Shapefile ข อม ลสารสนเทศภ ม ศาสตร จ นทบ ร shp

- 4444 -

3.4 การกําหนดคา เริ่มตน ของโปรแกรม

3.4.1 ระบบอางอิงพิกดั ทางภูมิศาสตร ระบบอางอิงทางภูมิศาสตร หรือ CRS (Coordinate Reference System)

มีความสาํ คญั ในการกําหนดตําแหนงบนแผนท่ีหรือภาพถาย เพ่ือระบุตําแหนงของพ้ืนที่จริงในภูมิประเทศ โดยระบบพิกดั ภูมศิ าสตรท่ปี ระเทศไทยใชหลกั ๆ มีอยู 4 ชนดิ คือ

1. EPSG : 24047 Indian 1975 / UTM Zone 47N 2. EPSG : 24048 Indian 1975 / UTM Zone 48N 3. EPSG : 32647 WGS 84 / UTM Zone 47N 4. EPSG : 32648 WGS 84 / UTM Zone 48N

3.4.2 การกําหนดระบบอางอิงภูมิศาสตรของโครงการ

ดังตอ ไปน้ี การกาํ หนดระบบอางอิงภูมิศาสตรของโครงการ สามารถดําเนินการได ตามขั้นตอน

1 1. เลอื กแถบ Project ท่ี Menu Bar จากนนั้ เลือกคําสง่ั Properties…

- 4455 -

3 2

4

5 6

จากหัวขอ 3.4.1 2. เลือกแถบ CRS ทหี่ นา ตา ง Project Properties – CRS 3. ชอง Filter พิมพรหัส EPSG เพ่ือกําหนดระบบอางอิงภูมิศาสตร โดยสามารถดูได 4. เลือกระบบอา งอิงภูมิศาสตรทป่ี รากฏขึ้นมาใหเ ปนแถบสฟี า 5. เลอื ก Apply 6. เลือก OK

ตรวจสอบที่ Status Bar วา ระบบอา งอิงภูมิศาสตรไดเ ปลยี่ นไปตามท่ีเลือกแลว

3.4.3 การกําหนดระบบอางองิ ภูมิศาสตรข องชัน้ ขอ มูลทนี่ ําเขา การกําหนดระบบอางอิงภูมิศาสตรของชั้นขอมูลที่นําเขา สามารถดําเนินการได

ตามขนั้ ตอนดงั ตอ ไปนี้

 46 

- 46 -

1

1. เลอื กแถบ Settings ที่ Menu Bar จากน้นั เลือกคําสัง่ Options…

4

23

2. เลอื กแถบ CRS ทห่ี นาตา ง Options  CRS 3. ทหี่ ัวขอ CRS for Projects ใหทาํ เครอื่ งหมาย  หนา Use a default CRS 4. เลือก Select CRS เพื่อกาํ หนดระบบอางอิงภูมิศาสตร

 47 

- 47 -

5

6

7 5. จะปรากฏหนาตาง Coordinate Reference System Selector ข้ึนมา ในชอง Filter พมิ พรหสั EPSG เพ่อื กําหนดระบบอางองิ ภมู ศิ าสตร โดยสามารถดูไดจากหวั ขอ 3.4.1 6. เลอื กระบบอา งองิ ภมู ศิ าสตรทีป่ รากฏขน้ึ มาใหเ ปน แถบสีฟา 7. เลือก OK

8

10 9

เลอื กแลว 8. ตรวจสอบระบบอางองิ ภมู ิศาสตรใ นหวั ขอ CRS for Projects วา ไดเปล่ยี นไปตามท่ี 9. ทีห่ ัวขอ CRS for Layers ใหทําเครื่องหมาย  หนา Use default layer CRS 10. เลอื ก Select CRS เพื่อกําหนดระบบอางอิงภมู ิศาสตร

 48 

- 48 -

11

12 13

11. จะปรากฏหนาตาง Coordinate Reference System Selector ขึ้นมาอีกคร้ัง ในชอ ง Filter พิมพรหัส EPSG เพือ่ กําหนดระบบอางองิ ภมู ิศาสตร โดยสามารถดไู ดจ ากหัวขอ 3.4.1

