Resistor น ำตาล ดำ ส ม ม ค าเท าไร

แผนการจดั การเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ การงานอาชพี ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 2 งานอเิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ บ้อื งตน้ เรื่อง ตวั ตา้ นทานไฟฟ้า นางสาวปทั มาพร อทุ าจันทร์ รหสั ประจำตวั สอบ 643600008 สำนักงานศึกษาธิการจงั หวดั สระบุรี ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2565

ก คำนำ แผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ วิชางานช่าง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ฉบับนี้ จัดทำขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอบสาธิตปฏิบัติการสอน การประเมินตำแหน่ง ครูผู้ช่วย ภาค ค ความเหมาะสมกับตำแหนง่ วิชาชีพ และปฏบิ ัตงิ านในสถานศึกษา ภายในแผนการจดั การเรียนรู้ฉบับน้ี ประกอบด้วย คำอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ และสื่อ การเรียนการสอน ซงึ่ ไดจ้ ดั เรยี งหวั ข้อไว้ตรงตามเกณฑก์ ารประเมินตำแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย ภาค ค ในครง้ั นี้ ข้าพเจ้าหวังว่าเอกสารฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ ในการประเมินตำแหน่ง ครูผู้ช่วย ภาค ค ของขา้ พเจ้า หากมีข้อผิดพลาดประการใด ขา้ พเจ้าขอนอ้ มรบั ไว้ และขออภยั มา ณ ทนี่ ี้ นางสาวปัทมาพร อทุ าจันทร์ ผ้จู ดั ทำ

สารบัญ ข เรอื่ ง หนา้ คำนำ ก สารบัญ ข 1 คำอธบิ ายรายวิชา 2 โครงสรา้ งรายวิชา 7 หน่วยการเรียนรู้ 8 แผนการจดั การเรยี นรู้ 9 14 เทคนคิ การสอนทใ่ี ช้ในแผนการจดั การเรยี นรู้ ค เอกสารประกอบการจัดการเรยี นการสอน บรรณานุกรม

1 คำอธบิ ายรายวิชา รายวชิ าพื้นฐาน ช่ือวิชางานช่าง รหัสวชิ า ง23101 กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1/2565 เวลา 20 ช่ัวโมง จำนวน 0.5 หน่วยกติ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการผลิต การตรวจสอบ และการบำรุงรักษาที่เกี่ยวกับการทำงาน ทางด้านช่างอุตสาหกรรม การปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานเขียนแบบ โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการท่ี ล้ำค่า ศึกษาและอธิบายงานอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นที่เกี่ยวข้องกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ได้ แก่ ตัวต้านทาน ไฟฟ้า ตัวเก็บประจุไฟฟ้า หม้อแปลงไฟฟ้า ไมโครโฟน ลำโพง รีเลย์ ไดโอด ทรานซิสเตอร์ เป็นต้น รวมถึงการ ติดตั้งประกอบผลิตภัณฑ์ และซ่อมแซมเครื่องใช้ไฟฟ้า โดยใช้ทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะการจัดการ ทักษะการทำงานเป็นกลุ่ม และทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงานอย่างมีเหตุผล เพื่อให้นักเรียนมี ลักษณะนิสัยที่ดีในการทำงาน เรียนรู้ มีคุณธรรม ความเสียสละ ความขยัน อดทน ซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบ และนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวติ ประจำวันได้ ตวั ชีว้ ดั /ผลการเรียนรู้ ง 1.1 ม.3/1, ง 1.1 ม.3/2, ง 1.1 ม.3/3 รวม 3 ตวั ชวี้ ดั /ข้อ

2 รายวชิ าพื้นฐาน โครงสรา้ งรายวิชา กลมุ่ สาระการเรยี นร้กู ารงานอาชีพ ชอ่ื วิชางานชา่ ง รหสั วิชา ง23101 ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ภาคเรียนท่ี 1/2565 เวลา 5 คาบ/สัปดาห์ จำนวน 0.5 หน่วยกิต หน่วย ชื่อหน่วยการเรยี นร/ู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก ที่ หนว่ ยยอ่ ยการเรียนรู้ เรียนร/ู้ ตัวชว้ี ัด (ชวั่ โมง) คะแนน 1 งานเขียนแบบและการสรา้ งช้ินงาน 5 20 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 งานเขียนแบบ ง 1.1 ม. 3/1 งานเขียนแบบเป็นงานที่เกิดขึ้นของ 1 1 ง 1.1 ม. 3/2 ผอู้ อกแบบ ได้แก่ สถาปนิก วิศวกร ซึ่งงาน 1 ง 1.1 ม. 3/3 อ่านแบบเหมาะสำหรับช่างเทคนิคที่อ่าน แบบแล้วนำไปปฏิบัติได้จริง ทำให้งาน สำเรจ็ ดีมปี ระสิทธภิ าพ แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี 2 การเขียนรูปทรง ง 1.1 ม. 3/1 การเขยี นแบบรูปทรงเรขาคณิตช่วยให้ เรขาคณติ ง 1.1 ม. 3/2 เกิดการเรียนรู้เรื่องเรขาคณิตเป็นไปได้ ง 1.1 ม. 3/3 โดยง่ายและรวดเร็ว เช่น การแบ่งคร่ึง เส้นตรง การสร้างเสน้ ขนานจากเสน้ ตรง ๑ เส้น การสร้างสว่ นโค้งสัมผัสกับวงกลมสอง วง แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี 3 การเขียนภาพ ง 1.1 ม. 3/1 การเขียนภาพสามมิติที่นิยมใช้กันใน สามมิติเบ้ืองตน้ ง 1.1 ม. 3/2 ปัจจุบัน ได้แก่ การเขียนภาพชนิดออบลิก ง 1.1 ม. 3/3 และการเขียนภาพชนดิ ไอโซเมตรกิ แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 4 ภาพฉายเพ่ือ ง 1.1 ม. 3/1 ภาพฉายเป็นภาพที่มองจากชิ้นงาน 1 แสดงรายละเอียดของชิน้ งาน ง 1.1 ม. 3/2 จริงแล้วทำการฉายภาพเพื่อไปปรากฏเป็น ง 1.1 ม. 3/3 รปู ทรงต่าง ๆ บนระนาบรับ โดยการมองภาพครั้งละ ๑ ด้าน ซึ่งภาพฉายที่มองออกมา ประกอบด้วยภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง และภาพด้าน

3 หน่วย ช่ือหน่วยการเรยี นร/ู้ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั ท่ี หน่วยย่อยการเรียนรู้ เรียนร/ู้ ตัวช้วี ดั (ชว่ั โมง) คะแนน แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 5 การสร้างชน้ิ งาน ง 1.1 ม. 3/1 การใช้ซอฟต์แวร์เพื่อช่วยในการเขียน 1 หรอื ผลงานโดยใช้ซอฟต์แวรจ์ าก ง 1.1 ม. 3/2 แบบจะใช้โปรแกรมกราฟิก ได้แก่ คอมพวิ เตอร์ ง 1.1 ม. 3/3 โปรแกรมโปรเดสก์ท็อปเหมาะกับการ ออกแบบโครงสร้างชิ้นงาน การทำรูปทรง สามมิติ การเขียนภาพ และการออกแบบ ผลิตภัณฑ์โปรแกรม Photoshop เป็น โปรแกรมประยกุ ต์ที่มคี วามสามารถในการ จัดการแก้ไขและตกแต่งรูปภาพ เช่น ใช้ สำหรับงานตกแต่งภาพถ่าย งานสิ่งพิมพ์ งานเว็บไซต์บนอินเตอร์เน็ต งานออกแบบ ทางกราฟกิ 2 งานอเิ ล็กทรอนิกสเ์ บือ้ งต้น 5 20 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 6 ตัวตา้ นทาน 1 ไฟฟา้ ง 1.1 ม. 3/1 ตัวต้านทานไฟฟ้ามีหน้าที่ต้านทาน 1 ง 1.1 ม. 3/2 กระแสไฟฟ้าไม่ให้มีในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 7 ตวั เก็บประจุ ง 1.1 ม. 3/3 มากเกินไป ซึ่งตัวต้านทานมี ๒ ชนิด คือ 1 ไฟฟา้ หม้อแปลงไฟฟา้ ตวั ต้านทานคงท่แี ละตัวต้านทานปรบั ค่าได้ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 8 ไมโครโฟนและ ง 1.1 ม. 3/1 ตัวเก็บประจุไฟฟ้ามีหน้าที่เก็บประจุ ลำโพง ง 1.1 ม. 3/2 ไฟฟ้าและคายประจุไฟฟ้า การเก็บประจุ ง 1.1 ม. 3/3 ไฟฟ้าจะอยู่ในรูปของแรงดันไฟฟ้า ขณะที่ การคายประจุไฟฟ้าจะปล่อยแรงดันไฟฟ้า ออกมา ห ม ้ อ แ ป ล ง ไ ฟ ฟ ้ า เ ป ็ น อ ุ ป ก ร ณ์ สนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่อาศัยหลักการ เหนี่ยวนำทำให้เกิดแรงดันไฟฟ้าและ กระแสไฟฟา้ ง 1.1 ม. 3/1 ไมโครโฟนมีหน้าที่เปลี่ยนพลังงาน ง 1.1 ม. 3/2 เสียงเป็นพลังงานไฟฟ้า ขณะที่ลำโพงมี ง 1.1 ม. 3/3 หน้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงาน เสียง

