญหาการจราจรติดขัด ขยะมูลฝอย ปัญหาน

าเสีย ชุมชนแออัด สวัสดิการสังคมที่ไม่ทั

วถึง

ปัญหาคนเร่รอน ขอทาน คนต่างด้าว ปัญหาผู้ที่ต้องโทษจ านวนที่ออกมาแล้วไม่มีงานท าแต่ต้องใช้ชีวิตร่วม

อยู่ในสังคม และยังมีอีกมากมายที่น ามาซึ่งความเครียดในทุก ๆ วัน สะสมกันเรื่อย ๆ มา แม้แต่เด็กก็เริ

มรับ

ความเครียดตั

งแต่ตัวเล็ก ๆ แล้วต้องตื่นแต่เช้ามืดเพื่อไปโรงเรียน ออกไปสูดควันพิษตามท้องถนน เครียดกับ

การเรียนสูดควันพิษอีกครั

นตอนกลับบ้านก็เครียดกบการบ้านอีกตั ่างหาก บ้านเมืองของคนไทยเปลี่ยนแปลง

ไป ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีและเก่าแก่ของคนไทยกาลังจะถูกกลืนหายไป รอยยิ

มที่แต่ก่อนพบได้เสมอ

แม้กับคนแปลกหน้าบัดนี้ก็ไม่มีเหลืออยู่ให้เห็นอีก คนในครอบครัวแทบไม่ได้คุยกันต่างคนต่างสนใจ

แต

ตัวเองอยู

อยู

บเทคโนโลยี ก

มหน้าก

มตาดูแต

วัตถุนิยมของตัวเอง เก

บสะสมความเครียดจากสื่อต

าง ๆ

มากขึ

มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ, สถาบันวิจัยและบริการวิชาการ (2559) เผยสถิติความเครียดคนกรุง โดยได้

ศึกษาตัวอย่างประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครและหัวเมืองใหญ่ จ านวนทั

งสิ

น 2,000 ตัวอย่าง พบว่า ผล

ส ารวจในเดือนตุลาคม ปี พ.ศ. 2559 ประชาชนรู้สึกเบื่อหน่าย (ร้อยละ 71), ไม่มีความสุขเลย (ร้อยละ

62), รู้สึกหมดกาลังใจ (ร้อยละ 47) และไม ่อยากพบปะผู้คน (ร้อยละ 43) เป็ นครั้งคราวถึงบ่อย ๆ

เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบความเครียดในกลุ่มประชาชนแต่ละวัย (Generation) พบว่า ประชาชนในกลุ่ม Gen

สรุป

ความเครียด (Stress) คือ ภาวะของอารมณ์และร

างกายที่ไมปกติหรือไม

สบาย เป็ นปฏิก

ริยาของ

ร่างกายที่เกิดขึ

นเมื่อสิ

งเร้าถูกกระตุ้นและเกิดการตอบโต้ทางสรีรวิทยาและจิตวิทยา โดยระบบต่อมไร้ท่อที่

หลั่งฮอร์โมนและระบบประสาทอัตโนมัติ ท าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปทั่วร่างกายเกิดความกดดันเครียดใน

จิตใจและส่งผลท าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้ชัดเจนทางร่างกายโดย

อาการทางร่างกายที่แสดง คือ ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย นอนไม่หลับ เบื่ออาหารหรือกินมากกว่าปกติ

หายใจไม่อิ่ม หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตเพิ่มขึ้น มือเท้าเย็น เหงื่อออกตามมือตามเท้า ใจสั่น ถอนหายใจ

บ่อย ๆ กัดขากรรไกร ขมวดคิ

ว ตึงที่คอ ประสาทรับความรู้สึกหูไวตาไวขึ

น การใช้พลังงานของร่างกาย

เพิ

มขึ้น ท้องเสียหรือท้องผูก ปวดหัวเหมือนไมเกรน ง่วงเหงาหาวนอนตลอดเวลา ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ

ท้องอืดเฟ้ อ อาหารไม

อย ประจ าเดือนมาไม

ตามปกติ เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ ผิวหนังผื่นคัน เป็ นหวัด

บ่อย ๆ และแพ้อากาศง่าย

อาการทางจิตใจ เกิดความหงุดหงิด สับสน คิดอะไรไม่ออก เบื่อหน่าย โกรธง่าย โมโหง่าย ซึมเศร้า

สมองท างานมากขึ

น วิตกกังวล คิดมาก ฟุ้ งซ่าน หลงลืมง่าย ไม่มีสมาธิใจน้อย สิ

นหวัง หมดความสนุกสนาน

อาการด้านสังคม ไม่พูดจากับใคร จู้จี้ขี้บ่น ชวนทะเลาะ ท าให้บางครั

งทะเลาะวิวาทกับคนใกล้ชิด มีเรื่อง

ขัดแย้งกับผู้อื่นบ่อย ๆ (จิราพร หินทอง, 2551)