12. เลอื กระบบอางองิ ภมู ิศาสตรทีป่ รากฏขน้ึ มาใหเ ปนแถบสฟี า 13. เลือก OK

14

15

เลอื กแลว 14. ตรวจสอบระบบอางอิงภูมศิ าสตรใ นหัวขอ CRS for Layers วา ไดเปล่ียนไปตามที่ 15. เลอื ก OK

 49 

- 49 -

3.5 การนําเขาขอมูล 3.5.1 การนําเขา ขอมลู ประเภทเชิงเสน (Vector) ชัน้ ขอมลู แบบเชงิ เสน (Vector) จะมีอยดู วยกัน 3 รูปแบบ คือ ช้ันขอมูลเชิงตําแหนง

หรือจุด (Point) ชั้นขอมูลแบบเสน (Line) และช้ันขอมูลแบบรูปปด (Polygon) โดยการนําเขาขอมูล ประเภทน้ี สามารถนําเขาไดหลายนามสกุล เชน *.shp (Shapefile) และ *.kml (Keyhole Markup Language) เปนตน การนําเขาจะตองมีการเลือกการเขารหัสของตัวอักษร (Encoding) ซึ่งตัวที่อาน ภาษาไทยได ก็จะมี UTF8 และ TIS620 หรือจะเลือกเปนแบบ systems ก็ได ข้ันตอนการนําเขา สามารถดําเนนิ การได ตามข้นั ตอนดงั ตอ ไปน้ี

12

1. เลอื กคาํ สัง่ Add Vector Layer… 2. จะปรากฏหนา ตาง Data Source Manager I Vector ข้ึนมา

34 5

3. ทาํ เครื่องหมาย  หนา File 4. เลือกการเขารหัสของตัวอักษร (Encoding) ซ่ึงตัวท่ีอานภาษาไทยได ก็จะมี UTF8 และ TIS620 หรือจะเลอื กเปนแบบ systems กไ็ ด 5. เลอื ก Browse ไปหาทีเ่ กบ็ ไฟลขอมูลเชิงเสน ทีต่ องการนาํ เขา

- 50 -

6 7

6. เลอื กไฟลข อมูลเชงิ เสน ทต่ี องการนําเขา (Shape File) 7. เลือก Open

98 8. เลอื ก Add ทหี่ นาตา ง Data Source Manager I Vector 9. เลอื ก Close เพ่อื ปดหนาตาง Data Source Manager I Vector

- 51 -

10

10. จะปรากฏชื่อชั้นขอมูลที่นําเขาใน Layer Panel และรูปแผนที่จะปรากฏใน Map View ดงั รปู

การจัดการกับขอมูลเชิงเสน ไดแก การเปลี่ยนชื่อชั้นขอมูล การเปลี่ยนระบบอางอิง ภูมศิ าสตรข องช้นั ขอมูล การเปลีย่ นสญั ลกั ษณ (สี) ของชัน้ ขอมลู และการแสดงปา ยช้นั ขอมูล มดี ังน้ี

 การเปลีย่ นช่ือชั้นขอมูล

1 1. เลอื กช้ันขอมูลทีต่ องการเปล่ียนชื่อ และคลิกขวาท่ีเมาส เลือกคําสั่ง Rename Layer

- 52 -

2 2. พมิ พชื่อช้นั ขอมลู ใหมต ามตอ งการ จากนัน้ กด Enter  การเปลี่ยนระบบอางองิ ภมู ศิ าสตรข องชั้นขอมลู

1 1. เลือกชั้นขอมูลท่ีตองการเปล่ียนระบบอางอิงภูมิศาสตร และคลิกขวาที่เมาส เลือกคาํ สัง่ Properties…

- 53 -

23

2. จะปรากฏหนาตาง Layer Properties ขึน้ มา เลือกแถบ Source 3. เลือกคําสัง่ Select CRS เพื่อกําหนดระบบอา งอิงภมู ิศาสตรทตี่ อ งการ

4 5 6

- 5544 -

4. ท่ีหนาตาง Coordinate Reference System Selector ในชอง Filter ใหพิมพ รหสั EPSG เพอ่ื กาํ หนดระบบอางองิ ภูมิศาสตร โดยสามารถดูไดจ ากหวั ขอ 3.4.1