4 หนว่ ย ช่ือหน่วยการเรยี นร/ู้ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั ท่ี หน่วยย่อยการเรียนรู้ เรยี นร้/ู ตัวช้ีวัด (ชวั่ โมง) คะแนน แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 9 รเี ลยแ์ ละ ง 1.1 ม. 3/1 รีเลย์ คือ อุปกรณ์ไฟฟ้าทำหน้าที่เป็น 1 อปุ กรณ์สารกงึ่ ตัวนำ ง 1.1 ม. 3/2 สวิตช์เปิด-ปิดวงจรโดยอาศัยหลักการ 1 ง 1.1 ม. 3/3 เหนยี่ วนำของอำนาจสนามแม่เหล็กไฟฟา้ แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 10 วงจร อิเล็กทรอนิกสเ์ บ้ืองต้น และการบัดกรี สารกึ่งตัวนำเป็นวัตถุธาตุที่มีค่าความ ต้านทานระหว่างฉนวนกับตัวนำไฟฟ้า อุปกรณ์สารกงึ่ ตวั นำ ไดแ้ ก่ ไดโอด ทรายซิ สเตอร์ เอสซอี าร์ และไอซี ง 1.1 ม. 3/1 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นเป็นการ ง 1.1 ม. 3/2 นำอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มาต่อเป็นวงจร ง 1.1 ม. 3/3 ท า ง ไ ฟ ฟ ้ า ส า ม า ร ถ น ำ ไ ป ใ ช ้ ใ น ชีวิตประจำวันได้ เช่น วงจรเตือนน้ำเต็ม โอ่ง วงจรไฟกระพริบ วงจรสวิตช์ทำงาน ด้วยแสง ก า ร บ ั ด ก ร ี เ ป ็ น ก า ร ท ำ ใ ห ้ อ ุ ป ก ร ณ์ อิเล็กทรอนิกส์ต่อเข้ากับแผงวงจร อิเล็กทรอนิกส์โดยใช้หัวแร้งแช่และตะกั่ว บดั กรเี ชอื่ มโยงจุดตา่ ง ๆ เขา้ ดว้ ยกัน 3 การตดิ ตั้งและประกอบผลิตภัณฑ์ 2 5 1 แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 11 ความหมาย ง 1.1 ม. 3/1 การติดตั้งและประกอบผลิตภัณฑ์เป็น 1 ประโยชน์ องค์ประกอบและความปลอดภัย ง 1.1 ม. 3/2 การนำความรู้และทักษะในด้านงานช่างที่ ในการตดิ ตั้งและประกอบผลิตภัณฑ์ ง 1.1 ม. 3/3 เกี่ยวกับการออกแบบ กลไก การควบคุม ไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์ การเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือช่างให้เหมาะสมกับ การทำงาน เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่สามารถ ตอบสนองความต้องการของมนษุ ย์ได้ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 12 การตดิ ต้ังและ ง 1.1 ม. 3/1 การติดตั้งและประกอบสิ่งของ ประกอบสงิ่ ของเครื่องใช้ที่เกี่ยวข้องกับ ง 1.1 ม. 3/2 เครื่องใช้ที่ต้องอาศัยความรู้ที่เกี่ยวข้องกับ กลไกและการควบคุมไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์ ง 1.1 ม. 3/3 งานช่างอุตสาหกรรม ได้แก่ กลไก (ช่าง ยนต์) การควบคุมไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์ (ช่างไฟฟ้ากับช่างอิเล็กทรอนิกส์) ซึ่งการ ส ร ้ า ง ส ิ ่ ง ข อ ง เ ค ร ื ่ อ ง ใ ช ้ ท ี ่ อ า ศ ั ย ค ว า ม รู้

5 หนว่ ย ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู/้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั ที่ หน่วยย่อยการเรยี นรู้ เรียนร/ู้ ตวั ชี้วดั (ช่ัวโมง) คะแนน เกี่ยวกับกลไกและการควบคุมไฟฟ้า- อิเล็กทรอนิกส์จึงเป็นระบบที่ทำให้ชิ้นงาน ที่สร้างขึ้นเกิดการเคลื่อนไหวได้ และ สามารถควบคุมระบบของการทำงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น หุ่นยนต์ เครื่องยนต์ ไฟฟ้าตามบ้านเรือน โทรทัศน์ โทรศัพท์มือถือ 4 งานเดนิ สายไฟฟ้าภายในบ้านเบอ้ื งต้น 5 20 1 แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 13 วงจรไฟฟ้า ง 1.1 ม. 3/1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้นประกอบด้วย 1 เบื้องต้น ง 1.1 ม. 3/2 วงจรไฟฟ้าชนิดอนุกรม วงจรไฟฟ้าชนิด 1 ง 1.1 ม. 3/3 ขนาน และวงจรไฟฟ้าชนิดผสม ซึ่ง วงจรไฟฟา้ ชนดิ อนุกรมมีการตอ่ เรียงลำดับ กันไป สำหรับวงจรไฟฟ้าชนิดขนานจะต่อ คร่อมขนาน และวงจรไฟฟ้าชนิดผสมเป็น การนำวงจรอนุกรมมาต่อร่วมกับวงจร ขนาน แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 14 เครอื่ งมือวัด ง 1.1 ม. 3/1 เครื่องมือวัดไฟฟ้าประกอบด้วย ไฟฟ้าและสญั ลักษณท์ างไฟฟ้า ง 1.1 ม. 3/2 แอมมิเตอร์ใช้สำหรับวัดค่ากระแสไฟฟ้า ง 1.1 ม. 3/3 โวลต์มิเตอร์ใช้สำหรับวัดค่าแรงดันไฟฟ้า และโอห์มมิเตอร์ใช้สำหรับวัดค่าความ ต้านทานไฟฟา้ สัญลักษณ์ทางไฟฟ้าเป็นการเขียนแบบ และการอ่านแบบทางไฟฟ้า ช่วยทำใหก้ าร ปฏิบัติงานเกิดความสะดวกสบายและ รวดเร็ว แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 15 เครอื่ งมือและ ง 1.1 ม. 3/1 เครื่องมือสำหรับงานเดินสายไฟฟ้า อุปกรณ์สำหรับงานเดินสายไฟฟ้าภายใน ง 1.1 ม. 3/2 ภายในบ้าน ได้แก่ สว่านไฟฟ้า คีม ไขควง บา้ น ง 1.1 ม. 3/3 บิดหล่า บักเต้า เหล็กส่งและเหล็กนำศูนย์ ค้อนเดินสายไฟฟ้า คัตเตอร์และมีดปอก สายไฟฟ้า ซึ่งอุปกรณ์ดังกล่าวช่วยให้การ ทำงานของระบบไฟฟ้ามีประสิทธิภาพ