เมื่อเกิดความเครียด เราสามารถลดความเครียดลงได้ โดยส านักส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิต

กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข ได้ท าคู่มือวิธีคลายเครียด (ส าหรับประชาชน) โดยในคู่มือให้

ข้อแนะน าดังนี

ส ารวจตัวเองและคนใกล้ชิดว่าเครียดหรือยังโดยสังเกตว่ามีอาการเหล่านี

บ้างหรือไม่

ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย นอนไม่หลับ เบื่ออาหาร หายใจไม่ค่อยอิ

ม หงุดหงิด สับสน คิดอะไรไม่ออก เบื่อง่าย

โมโหง่าย บางครั้งทะเลาะวิวาทกับคนใกล้ชิด ซึมเศร้า ไม่อยากพูดจากับใคร หากพบว่าตัวเองหรือคน

ใกล้ชิดมีอาการดังกล่าว ควรปฏิบัติตามค าแนะน า ดังนี

1. คิดอย่างไรไม่ให้เครียด

1 ยอมรับว่ามีปัญหาและปัญหาเกิดได้กบทุกคนไมั ่วามีหรือจน่

1 ฝึ กกาลังใจ ถือว ่าเรื่องที่เกิดขึ

นเป็ นการท้าทายความมั

นคงของจิตใจ คิดว่าไม่มีความทุกข์ใด

ที่มนุษย์ทนไม่ได้

1 คิดถึงสิ

งดี ๆ ในชีวิตที่มีอยู่ เช่น คุณค่าความสามารถของตนเอง ครอบครัวที่อบอุ่น ลูกหลาน

ที่น่ารัก เป็นต้น

1 มีความหวังว

าเมื่อได้พยายามแก

ปัญหาอย

างที่สุดความสามารถแล้วย

อมน าพาชีวิตให้พบ

ความสุขได้อีกครั

งหนึ่ง

2. เผชิญหน้ากับความเป็นจริงและคิดหาทางออกโดย ครอบครัวต้องมีเวลาให้กัน รับฟังทุกข์สุขของ

กันและกันและร่วมกนแกั ้ปัญหาที่เกิดขึ

น และสร้างความสุขด้วยการช่วยเหลือซึ่งกนและกั นทุกโอกาสที่ั

ท าได้ในที่ท างานผู้ร่วมงานต้องหันหน้าปรึกษาหารือกนและเป็ นกั าลังใจให้ก นและกั น พึงระลึกวั ่าปัญหา

มีทางออกเสมอถ้าใจสู้และร่วมมือร่วมแรงกนยั ่อมเอาชนะปัญหาต่างได้อย่างแน่นอน

3. ผ่อนคลายความตึงเครียด กิจกรรมที่ผ่อนคลายความตึงเครียดได้ดีคือ การท ากิจกรรมที่ชอบ เช่น

การออกก าลังกาย การฟังเพลง ดูโทรทัศน์หรือดูภาพยนตร์ การเล่นดนตรี การท างานอดิเรก การท างาน

ศิลปะ งานประดิษฐ์ การปลูกต้นไม้ การท่องเที่ยวชมธรรมชาติ การอ่าหนังสือการ์ตูนข าขันฯลฯ การท าจิตใจ

ให้สงบด้วยการสวดมนต์ท าสมาธิ หรือฝึกผ่อนคลายความเครียด วันละ 2 ครั้ง ๆ ละ 10 นาที เช่นการฝึ กการ

หายใจ ผ่อนคลายกล้ามเนื

อ เป็นต้น

4. อย่าเก็บความทุกข์ไว้ในใจ ควรระบายความทุกข์หรือขอความช่วยเหลือโดย ปรับทุกข์กับคน

ใกล้ชิด เช่น คู่สมรส เพื่อนสนิท เพื่อนร่วมงานหรือญาติ ใช้บริการปรึกษาทางโทรศัพท์ของกรมสุขภาพจิต

หรือหน่วยงานเอกชนอื่น ๆ เช่น ศูนย์ฮอทไลน์สะมาริตันส์ เป็นต้น (กองสุขภาพจิตสังคม, 2548)

หากรู้สึกมีอาการเศร้า ท้อแท้ สิ

นหวัง ไม่ควรอยู่ตามล าพัง ควรรีบไปรับการรักษาจากแพทย์เป็ น

การด่วน หรือโทรไปที่เบอร์โทรศัพท์ 1323 กรมสุขภาพจิต ให้การบริการปรึกษาฟรี ตลอด 24 ชั

วโมง

เอกสารอ้างอิง

กองสุขภาพจิตสังคม. (2548). คู่มือคลายเครียดด้วยตนเอง. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์

ทหารผ่านศึก

จิราพร หินทอง. (2551). การจัดการกับความเครียด. กรุงเทพมหานคร: กรมวิทยาศาสตร์บริการ.