5. เลือกระบบอางองิ ภมู ิศาสตรทป่ี รากฏข้นึ มาใหเ ปนแถบสีฟา 6. เลอื ก OK

87

7. เลือก Apply ทีห่ นาตาง Layer Properties 8. เลอื ก OK ที่หนา ตา ง Layer Properties  การเปลย่ี นสัญลักษณ (สี) ของชัน้ ขอมลู

1

Properties… 1. เลอื กชั้นขอมูลท่ีตองการเปลี่ยนสัญลักษณ (สี) และคลิกขวาที่เมาส เลือกคําสั่ง

- 5555 -

3 2

4

5 2. เลอื กแถบ Symbology ที่หนาตา ง Layer Properties 3. เลอื ก Simple Fill 4. จากนั้นเราจะสามารถทําการเปลยี่ นสชี ั้นขอมูลไดโดย

 Fill color เปล่ียนสีพนื้ ของชัน้ ขอมลู  Fill style เปล่ยี นลักษณะของพื้นหลังขอมูล โดยสามารถเลือกเปน

No Brush คอื การเอาสีพื้นหลังออกได  Stroke color เปลย่ี นสเี สนขอบ  Stroke width ความหนาเสนขอบ  Stroke style ลกั ษณะของเสนขอบ เชน เสนทบึ เสนประ เปนตน 5. เลือก Apply และ เลือก OK เมื่อทําการปรบั แตงชัน้ ขอมูลเสร็จ

- 56 -

6 6. จะไดช ัน้ ขอมลู ท่ปี รับแตงสัญลกั ษณ (สี) ตามตองการ

- 57 -

 การแสดงปายชนั้ ขอ มลู กอนจะทําการแสดงปายช้ันขอมูล ใหตรวจสอบขอมูลในตาราง Attribute กอน

ดังน้ี

1

1. เลือกชั้นขอมูลที่ตองการแสดงปาย และคลิกขวาที่เมาส เลือกคําสั่ง Open Attribute Table

23

2. จะปรากฏขอมูลเชิงบรรยาย (Attribute Data) ข้ึนมา ใหจําช่ือหัวขอที่ตองการ แสดงปาย เชน ตอ งการตดิ ชอ่ื จังหวัด (PROV_NAM_T)

3. ปดตารางขอมูลเชงิ บรรยาย

 58 

- 58 -

4 4. เลอื กชั้นขอมูลท่ตี อ งการแสดงปา ย และคลกิ ขวาท่ีเมาส เลอื กคาํ สง่ั Properties…

6 5

5. เลอื กแถบ Labels ทห่ี นาตาง Layer Properties 6. ท่ีชองดานบนสดุ ใหเ ปล่ยี นจาก No Labels เปน Single Labels

 59 

- 59 -

7

7. ทแ่ี ถบ Value กดที่ลูกศรลง ใหเลือก Field ท่ีตองการแสดงปายขอมูล ดูไดจ ากตาราง Attribute ในขอ 2

8 9

8. ทาํ การปรับแตงลักษณะของปายขอมูล โดยการปรับแตงมีใหเลือกปรับได 9 ประเภท ดังนี้

- 60 -

 Text ปรบั Font ขนาด สี ความโปรงใสของตัวอักษร  Formatting ปรบั การตัดคาํ ระยะหางระหวา งบรรทัด จํานวนจดุ ทศนยิ ม  Buffer ปรับสี การเนนขอความตวั อักษร (Text Highlight)  Mask เพม่ิ ขอบตัวอักษร ขนาดความหนาของขอบตวั อักษร  Background ปรับพื้นหลัง  Shadow ปรบั ความเขม ความโปรง ใส แสงเงาของตวั อักษร  Callouts การใสเสน ชต้ี ําแหนงตัวขอมลู กับปา ยขอมูล  Placement ปรบั ตาํ แหนง ท่ีจะวาง Label  Rendering ปรับการแสดงผลของปา ยขอ มลู 9. เสร็จเรยี บรอ ยแลว เลอื ก Apply และ เลือก OK