6 หน่วย ชื่อหน่วยการเรยี นร้/ู มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั ท่ี หน่วยยอ่ ยการเรียนรู้ เรียนรู้/ตวั ชวี้ ดั (ชวั่ โมง) คะแนน สะดวก รวดเร็วอุปกรณ์สำหรับงานเดิน สายไฟฟ้าภายในบ้าน เช่น สะพานไฟมี หน้าที่ตัดแรงดันไฟฟ้า ขนาด ๒๒๐ โวลต์ ฟิวส์มีหน้าที่ป้องกันไม่ให้กระแสไฟฟ้าใน วงจรไหลมากเกินไป แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 16 การต่อ ง 1.1 ม. 3/1 การต่อสายไฟฟ้าเป็นการนำสายไฟฟา้ 1 1 สายไฟฟ้า ง 1.1 ม. 3/2 ที่เป็นตัวนำมาต่อเข้าด้วยกัน เช่น การต่อ 2 ง 1.1 ม. 3/3 สายไฟแบบเกลียว การต่อสายไฟแบบหาง 2 เปีย แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 17 การปอ้ งกัน ง 1.1 ม. 3/1 เครื่องใช้ไฟฟ้าหรืออุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง อันตรายทเี่ กิดจากไฟฟ้า ง 1.1 ม. 3/2 ๆ ได้ถูกนำมาใช้งานในชีวิตประจำวัน ถ้า ง 1.1 ม. 3/3 ผู้ใช้ขาดความระมัดระวัง ไม่มีการ บำรุงรักษาให้อยู่ในสภาพที่ดี พร้อมใช้งาน อาจก่อให้เกิดอันตรายได้ ดังนั้น การใช้ เครื่องใช้ไฟฟ้าหรืออุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ ต้องทำควบคู่ไปกับการดูแล ซ่อม บำรุงรักษาให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน แ ล ะ ศ ึ ก ษ า ว ิ ธ ี ก า ร ใ ช ้ ง า น จ า ก ค ู ่ ม ื อ ใ ห้ ละเอยี ด เพ่อื ให้เกดิ ความปลอดภัย 5 การติดตัง้ ประกอบ และซ่อมแซมเครื่องใช้ไฟฟ้าเบ้ืองตน้ 5 แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 18 การตดิ ต้ัง ง 1.1 ม. 3/1 เครื่องใช้ไฟฟ้าเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับ ประกอบ และซ่อมแซมเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าภายใน ง 1.1 ม. 3/2 มนุษย์ ช่วยใหก้ ารดำเนนิ ชีวิตสะดวกสบาย บา้ น ง 1.1 ม. 3/3 หากเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้านเกิดชำรุด และเสียหาย เราไม่ควรนำไปทิ้ง เพราะ เป็นการสร้างสภาวะโลกร้อนมากยิ่งขึ้น ดังนั้นเราจึงควรศึกษาเรียนรู้วิธีการ เลือกใช้ ดูแลรักษา ดัดแปล และซ่อมแซม เครื่องใช้ไฟฟ้อย่างง่ายด้วยตนเอง เพื่อ น ำ ไ ป ใ ช ้ ป ร ะ โ ย ช น ์ ใ น ช ี ว ิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ส า ม า ร ถ ส ร ้ า ง ง า น แ ล ะ ส ร ้ า ง อ า ช ี พ ไ ด้ นอกจากนี้ยังช่วยยืดอายุการใช้งาน

7 หนว่ ย ชอ่ื หน่วยการเรยี นร้/ู มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั ท่ี หนว่ ยยอ่ ยการเรยี นรู้ เรยี นร/ู้ ตัวช้วี ัด (ชว่ั โมง) คะแนน เครื่องใช้ไฟฟ้าและช่วยลดสภาวะโลกร้อน 1 30 ได้ ตวั อย่างเครอ่ื งใช้ไฟฟ้าภายในบา้ น เช่น 20 100 กระทะไฟฟ้า กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า เตารีด ไฟฟ้า สอบกลางภาคและสอบปลายภาค รวมทั้งหมด หนว่ ยการเรยี นรทู้ ีใ่ ชใ้ นการจดั ทำแผนการจดั การเรยี นรู้ที่สอบปฏิบัติการสอน หน่วย ชื่อหน่วยการเรยี นรู้/ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก ท่ี หนว่ ยย่อยการเรียนรู้ เรียนรู้/ตัวชี้วดั (ชวั่ โมง) คะแนน 2 งานอเิ ลก็ ทรอนิกสเ์ บ้อื งตน้ ง 1.1 ม. 3/1 ตัวต้านทานไฟฟ้ามีหน้าที่ต้านทาน 1 แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 6 ตวั ตา้ นทาน ง 1.1 ม. 3/2 กระแสไฟฟ้าไม่ให้มีในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ไฟฟ้า ง 1.1 ม. 3/3 มากเกินไป ซึ่งตัวต้านทานมี ๒ ชนิด คือ ตวั ต้านทานคงทแ่ี ละตวั ตา้ นทานปรบั ค่าได้

8 แผนการจดั การเรียนรู้ กล่มุ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ วิชางานช่าง รหัสวชิ า ง23101 ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 2 เร่อื งงานอิเลก็ ทรอนกิ ส์เบือ้ งตน้ เวลา 5 ชั่วโมง แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 6 เรอ่ื งตวั ต้านทานไฟฟา้ เวลา 1 ช่ัวโมง ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 ผสู้ อน นางสาวปัทมาพร อุทาจันทร์ 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ ง 1.1 เข้าใจการทำงาน มีความคดิ สรา้ งสรรค์ มีทักษะกระบวนการทำงาน ทกั ษะการจัดการ ทักษะ กระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทำงานร่วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และลักษณะนิสัย ในการทำงาน มีจิตสำนึกในการใช้พลงั งาน ทรัพยากร และส่ิงแวดลอ้ ม เพื่อการดำรงชวี ิตและครอบครัว 2. ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ ง 1.1 ม. 3/1 อภปิ รายขัน้ ตอนการทำงานท่ีมปี ระสิทธิภาพ ง 1.1 ม. 3/2 ใช้ทกั ษะในการทำงานรว่ มกนั อย่างมีคุณธรรม ง 1.1 ม. 3/3 อภปิ รายการทำงานโดยใช้ทักษะการจัดการเพือ่ ประหยดั พลงั งาน ทรัพยากร และ สงิ่ แวดล้อม รวมทั้งหมด 3 ตัวชี้วัด 3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ (KPA) 3.1 อธบิ ายลกั ษณะและหน้าทขี่ องตวั ตา้ นทานไฟฟ้าได้ (K) 3.2 อ่านคา่ ความต้านทานจากรหัสสีได้ (P) 3.3 มที ักษะในการต่อวงจรตวั ต้านทานไฟฟ้า (P) 3.4 มที ักษะในการตรวจสอบตวั ตา้ ทาน (P) 4. สาระการเรยี นรู้ ตัวตา้ นทานไฟฟ้า 1. การอา่ นความตา้ นทานจากรหัสแถบสี 2. การต่อตัวต้านทาน 3. การตรวจสอบตัวตา้ นทาน 5. สาระสำคญั ตัวต้านทานไฟฟ้ามีหน้าที่ต้านทานกระแสไฟฟ้าไม่ให้มีในวงจรอิเล็กทรอนิกส์มากเกินไป ซึ่งตัว ต้านทานมี 2 ชนิด คือ ตัวต้านทานคงที่และตัวต้านทานปรับค่าได้ การอ่านความต้านทานจากรหสั แถบสี มี 2