ธรณินทร์ กองสุข, อัจฉรา จรัสสิงห์, เนตรชนก บัวเล็ก พัชรินทร์ สุริยะ และสตรีรัตน์ รุจิระชาคร. (2548).

ความเครียดของคนไทย. ใน การประชุมวิชาการสุขภาพจิตนานาชาติ ครั้งที่ 4 โรงแรมปรินซ์

พาเลซ. นนทบุรี: กรมสุขภาพจิต.

ปรเมธี วิมลศิริ. (2559, พฤศจิกายน 23). ลมเปลี่ยนทิศ. ไทยรัฐ. หน้า 15

ยงยุทธ์ วงค์ภิรมย์ศานติ์. (2559, ตุลาคม 15). วิปโยคยิ่งใหญ่. มติชน. หน้า 10.

มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ, สถาบันวิจัยและบริการวิชาการ. (2559). เผยสถิติความเครี ยดคนกรุง.

กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.

ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). นโยบายรัฐบาล แผนพัฒนา

เศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ. ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564). ค้นเมื่อ 6มกราคม 2560 จาก

nesdb.go/article_attach/article_file_20160922162732.pdf

หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ. (2560, มกราคม 2). แม่ลูกจันทร์. ไทยรัฐ, หน้า 1-6.

ความสอดคล้องของบุคลากรและงาน ความพึงพอใจในงาน และพฤติกรรมการเป็ นสมาชิกที่ดี

ขององค์การพยาบาลวิชาชีพ

Areas of Worklife, Job Satisfaction, and Organizational Citizenship

Behavior of Registered Nurses

วิทูร จิตตาณิชย์

สนิทนุช นิยมศิลป์

บทคัดย่อ

การวิจัยนี

มุ่งศึกษาผลกระทบของความสอดคล้องของบุคลากรและงาน และความพึงพอใจในงาน

ต่อพฤติกรรมการเป็ นสมาชิกที่ดีขององค์การของพยาบาลวิชาชีพ พยาบาลวิชาชีพจ านวน 227 คน จาก

โรงพยาบาลของรัฐ ประจ าจังหวัดฉะเชิงเทรา ร่วมตอบแบบสอบถาม 3 ส่วน ได้แก่ (1) ลักษณะส่วนบุคคล

และงาน (2) ความสอดคล้อง ของบุคลากรและงาน (ด้านภาระงาน การควบคุม รางวัลตอบแทน สภาพสังคม

ความยุติธรรม และด้านค่านิยม) ในส่วนนี้ยังสอบถามความพึงพอใจในงานด้วย (3) พฤติกรรมการเป็ น

สมาชิกที่ดีขององค์การ (ด้านการให้ความช่วยเหลือ การค านึงถึงผู้อื่น ความอดทนอดกลั

น การให้ความ

ร่วมมือ และด้านความส านึกในหน้าที่)

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลโดย Regression Analysis และ one-way ANOVA แสดงให้เห็นว่า (1) ความ

สอดคล้องของบุคลากรและงาน มีผลต่อพฤติกรรมการเป็ นสมาชิกที่ดีขององค์การ โดยองค์ประกอบย่อย

ด้านค่านิยม และด้านรางวัลตอบแทน มีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อพฤติกรรมการเป็ นสมาชิกที่ดีขององค์การ

ในขณะที่ด้านภาระงาน และด้านความยุติธรรม กลับเป็นความสัมพันธ์เชิงลบต่อพฤติกรรมการเป็ นสมาชิกที่

ดีขององค์การ (2) ความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ มีผลเชิงบวกต่อพฤติกรรมการเป็ นสมาชิกที่ดี

ขององค์การ เช

นก

น และ (3) พบความสัมพันธ์ระหว

างอายุของบุคลากร และพฤติกรรมการเป็ นสมาชิกที่ดี

ขององค์การ แต่ไม่พบความสัมพันธ์ระหว่าง อายุงาน และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ

ค าส าคัญ: (1) ความสอดคล้องของบุคลากรและงาน (2) ความพึงพอใจในงาน (3) พฤติกรรมการเป็ นสมาชิก

ที่ดีขององค์การ

ABSTRACT

This study examined effects of Areas of Worklife and Job Satisfaction on Organizational

Citizenship Behavior of registered nurses. Two hundred twenty seven registered nurses in Chachoengsao

participated in this study. The participants were asked to rate 3 parts of questionnaire: first, demographic

and work characteristics; second, Areas of Worklife Scale (AWS) which consisted of rewards,

community, fairness, values, workload, and control (Leiter & Maslach,1999,2003) and one-item Job

Satisfaction; third, Organizational Citizenship Behavior (OCB) which consisted of altruism, courtesy,

conscientiousness, civic virtue, and sportsmanship. Regression analysis and one-way ANOVA were

employed. The results showed, firstly, an effect of Areas of Worklife on OCB. Values and rewards were

found to have positive effects on OCB while workload and fairness had negative effects. Secondly, job