10

10. จะไดช ้ันขอมูลที่ไดจ ัดแสดงผลปายขอมูลแลว ดงั รูป

- 61 -

3.5.2 การนําเขา ขอมลู ประเภทเชิงภาพ (Raster) ขอมูลแบบเชิงภาพ (Raster) มีลักษณะเปนตารางสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ (Grid cell or

pixel) เทากันและตอเน่ืองกัน ที่สามารถอางอิงคาพิกัดทางภูมิศาสตรได ขนาดของตารางกรดิ หรอื ความละเอียด (Resolution) ในการเกบ็ ขอ มลู จะใหญหรือเลก็ ขน้ึ อยูกับการจัดแบงจํานวนแถว (Row) และจาํ นวนคอลัมน (Column) ตัวอยางเชน ภาพดาวเทียม, ภาพถายทางอากาศ และขอมูลระดับคา ความสูง (DEM) โดยนามสกุลของขอมูลเชิงภาพท่ีสามารถใชงานไดมีอยูหลายนามสกุล ตัวอยางเชน *.sid, *.tif, *.jpg และ *.png เปนตน ขั้นตอนการนําเขา สามารถดําเนนิ การได ดงั นี้

1 2

1. เลือกคําสัง่ Add Raster Layer… 2. จะปรากฏหนาตาง Data Source Manager I Raster ข้ึนมา

34 3. ทําเคร่ืองหมาย  หนา File 4. เลอื ก Browse ไปหาท่ีเก็บไฟลขอมลู เชิงภาพที่ตองการนําเขา

- 6622 -

5 6

5. จะปรากฏหนาตาง Open GDAL Supported Raster Dataset(s) ขึ้นมา เลอื กไฟลที่ตองการ

6. เลอื ก Open ทีห่ นาตา ง Open GDAL Supported Raster Dataset(s)

87 7. เลือก Add ที่หนา ตาง Data Source Manager I Raster 8. เลอื ก Close เพือ่ ปด หนาตาง Data Source Manager I Raster

- 6633 -

9

9. จะไดชั้นขอมลู แบบเชงิ ภาพทตี่ องการ การจัดการกับขอมูลเชิงภาพ ไดแก การเปล่ียนชื่อชั้นขอมูล การเปลี่ยนระบบอางอิง ภูมิศาสตรของช้ันขอมูล การปรับแตงความสวาง ความคมชัดของช้ันขอมูล และการปรับความโปรงแสง ของช้นั ขอ มลู มดี งั น้ี

 การเปลยี่ นชื่อช้นั ขอมูล

1 1. เลือกชั้นขอ มูลทีต่ อ งการเปล่ียนชื่อ และคลิกขวาที่เมาส เลือกคําส่ัง Rename Layer

 64 

- 64 -

2 2. พิมพช ่อื ช้นั ขอ มลู ที่ตองการ จากน้ัน กด Enter  การเปลี่ยนระบบอางอิงภูมิศาสตรของชั้นขอมูล

1 1. เลอื กช้ันขอมูลท่ีตองการเปล่ียนระบบอางอิงภูมิศาสตร และคลิกขวาที่เมาส เลือกคําส่ัง Properties…

 65 

- 65 -

23

2. จะปรากฏหนาตา ง Layer Properties ขน้ึ มา เลอื กแถบ Source 3. เลอื กคาํ สงั่ Select CRS เพอ่ื กาํ หนดระบบอางอิงภมู ิศาสตรท ตี่ องการ

4

5 6

4. ท่ีหนาตาง Coordinate Reference System Selector ในชอง Filter ใหพิมพ รหัส EPSG เพื่อกําหนดระบบอางอิงภูมิศาสตร โดยสามารถดไู ดจ ากหัวขอ 3.4.1

 66 

- 66 -

5. เลือกระบบอางอิงภูมศิ าสตรทีป่ รากฏข้นึ มาใหเ ปน แถบสีฟา 6. เลือก OK

87 7. เลอื ก Apply ท่หี นาตา ง Layer Properties 8. เลือก OK ทหี่ นาตา ง Layer Properties  การปรบั แตงความสวา ง ความคมชดั ของชัน้ ขอมูล