9 แบบ คือ แบบรหัส 4 แถบสี และ แบบรหัส 5 แถบสี การอ่านค่าความต้านทานแบบนี้ต้องแปลงแถบสีใหเ้ ปน็ ตัวเลขกอ่ น แปลงรหสั ตัวเลขเป็นค่าความต้านทาน จดั หน่วยใหถ้ ูกตอ้ งจงึ จะอ่านค่าความต้านทานออกมาได้ 6. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น 6.1 ความสามารถในการคิด 6.2 ความสามารถในการแกป้ ัญหา 6.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ 7. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 7.1 มีวนิ ยั 7.2 ใฝ่รู้ใฝเ่ รียน 7.3 มุ่งม่นั ในการทำงาน 8. กจิ กรรมการเรียนรู้ ขนั้ นำ 1. ขน้ั ทบทวนความรูเ้ ดิม 1. ผ้สู อนทบทวนความรู้เก่ียวกบั อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนกิ ส์ 2. ผู้สอนถามเกี่ยวกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เพอื่ กระต้นุ ความสนใจของผู้เรยี น • นกั เรยี นรูจ้ กั อุปกรณ์อิเล็กทรอนกิ ส์หรอื ไม่ (ร้จู ัก/ไมร่ จู้ ัก ครบั ,ค่ะ) มีอะไรบ้าง (อปุ กรณ์ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ตัวตา้ นทาน, ตัวเก็บประจุ, ไดโอด, ทรานซสิ เตอร์, หมอ้ แปลง และไอซี เป็นต้น) 3. ผู้สอนอธิบายเกี่ยวกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนกิ ส์หรืออิเล็กทรอนิกส์พื้นฐานน้ัน มักจะอยู่ใกล้ๆ รอบตัว เราทุกคน โดยเฉพาะเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ ที่ใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น คอมพิวเตอร์, โทรศัพท์, วิทยุ, โทรทัศน์ เครื่องซักผ้า, เครื่องดูดฝุ่น ฯลฯ ซึ่งเครื่องใช้ไฟฟ้าทั้งหมดที่ได้กล่าวมาข้างต้นน้ี ภายในเครื่องจะมีอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ทนี่ ำมาตอ่ ประกอบเปน็ วงจร เพอ่ื ให้เคร่ืองใช้ไฟฟ้าทำงานได้ ขัน้ สอน 2. ขัน้ แสวงหาความร้ใู หม่ 4. ผู้สอนแจกใบความรู้และอธิบายเรื่อง ตัวต้านทานไฟฟ้า หน้าท่ีของตัวต้านทาน หน่วยของตัว ต้านทาน สัญลกั ษณ์ของตวั ต้านทาน ให้นกั เรียนดูใบความรตู้ าม และเอาตัวต้านทานของจริงให้นักเรียนดู 5. ผู้สอนอธิบายเรื่องชนดิ ของตัวต้านทาน ให้นักเรียนดูรูปตัวอย่างจากสือ่ การสอน และถามนักเรียน ว่าเปน็ ตวั ตา้ นทานชนดิ ใด แตล่ ะตวั มีกี่สี นักเรียนมองเหน็ สอี ะไรบา้ ง

10 6. ผู้สอนอธิบายเกี่ยวกับการอ่านความต้านทานจากรหัสสี และให้นักเรียนดูตารางแสดงค่าแถบสีตัว ต้านทานแบบรหสั 4 แถบสี พร้อมทั้งอธิบายรายละเอียดของตารางวา่ มีอะไรบา้ ง 7. ผ้สู อนใหน้ กั เรียนฝกึ อา่ น และทอ่ งคา่ สคี วามต้านทานพรอ้ มกัน 3. ขน้ั ศกึ ษาทำความเขา้ ใจข้อมูล 8. ผสู้ อนยกตวั อยา่ งตวั ตา้ นทานที่มีแถบสีตา่ งๆ และให้นกั เรียนช่วยกนั อ่านค่าความตา้ นทานตามแถบ สีทแ่ี สดง 4. ขั้นแลกเปล่ยี นความรู้ความเข้าใจกบั กลุ่ม 9. ผู้สอนแจกใบงานที่ 6.1 เรื่องการอ่านค่าความต้านทานจากรหัสแถบสี แบบ 4 แถบสี คนละ 1 ใบ งาน ให้นกั เรยี นทำใบงาน สนทนาและแลกเปลีย่ นเรียนรเู้ ก่ียวกับการอ่านค่าความต้านทานกบั เพื่อน 5. ข้ันสรปุ และจัดระเบียบความรู้ 10. ผูส้ อนสมุ่ เรยี กช่อื ใหน้ ักเรียนออกมานำเสนอใบงานของตนเองหน้าชน้ั เรียนทีละคน 11. นกั เรียนและผ้สู อนรว่ มกนั สรปุ การการอ่านค่าความตา้ นทานจากรหสั แถบสี แบบ 4 แถบสี 6. ขั้นการแสดงผลงาน 12. ผ้สู อนเฉลยใบงานท่นี ักเรียนนำเสนอหน้าชน้ั เรยี น และอธบิ ายสรุปใหน้ ักเรยี นเข้าใจตรงกันอีกครง้ั ข้นั สรปุ 7. ขัน้ ประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้ 13. ให้นักเรยี นดูรปู แถบสีของตวั ตา้ นทานแล้วอา่ นค่าความต้านทานออกมาเป็นตัวเลขพรอ้ มกนั ได้ อย่างถูกต้องและรวดเรว็ 9. ชิ้นงาน/ภาระงาน ใบงานท่ี 6.1 เรอื่ งการอา่ นความต้านทานจากรหัสแถบสี แบบ 4 แถบสี 10. ส่ือการเรยี นร/ู้ แหล่งการเรยี นรู้ 10.1 ใบความรู้ เรอ่ื ง ตวั ตา้ นทานไฟฟา้ 10.2 ใบงานท่ี 6.1 เร่ืองการอ่านคา่ ความตา้ นทานจากรหัสแถบสี แบบ 4 แถบสี 10.3 ส่อื ตารางแสดงค่าแถบสีตัวตา้ นทาน แบบรหสั 4 แถบสี 10.4 ตัวต้านทาน (ของจริง) แบบ 4 แถบสี 10.5 บัตรรหสั แถบสี, บัตรตวั เลข

11 11. การวดั และการประเมนิ ผล สงิ่ ที่ต้องการวัด วธิ กี ารวัด เครอ่ื งมอื วัด เกณฑก์ ารวัด ความรู้ (K) 1. ผ่านเกณฑก์ ารประเมินท่ี ระดบั คุณภาพปานกลางข้นึ 1. อธิบายลักษณะและหน้าท่ี 1. แบบประเมินการ 1. ตรวจแบบประเมิน ไป ของตวั ตา้ นทานไฟฟา้ ได้ อภปิ รายแสดงความ การอภปิ รายแสดง คดิ เหน็ ความคิดเหน็ 1. ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ท่ี ระดับคุณภาพปานกลางข้นึ ทกั ษะกระบวนการ (P) ไป 1. อ่านคา่ ค่าความตา้ นทานจาก 1. การตรวจใบงาน 1. แบบตรวจใบงาน ไดค้ ะแนนร้อยละ 60 ข้นึ ไป ถือว่าผา่ นเกณฑ์ รหสั สีได้ 2. ตรวจแบบบนั ทึก 2. แบบบันทึกผลการ 2. มีทักษะในการต่อวงจรตัว ผลการปฏิบัติงาน ปฏิบตั งิ าน ต้านทานไฟฟ้า 3. มีทกั ษะในการตรวจสอบ ตัวต้าทาน คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (A) การสังเกต แบบประเมนิ 1. ใฝ่เรียนรู้ คณุ ลักษณะอนั พงึ 2. มุ่งม่ันในการทำงาน ประสงค์ 3. มีวนิ ยั หมายเหตุ : แนบใบความรู้ / ใบงาน เคร่อื งมือประเมิน และอื่นๆ แนบทา้ ยแผนฯ ลงช่ือ....................................................... (นางสาวปทั มาพร อทุ าจันทร์) ครผู สู้ อน

12 ความเหน็ ของหัวหนา้ สถานศกึ ษา/ผ้ทู ีไ่ ดร้ ับมอบหมาย ความเหน็ ของหัวหนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ความเห็นของผู้บริหาร/ผทู้ ่ีไดร้ ับมอบหมาย ได้ทำการตรวจแผนการจัดการเรยี นรแู้ ล้วมคี วามคดิ เห็นดังน้ี ได้ทำการตรวจแผนการจัดการเรยี นรู้แล้วมีความคิดเห็นดังนี้ 1. เปน็ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ที่  ดีมาก  ดีมาก  ดี  ดี  พอใช้  พอใช้  ควรปรบั ปรงุ  ควรปรบั ปรงุ 2. การจัดกิจกรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรยี นรู้ 2. การจัดกิจกรรมได้นำเอากระบวนการเรยี นรู้  เนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญมาใช้ในการสอนได้อยา่ งเหมาะสม  เน้นผเู้ รียนเป็นสำคญั มาใชใ้ นการสอนได้อย่างเหมาะสม  ยงั ไมเ่ น้นผู้เรียนเป็นสำคัญควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป  ยงั ไม่เนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคญั ควรปรับปรุงพฒั นาต่อไป 3. เปน็ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 3. เปน็ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี  นำไปใชไ้ ดจ้ รงิ  นำไปใช้ไดจ้ รงิ  ควรปรบั ปรงุ ก่อนนำไปใช้  ควรปรับปรงุ ก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอื่นๆ 4. ขอ้ เสนอแนะอ่นื ๆ ..................................................................................................... ...................................................................................................... ....................................................................................................... ...................................................................................................... ....................................................................................................... ..................................................................................................... ...................................................................................................... ..................................................................................................... (ลงช่ือ).......................................................... (ลงชือ่ ).......................................................... (.......................................................) (.......................................................) หัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น/ผ้ทู ีไ่ ดร้ บั มอบหมาย

13 บนั ทึกผลหลงั การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 1. ผลการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 1.1 จดุ เดน่ /ความสำเร็จ ……………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 1.2 จดุ ทค่ี วรปรับปรงุ …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 2. ผลการใชส้ ่ือประกอบการเรียนรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 3. ผลการประเมินพฤตกิ รรมการเรยี นรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 4. ปญั หา/อปุ สรรคและแนวทางแก้ไขในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 5. สิง่ ท่ีไมไ่ ดป้ ฏบิ ัตติ ามแผน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 6. แนวทางการพัฒนา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ลงช่ือ...................................................... (นางสาวปัทมาพร อุทาจันทร์) ครผู ้สู อน

14 เอกสารประกอบท้ายแผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 2 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 6 เรอ่ื งตัวตา้ นทานไฟฟ้า

15 ใบความรู้ เรือ่ ง ตวั ต้านทานไฟฟ้า ตัวต้านทานไฟฟ้า (Resistor) ทำหน้าที่ต้านทานค่าของกระแสไฟฟ้า เมื่อตัวต้านทานมีค่าความ ต้านทานมากก็จะต้านกระแสไฟฟ้าได้มาก ส่งผลให้ค่ากระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวต้านทานตัวนั้นมีปริมาณท่ี ลดลง หนว่ ยของตัวตา้ นทานมหี นว่ ยเปน็ โอห์ม กโิ ลโอหม์ และเมกะโอห์ม รูปท่ี 1 ตัวต้านทานไฟฟ้า ชนดิ ของตัวตา้ นทาน แบ่งออกเปน็ 2 ชนิด คือ 1. ตัวตา้ นทานชนิดค่าคงที่ รูปท่ี 2 สัญลกั ษณข์ องตวั ต้านทานคงที่ ตวั ตา้ นทานชนิดคา่ คงที่จะมีค่าความตา้ นทานในรปู ของค่าตัวเลขโดยตรง รหัสของตัวเลขและรหสั แถบสี ตัวต้านทานท่ีมตี ัวเลขโดยตรงจะมีคา่ ความตา้ นทานคงท่ี รูปที่ 3 ตวั ต้านทานชนิดค่าคงท่ีแบบตวั เลข

16 รูปท่ี 4 ตวั ตา้ นทานชนดิ ค่าคงที่แบบรหสั แถบสี 2. ตัวต้านทานปรับคา่ ได้ ตัวตา้ นทานปรบั ค่าได้ เรยี กว่า โพเทนติโอมิเตอร์ (Potentiometer) เรียกสั้นๆ วา่ พ็อต ท่พี บเห็นกนั โดยท่ัวไปคือ ตวั ต้านทานทท่ี ำหน้าที่เป็นโวล่มุ (Volume) เพอื่ ปรบั เสยี งกับลดเสียงของเครอ่ื งขยายเสียง รูปท่ี 5 สญั ลักษณ์ของตัวต้านทานปรับคา่ ได้ รูปท่ี 6 ตวั ตา้ นทานปรบั คา่ ได้ การอา่ นค่าสตี วั ต้านทานแบบรหสั แถบสี การอ่านค่าสีตัวต้านทานแบบรหัสแถบสีของตัวต้านทานชนิดคงท่ี แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ แบบ 4 แถบสี และแบบ 5 แถบสี โดยสีที่ใช้กำหนดจะระบายเป็นเส้นรอบตัวต้านทานเรียงตามลำดับแทนตัวเลขและ ตัวอักษร ใช้แทนทั้งค่าความต้านทานและค่าผิดพลาด แถบสีที่ใช้แบ่งได้เป็น 2 แบบ คือ แบบ 4 แถบสี และ แบบ 5 แถบสี การอา่ นค่าความต้านทานออกมามรี ายละเอยี ดแตกต่างกัน ค่ารหัสสีที่ระบายไว้บอกทั้งค่าความต้านทานและค่าผิดพลาด จะต้องแปลงรหัสสีที่กำกับไว้กลับมา เป็นตัวเลขทั้งหมด รหัสสีที่บอกไว้สามารถนำมาแทนเป็นตัวเลขได้ทั้งค่าตัวตั้ง ค่าตัวคูณ และค่าผิดพลาด นำ ตัวเลขมาแทนลงไปให้ถูกต้องตามค่าสีที่กำหนด พร้อมทั้งจัดค่าและจัดหน่วยให้เหมาะสม จะได้ค่าความ ต้านทาน และคา่ ผิดพลาดของตัวต้านทานตัวนน้ั ออกมา

17 1. แบบรหสั 4 แถบสี ตัวต้านทานแบบรหัส 4 แถบสี มีแถบสีที่แสดงไวท้ ั้งหมด 4 แถบ การอ่านค่าให้อ่านแถบสีที่อยู่ชิดกนั 3 แถบก่อน โดยใหแ้ ถบสีแรกทีช่ ิดขาตัวตา้ นทานเปน็ แถบสีท่ี 1 อยูท่ างซ้าย มือ แถบสตี อ่ มาเปน็ แถบสีท่ี 2 ทั้ง แถบสีที่ 1 และแถบสีที่ 2 แทนค่าเป็นตัวเลขลงไป และอ่านค่าตัวเลขน้ันออกมาโดยตรง ส่วนแถบสีต่อมาเปน็ แถบสีที่ 3 เป็นแถบสีตัวคูณหรือจำนวนเลขศูนย์ (0) ที่ต้องเติมเข้าไป และแถบสีสุดท้ายเป็นแถบสีที่ 4 ซ่ึง อาจอยู่ติดกันหรืออยู่ห่างออกมาเล็กน้อย เป็นแถบสีแสดงค่าผิดพลาด ตัวต้านทานแบบ 4 แถบสี และตาราง แสดงคา่ สี แสดงดังรูปท่ี 7 สี แถบสที ่ี 1 แถบสีที่ 2 แถบสีที่ 3 แถบสีที่ 4 คา่ ผดิ พลาด อกั ษร คา่ ตัวเลข คา่ ตวั เลข ค่าตวั คณู (เตมิ จำนวนศนู ย์)  1% F ดำ 0 0 1  2% G น้ำตาล 1 1 10 แดง 2 2 100 สม้ 3 3 1,000 เหลอื ง 4 4 10,000 เขยี ว 5 5 100,000  0.5% D  0.25% C นำ้ เงนิ 6 6 1,000,000  0.1% B  0.05% A ม่วง 7 7 10,000,000  5% J เทา 8 8  10% K  20% M ขาว 9 9 ทอง 0.1 เงิน 0.01 ไม่มสี ี รปู ท่ี 7 ตารางการอ่านค่าสตี ัวต้านทานแบบรหสั 4 แถบสี