1 1. เลอื กชัน้ ขอมลู ทตี่ องการปรับแตง ความสวาง ความคมชัด และคลิกขวาท่ีเมาส เลือกคําสง่ั Properties…

 67 

- 67 -

2 3 4

2. จะปรากฏหนาตา ง Layer Properties ขึน้ มา เลือกแถบ Symbology 3. ทาํ การปรับแตงชั้นขอมูลโดย

Brightness = ความสวาง และ Contrast = ความคมชัด 4. เลือก Apply และ เลอื ก OK  การปรบั ความโปรงแสงของชนั้ ขอมูล

1 1. เลอื กชน้ั ขอมูลท่ีตองการปรับความโปรงแสง และคลิกขวาที่เมาส เลือกคําสั่ง Properties…

- 68 -

3

2

4 2. เลอื กแถบ Transparency 3. ปรบั ความโปรง แสงท่ี Global Opacity โดย

100% = ทบึ แสง และ 0% = โปรงแสง 4. เลอื ก Apply และ เลอื ก OK 3.5.3 การนําเขาขอมูลประเภทไฟล CSV CSV ยอมาจาก Comma Separated Value เปนไฟลขอความประเภทหนึ่ง ที่ใช สําหรับเกบ็ ขอมูลในรูปแบบตาราง ใชเครื่องหมายจุลภาค หรือคอมมา (,) ในการแบงแตละคอลัมน โดยปกติเราสามารถบันทึกไฟลจาก Microsoft Excel ออกมาเปนไฟล CSV ไดโดยตรง หรือ อาจได ไฟล CSV จากการ export ไฟลจ ากระบบฐานขอมูลอ่ืน ๆ เชน export ออกจากเครือ่ งควบคุม (Controller) จากการรบั สญั ญาณดาวเทียม เปนตน ขน้ั ตอนการนาํ เขาสามารถดําเนินการได ตามขั้นตอนดังตอไปน้ี

- 69 -

2 3 1

1. เลอื กคาํ สั่ง Add Delimited Text Layer 2. จะปรากฏหนา ตา ง Data Source Manager I Delimited Text ขน้ึ มา 3. เลือก Browse เพ่อื เลือกไฟล CSV ทต่ี อ งการ

4

5

4. เลือกไฟลข อมลู CSV ที่ตองการนาํ เขา 5. เลือก Open

- 7700 - 6

7

8 9

6. เลอื กการเขารหัสของตัวอักษร (Encoding) ซึ่งตัวท่ีอานภาษาไทยได ก็จะมี UTF8 และ TIS620 หรือจะเลือกเปนแบบ systems ก็ได

7. ทาํ เครอื่ งหมาย  หนา CSV (comma separated values) 8. หวั ขอ Geometry Definition ใหทําเครื่องหมาย  หนา Point coordinates

 ชอง X field เลือกใหเ ปน คา X_coor หรือคาพิกดั E  ชอง Y field เลือกใหเปน คา Y_coor หรือคาพิกดั N 9. เลอื กคาํ สัง่ Select CRS เพอื่ กําหนดระบบอางอิงภูมิศาสตร

 71 

- 71 -

10

11 12

10. ที่หนาตาง Coordinate Reference System Selector ในชอง Filter ใหพิมพ รหัส EPSG เพอื่ กําหนดระบบอา งอิงภมู ศิ าสตร โดยสามารถดูไดจ ากหวั ขอ 3.4.1

11. เลือกระบบอางองิ ภมู ิศาสตรทปี่ รากฏข้นึ มาใหเปนแถบสีฟา 12. เลือก OK

14 13

13. เลอื ก Add 14. เลอื ก Close

- 7722 -

15

15. จะปรากฏเปน จดุ ข้นึ ตามคา พิกัดที่นําเขามา ดังรปู 3.5.4 การนาํ เขาขอ มูลจากโปรแกรม DOLCAD

3.5.4.1 การสงออกขอมูล Shape File ออกจากโปรแกรม DOLCAD การสงออกขอ มูล Shape File ออกจากโปรแกรม DOLCAD จะตองเปนงาน