18 การสงั เกตหาแถบสีแถบท่ี 1 พจิ ารณาดังน้ี 1. แถบสีท่ีอยชู่ ิดขาตัวต้านทานมากกว่าเป็นแถบสีท่ี 1 2. แถบสี 3 แถบอยู่ชดิ กัน แถบสแี รกทอี่ ย่ชู ดิ ขาตัวตา้ นทานเป็นแถบสีท่ี 1 3. แถบสีท่ี 1 เสน้ แถบสจี ะเล็กกวา่ ปกติ 4. สีเงิน หรอื สีทอง ไมส่ ามารถเปน็ แถบสีท่ี 1 ได้ ตัวอยา่ งท่ี 1 จงอ่านค่าความต้านทานของตัวต้านทานแบบรหสั 4 แถบสี ตามค่าท่ีกำหนด 1. 1 แถบสีที่ 1 2 3 4 2 สีแสดง แดง ดำ ดำ เงนิ 3 4 คา่ ตวั เลข 2 0 1  10% ค่าอา่ นได้ 20  1 = 20  คา่ ผดิ พลาด  10% 2. 1 แถบสีท่ี 1 2 3 4 2 สแี สดง สม้ น้ำเงิน เขยี ว ทอง 3 4 ค่าตวั เลข 3 6 100,000  5% คา่ อ่านได้ 36  100,000 = 3,600,000  = 3.6 M ค่าผดิ พลาด  5% 2. แบบรหสั 5 แถบสี ตัวต้านทานแบบรหัส 5 แถบสี มีแถบสีที่แสดงไว้ทั้งหมด 5 แถบ การอ่านค่าให้อ่านแถบสีที่อยู่ชิดกัน 4 แถบก่อน โดยให้แถบสีแรกที่ชิดขาตัวต้านทานเป็นแถบสีที่ 1 อยู่ทางซ้ายมือ แถบสีต่อมาเป็นแถบสีที่ 2 และ 3 ตามลำดับ แถบสีที่ 1, 2 และ 3 แทนค่าเป็นตัวเลขลงไป และอ่านค่าตัวเลขนั้นออกมาโดยตรง ส่วน แถบสีตอ่ มาเปน็ แถบสที ่ี 4 เปน็ แถบสตี ัวคูณ หรอื จำนวนเลขศนู ย์ (0) ที่ตอ้ งเติมเขา้ ไป และแถบสีสดุ ทา้ ยแถบสี ที่ 5 ซึ่งอาจอยู่ติดกันหรืออยู่ห่างออกมาเล็กน้อย เป็นแถบสีแสดงค่าผิดพลาด ตัวต้านทานแบบ 5 แถบสี และตารางแสดงค่าสี แสดงดังรูปท่ี 8

19 สี แถบสีที่ 1 แถบสที ่ี 2 แถบสที ี่ 3 แถบสที ่ี 4 แถบสีท่ี 5 ค่าตัวเลข ค่าตัวเลข ค่าตวั เลข ค่าตวั คณู (เตมิ จำนวนศนู ย)์ คา่ ผดิ พลาด อกั ษร ดำ 0 0 1 นำ้ ตาล 1 1 10  1% F แดง 2 2 100  2% G ส้ม 3 3 1,000 เหลือง 4 4 10,000 เขยี ว 5 5 100,000  0.5% D น้ำเงิน 6 6 1,000,000  0.25% C ม่วง 7 7 10,000,000  0.1% B เทา 8 8  0.05% A ขาว 9 9 ทอง 0.1  5% J เงิน 0.01  10% K ไมม่ สี ี  20% M รปู ท่ี 8 ตารางการอา่ นคา่ สตี วั ต้านทานแบบรหสั 5 แถบสี การสงั เกตหาแถบสีแถบที่ 1 พิจารณาดังนี้ 1. แถบสที อี่ ยชู่ ดิ ขาตัวตา้ นทานมากกว่าเป็นแถบสีท่ี 1 2. แถบสี 3 แถบ หรือ 4 แถบท่ีอยตู่ ิดกนั แถบสแี รกที่อยชู่ ดิ ขาตัวต้านทานเป็นแถบสที ่ี 1 3. สีเงนิ หรือสที อง ไม่สามารถเปน็ แถบสที ี่ 1 หรือแถบสีท่ี 2 ได้ 4. แถบสีค่าเปอรเ์ ซ็นต์ผดิ พลาดจะอยู่ห่างออกมา หรอื ทำใหม้ ขี นาดแถบเลก็ หรือใหญ่กว่าแถบสีอ่นื ๆ

20 ตวั อยา่ งท่ี 2 จงอ่านค่าความตา้ นทานของตัวต้านทานแบบรหัส 5 แถบสี ตามคา่ ท่บี อกไว้ 1. 1 แถบสีท่ี 1 2 3 4 5 2 3 สีแสดง แดง ดำ ดำ ทอง แดง 4 คา่ ตวั เลข 2 0 0 0.1  2% 5 คา่ อ่านได้ 200  0.1 = 20  คา่ ผิดพลาด  2% 2. 1 แถบสีที่ 1 2 3 4 5 2 3 สแี สดง เขียว มว่ ง น้ำเงนิ แดง น้ำตาล 4 คา่ ตัวเลข 5 7 6 100  1% 5 คา่ อา่ นได้ 576  100 = 57,600  = 57.6 k ค่าผดิ พลาด  1% การตอ่ ตวั ตา้ นทาน การตอ่ ตวั ต้านทาน คอื การนำตวั ต้านทานมาต่อวงจรรวมกนั เพือ่ ปรับเปลี่ยนค่าความต้านทานให้ได้ ตามตอ้ งการ การต่อตวั ตา้ นทานแบง่ ออกได้เป็น 3 แบบ คอื ตอ่ แบบอนกุ รม ตอ่ แบบขนาน และต่อแบบผสม การต่อตวั ต้านทานแต่ละแบบมผี ลทำใหค้ า่ ความต้านทานรวมทไี่ ด้ออกมาเปลยี่ นแปลงไป 1. การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม (Series Resistor) เป็นการต่อตัวต้านทานเข้าด้วยกันแบบ เรียงลำดับต่อเนื่องกนั ไป ในลักษณะท้ายของตวั ต้านทานตวั แรกตอ่ เขา้ หัวตวั ต้านทานตวั ท่สี อง และท้ายของตัว ต้านทานตัวที่สองต่อเขา้ หวั ตัวต้านทานตัวที่สาม ต่อเช่นนี้เรื่อยไป การต่อวงจรตวั ต้านทานแบบอนุกรม แสดง ดังรปู ท่ี 9 R1 R2 R3 R4 R1 R2 R3 R4 (ก) รูปวงจร (ข) สัญลกั ษณ์วงจร รูปท่ี 9 การต่อตวั ตา้ นทานแบบอนุกรม การต่อตัวต้านทานแบบนี้ ทำให้ค่าความต้านทานรวมของวงจรเพิ่มขึ้นตามจำนวนตัวต้านทานที่นำมาต่อ เพิ่ม การหาคา่ ความต้านทานรวมในวงจรแบบอนุกรม สามารถเขียนเป็นสมการไดด้ งั น้ี

21 RT = R1 + R2 + R3 + R4 + .... .....(1) เมอ่ื RT = ความตา้ นทานรวมของวงจร หน่วย  R1, R2, R3, R4 = ความตา้ นทานของตวั ตา้ นทาน 1, 2, 3 และ 4 ตามลำดับ หนว่ ย  ตวั อย่างที่ 3 จงหาค่าความต้านทานรวมของวงจรอนุกรมตามรปู ที่ 10 R1 R2 R3 วิธีทำ 220  470  100  จากสูตร RT = R1 + R2 + R3 แทนคา่ RT = 220  + 470  + 100   รปู ท่ี 10 วงจรตัวต้านทานแบบอนุกรม RT = 790  ตอบ การตอ่ ตวั ต้านทานแบบขนาน การตอ่ ตัวต้านทานแบบขนาน (Parallel Resistor) เป็นการต่อตัวต้านทานแต่ละตัวในลักษณะคร่อม ขนานร่วมกันทุกตัว มีจุดต่อร่วมกัน 2 จุด คือจุดรวมขาแต่ละด้านของตัวต้านทานแต่ละตัว ลักษณะการต่อ วงจรตวั ตา้ นทานแบบขนาน แสดงดังรูปท่ี 11 R1 R1 R2 R2 R3 R3 R4 R4 (ก) รูปวงจร (ข) สญั ลกั ษณ์วงจร รูปที่ 11 การต่อตวั ต้านทานแบบขนาน

22 การต่อตวั ตา้ นทานแบบนี้ ทำใหค้ า่ ความต้านทานรวมของวงจรลดลง ไดค้ ่าผล รวมของความต้านทาน ในวงจร น้อยกว่าค่าความต้านทานของตัวต้านทานตัวท่ีมีค่าน้อยทีส่ ุดในวงจร การหาค่าความต้านทานรวมใน วงจรแบบขนาน สามารถเขยี นสมการได้ดังน้ี 1 = 1 + 1 + 1 + 1 + .... .....(2) RT R1 R2 R3 R4 เมือ่ RT = ความต้านทานรวมของวงจร หน่วย  R1, R2, R3, R4 = ความต้านทานของตวั ต้านทาน 1, 2, 3 และ 4 ตามลำดับ หนว่ ย  ตัวอยา่ งที่ 4 จงหาคา่ ความต้านทานรวมของวงจรตามรปู ที่ 12 วธิ ีทำ R1 = 10  จากสูตร 1 = 1 + 1 + 1 + 1 R2 = 24  RT R1 R2 R3 R4 R3 = 20  R4 = 12  แทนคา่ 1 = 1 + 1 + 1 + 1 RT 10 24 20 12 รูปท่ี 12 วงจรตัวตา้ นทานแบบขนาน 1 = 12 + 5 + 6 +10 = 33 RT 120 120  RT = 120 = 3.64  ตอบ 33 การตอ่ ตัวตา้ นทานแบบผสม การต่อตัวต้านทานแบบผสม (Compound Resistor) เป็นการต่อตัวต้านทานผสมรวมกัน ระหว่างการ ต่อแบบอนุกรมและการต่อแบบขนานอยู่ในวงจรเดียวกัน การต่อตัวต้านทานแบบผสมไม่มีวงจรตายตัว สามารถเปลี่ยนแปลงไปตามลักษณะการต่อวงจรที่ต้องการ การหาค่าความต้านทานรวมของวงจร ให้ใช้วิธีหา แบบอนุกรมและวิธีหาแบบขนานร่วมกัน โดยพิจารณาการต่อทีละส่วน ลักษณะการต่อวงจรตัวต้านทานแบบ ผสมลักษณะหนึ่ง แสดงดงั รปู ท่ี 13

23 R1 R2 R3 R1 R2 R3 R4 R5 R4 R5 (ก) รูปวงจร (ข) สัญลักษณว์ งจร รูปท่ี 13 การต่อตัวต้านทานแบบผสมลกั ษณะหนึ่ง ตัวอยา่ งท่ี 5 จงหาค่าความต้านทานรวมของวงจรตามรปู ที่ 14 วิธีทำ R1 = 10  R2 = 24  R3 = 20  สูตรอนุกรม R123 = R1 + R2 + R3 R4 = 56  R5 = 22  แทนคา่ R123 = 10  + 24  + 20   R123 = 54  รูปท่ี 14 วงจรตวั ตา้ นทานแบบผสม สตู รอนุกรม R45 = R4 + R5 แทนคา่ R45 = 56  + 22  R45 = 78   สตู รขนาน 1 = 1 + 1 RT R123 R45 R123 R45 หรือใช้สตู ร RT = R123 + R45 แทนคา่ RT = 54  78 54 + 78  RT = 31.91  ตอบ การตรวจสอบตัวตา้ นทาน การตรวจสอบตวั ต้านทานเพื่อต้องการจะทราบว่าตวั ตา้ นทานอยู่ในสภาพพร้อมทจี่ ะใชง้ าน (ดี) หรอื อยู่ในสภาพที่ใชง้ านไมไ่ ด้ (เสีย) นยิ มใช้โอหม์ มเิ ตอร์ตรวจสอบ

24 รปู ท่ี 15 การใช้โอห์มมิเตอร์ตรวจสอบตัวตา้ นทานชนดิ คงท่ีคา่ ๑๐๐ กิโลโอห์ม จากรูปที่ 12 หากตัวต้านทานที่ใช้ตรวจสอบอยู่ในสภาพพร้อมทจ่ี ะใชง้ าน (ดี) เขม็ ของโอห์มมิเตอร์จะ เลื่อนขึ้นมาทางขวามือ แต่หากตัวต้านทานที่ใช้ตรวจสอบอยู่ในสภาพที่ใช้งานไม่ได้ (เสีย) เข็มมิเตอร์จะวัดไม่ ข้ึน รปู ท่ี 16 การใช้โอห์มมิเตอร์ตรวจสอบตวั ตา้ นทานชนิดปรบั ค่าได้ จากรปู ที่ 13 (ก) ใช้โอห์มมิเตอร์วัดหาค่าความต้านทานของตวั ต้านทานทีต่ ำแหน่งขา 1 และขา 3 (ข) ใช้โอห์มมิเตอร์การวดั ที่ตำแหน่งขา 2 และขา 3 จากนั้นหมุนไปทางซ้ายมือหรือทางขา 3 จนสุด เข็มมิเตอร์จะ ชี้ไปท่ี 0 โอหม์ และ (ค) ใช้โอหม์ มิเตอร์การวดั ที่ตำแหนง่ ขา 1 และขา 2 จากน้นั หมุนไปทางขวามือหรือทางขา 1 จนสดุ เข็มมิเตอรจ์ ะช้ีไปตามคา่ ของตวั ต้านทาน หากหมุนซ้ายขวาแลว้ เขม็ ของโอห์มมิเตอรช์ ี้ขน้ึ -ลง แสดงว่า ตัวต้านทานอยู่ในสภาพพร้อมที่จะใช้งาน (ดี) แต่ถ้าเข็มของโอห์มมิเตอร์ไม่ขยับเลยแสดงว่าตัวต้านทานอยู่ใน สภาพทีใ่ ช้งานไมไ่ ด้ (เสยี )

25 สรปุ ตัวต้านทาน (Resistor) เป็นอุปกรณ์ทำหน้าที่ต้านทานการไหลของกระแสไฟฟ้าโดยใช้ได้ทั้งไฟฟ้า กระแสตรงและไฟฟ้ากระแสสลับ ถ้าความต้านทานมากกระแสไฟฟ้าก็จะไหลผ่านตัวต้านทานได้น้อย แต่ถ้า ความต้านทานนอ้ ยกระแสไฟฟ้าก็จะไหลผา่ นตวั ตา้ นทานได้มาก หนว่ ยของตวั ต้านทานมีหน่วยเป็นโอหม์ ( Ω ), กโิ ลโอหม์ ( KΩ ) และเมกะโอห์ม ( MΩ ) ตัวตา้ นทาน แบ่งออกเปน็ 2 ชนดิ ตัวต้านทานชนิดคงที่ และตวั ต้านทานปรับค่าได้ การอ่านค่าความต้านทานที่แสดงไว้บนตัวต้านทานอ่านได้หลายแบบ เช่น แบบแสดงค่าออกมา โดยตรง จะพมิ พ์ค่าความต้านทานบอกไว้สามารถอ่านค่าออกมาไดโ้ ดยตรง แบบแสดงคา่ เป็นรหสั จะต้องทำ การแปลงรหัสออกก่อนจึงสามารถอา่ นค่าความต้านทานออกมาได้ และแบบแสดงคา่ เป็นแถบสี จะต้องแปลง แถบสีให้เป็นตัวเลขก่อน จึงสามารถอ่านค่าความต้านทานออกมาได้ แถบสีที่บอกไว้มีทั้งแบบ 4 แถบสี และ แบบ 5 แถบสี การต่อตัวต้านทานมี 3 แบบ คือ 1. การตอ่ ตัวต้านแบบอนกุ รม 2. การตอ่ ตวั ตา้ นแบบขนาน การต่อตัวตา้ นแบบผสม

26 ใบงานที่ 6.1 เร่อื งการอ่านคา่ ความต้านทานจากรหสั แถบสี แบบ 4 แถบสี คำชีแ้ จง : ให้นกั เรยี นอา่ นค่าความต้านทานจากรหัสแถบสี แบบ 4 แถบสี ลงในช่องวา่ งใหถ้ กู ต้อง ที่ รหสั แถบสี ค่าท่ีอ่านได้ 1 แดง ดำ ดำ ทอง 2 ส้ม ส้ม สม้ ทอง 3 น้ำตาล แดง น้ำตาล ทอง 4 ขาว ดำ แดง เงนิ 5 เหลอื ง ม่วง สม้ ทอง 6 7 8 9 10 ชอ่ื ...........................................นามสกลุ ......................................ระดบั ช้นั ...................รหัสประจำตัวนกั เรยี น..............................

27 เฉลยใบงานที่ 6.1 เรอ่ื งการอา่ นคา่ ความตา้ นทานจากรหสั แถบสี แบบ 4 แถบสี คำช้ีแจง : ใหน้ ักเรยี นอา่ นคา่ ความต้านทานจากรหัสแถบสี แบบ 4 แถบสี ลงในช่องว่างใหถ้ กู ต้อง ที่ รหสั แถบสี ค่าท่ีอา่ นได้ 1 แดง ดำ ดำ ทอง 20 x1 = 20Ω ค่าผดิ พลาด ±5% 2 สม้ สม้ ส้ม ทอง 33 x1000 = 33,000Ω หรือ 33KΩ ค่าผดิ พลาด ±5% 3 นำ้ ตาล แดง น้ำตาล ทอง 12 x10 = 120Ω คา่ ผดิ พลาด ±5% 4 ขาว ดำ แดง เงนิ 90 x100 = 9,000Ω หรอื 9KΩ คา่ ผดิ พลาด ±10% 5 เหลือง มว่ ง สม้ ทอง 47 x1000 = 4,700Ω หรอื 4.7KΩ ค่าผดิ พลาด ±5% 6 10 x10 = 100Ω ค่าผิดพลาด ±5% 7 22 x10 = 220Ω ค่าผดิ พลาด ±5% 8 10 x100 = 1,000Ω หรอื 1KΩ คา่ ผิดพลาด ±5% 9 50 x1 = 50Ω ค่าผดิ พลาด ±5% 10 47 x10 = 470Ω คา่ ผิดพลาด ±5% ชื่อ...........................................นามสกลุ ......................................ระดับชัน้ ...................รหัสประจำตัวนกั เรียน..............................

28 แบบประเมิน ใบงานที่ 6.1 เรื่อง การอา่ นค่าความตา้ นทานจากรหัสแถบสี แบบ 4 แถบสี ชือ่ ...........................................นามสกลุ ......................................ระดับชน้ั ...................รหสั ประจำตัวนกั เรียน.............................. คำชี้แจง ให้ผูส้ อนทำเคร่อื งหมาย √ ลงในช่องระดบั คะแนนตามเกณฑ์การประเมนิ ประเด็นการประเมนิ ระดับคะแนน หมายเหตุ 54321 1. อ่านคา่ ความต้านทานได้ถูกต้อง 2. รปู แบบการคดิ คำนวณ 3. ผลงานท่ีไดต้ รงตามเปา้ หมาย คะแนนรวม ลงชอื่ ……………………………….ผู้ประเมิน (...........................................) …………/…………/………. 5 = ดเี ย่ียม , 4 = ดมี าก , 3 = ดี , 2 = พอใช้ , 1 = ควรปรบั ปรงุ เกณฑก์ ารประเมินและระดบั คุณภาพ 21–25 หมายถึง ดเี ยีย่ ม 16–20 หมายถึง ดมี าก 11–15 หมายถึง ดี 6–10 หมายถึง พอใช้ 1–5 หมายถึง ควรปรบั ปรุง

29 แบบประเมินผลการนำเสนอผลงาน ชื่อชก่ือล..มุ่..…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…น…าม…ส…กชลุ น้ั...…..…...…...…...…...…...…...…...…...ห...อ้ ..ง.......ร..ะ..ด...บั ..ช...นั้ ................................รหสั ประจำตวั นกั เรียน.............................. รายชื่อสมาชิก คำช้แี จง ใหผ้ ูส้ อนทำเครือ่ งหมาย √ ลงในช่องระดับคะแนนตามเกณฑ์การประเมนิ ที่ รายการประเมนิ คะแนน ขอ้ คดิ เห็น 32 1 1 เน้อื หาสาระครอบคลมุ ชัดเจน (ความรูเ้ ก่ยี วกับเน้ือหา ความถกู ต้อง ปฏภิ าณในการตอบ และการแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหน้า) 2 รปู แบบการนำเสนอ 3 บคุ ลกิ ลกั ษณะ กิรยิ า ทา่ ทางในการพดู น้ำเสยี ง ซ่งึ ทำให้ผฟู้ ังมคี วาม สนใจ รวม ลงชอ่ื ……………………………….ผปู้ ระเมนิ (...........................................) …………/…………/………. เกณฑ์การใหค้ ะแนน 1. เน้ือหาสาระครอบคลุมชัดเจนถกู ต้อง 3 คะแนน = มีสาระสำคญั ครบถว้ นถูกต้อง ตรงตามจดุ ประสงค์ 2 คะแนน = สาระสำคญั ไม่ครบถ้วน แต่ตรงตามจดุ ประสงค์ 1 คะแนน = สาระสำคญั ไมถ่ กู ตอ้ ง ไมต่ รงตามจดุ ประสงค์ 2. รปู แบบการนำเสนอ 3 คะแนน = มรี ปู แบบการนำเสนอท่ีเหมาะสม มกี ารใชเ้ ทคนิคทีแ่ ปลกใหม่ ใช้สอ่ื และเทคโนโลยปี ระกอบการ นำเสนอทน่ี ่าสนใจ นำวัสดุในทอ้ งถ่นิ มาประยุกตใ์ ชอ้ ยา่ งคมุ้ คา่ และประหยดั 2 คะแนน = มเี ทคนิคการนำเสนอท่ีแปลกใหม่ ใช้ส่ือและเทคโนโลยีประกอบการนำเสนอท่ีน่าสน ใจ แตข่ าด การประยกุ ต์ใช้ วัสดุในทอ้ งถิน่ 1 คะแนน = เทคนิคการนำเสนอไมเ่ หมาะสม และไมน่ ่าสนใจ 3. การมสี ว่ นร่วมของสมาชิกในกล่มุ 3 คะแนน = สมาชิกทกุ คนมีบทบาทและมสี ่วนร่วมกิจกรรมกลมุ่ 2 คะแนน = สมาชกิ ส่วนใหญม่ บี ทบาทและมีสว่ นรว่ มกจิ กรรมกลุม่ 1 คะแนน = สมาชกิ สว่ นน้อยมบี ทบาทและมีส่วนรว่ มกจิ กรรมกลุม่ 4. ความสนใจของผู้ฟงั 3 คะแนน = ผู้ฟงั มากกว่ารอ้ ยละ 90 สนใจ และให้ความร่วมมอื 2 คะแนน = ผฟู้ งั ร้อยละ 70-90 สนใจ และให้ความร่วมมือ 1 คะแนน = ผู้ฟงั น้อยกวา่ ร้อยละ 70 สนใจ และใหค้ วามร่วมมือ

30 สอื่ การเรียนการสอน เรื่อง การอา่ นความต้านทานแบบรหสั แถบสี

ค บรรณานกุ รม พันธ์ศกั ดิ์ พฒุ ิมานิตพงศ์ และคณะ. (2562). งานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบ้ืองตน้ . กรงุ เทพฯ : บริษัท รัตนโจนก์ ารพิมพ์ จำกัด.