UTM (ช้ัน 1) โดยสามารถดาํ เนินการได ตามขั้นตอนดังตอไปน้ี

1

2 3 4

1. เปดโปรแกรม DOLCAD จากนัน้ เลือก คนหางาน 2. ทําเครือ่ งหมาย  หนา UTM (ชั้น 1) ท่ีหนาตา ง SVCPINF002 (คนหางานรังวดั )

- 7733 -

3. เลอื กงานชน้ั 1 ท่ตี องการสงออก Shape File (บรรทัดสเี ขยี ว) 4. คลกิ เลอื ก

5

6 5. จะปรากฏงานที่เราตองการขึ้นมา จากน้นั เลอื กฟงกช ัน นาํ เขา/สง ออก 6. จะปรากฏหนาตาง SVCPINF003 (นําเขา/สงออก ขอมูล) ขึ้นมา จากน้ัน เลือก สงออก  Shape File

7 8

7. จะปรากฏหนาตางสงออกขอมูลงานรังวัดขึ้นมา ทําเคร่ืองหมาย  ช่ือไฟล ตามท่ีตอ งการสง ออก

8. เลอื กสงออกขอ มลู

- 74 -

9

10

9. เลอื กท่เี ก็บ Shape File 10. จากนน้ั เลือก Save

11 11. เมื่อทําการสงออกขอมูลรูปแบบ Shape File เสร็จเรียบรอยแลว เลือก OK จากนนั้ ออกจากโปรแกรม DOLCAD

- 75 -

3.5.4.2 การนาํ Shape File จากโปรแกรม DOLCAD เขา โปรแกรม QGIS ขอมูล Shape File ท่ีสงออกจากโปรแกรม DOLCAD เปนขอมูลประเภท

เชงิ เสน (Vector) ดังนนั้ การนําเขา จึงใชคาํ ส่งั เดียวกันกับขอ มูลประเภทเชิงเสนแบบอื่น ๆ โดยสามารถ ดาํ เนนิ การได ตามขั้นตอนดังตอไปน้ี

12

1. เลือกคําสัง่ Add Vector Layer… 2. จะปรากฏหนา ตาง Data Source Manager I Vector ขนึ้ มา

34 5

3. ทําเครอื่ งหมาย  หนา File 4. เลือกการเขารหัสของตัวอักษร (Encoding) ซึ่งตัวที่อานภาษาไทยได ก็จะมี UTF8 และ TIS620 หรอื จะเลอื กเปนแบบ systems กไ็ ด 5. เลอื ก Browse ไปหาทีเ่ ก็บไฟลข อมูล DOLCAD ท่ตี อ งการนําเขา

- 76 -

6 7 6. จะปรากฏหนาตาง Open OGR Supported Vector Dataset(s) ข้ึนมา เลือก Shape File ตามตําแหนง ทีเ่ กบ็ ไวในหวั ขอ 3.5.4.1 (ขอ ท่ี 9) (ในกรณีนีเ้ ลือกเปนรปู ปด Polygon) 7. จากนน้ั เลือก Open

98 8. เลือก Add ทีห่ นาตาง Data Source Manager I Vector 9. เลือก Close เพือ่ ปด หนา ตาง Data Source Manager I Vector

- 77 -

10

10. จะไดรูปแปลงทด่ี นิ เปน รูปปด Polygon บนแผนท่ใี นโปรแกรม QGIS ดงั รูป 3.5.5 การนําเขาขอมูลประเภท Web Map Service

ขอมูลประเภท Web Map Service เปนการดึงขอมูลมาจากระบบใหบริการขอมูล ภูมิสารสนเทศผานเครือขาย Internet ซ่ึงมีมาตรฐานกําหนดและสรางข้ึนโดย Open GIS Consortium (OGC) ทไี่ ดก าํ หนดการบรกิ ารขอ มูลภมู สิ ารสนเทศใน Format ตาง ๆ ประกอบดวย PNG, GIF, JPEG และ ชน้ั ขอมลู ประเภทแผนที่ภาพถายดาวเทยี ม

ขนั้ ตอนการนําเขาขอ มลู แผนทภี่ าพถายดาวเทียม Google Satellite ดวย Plugin : HCMGIS

Plugin : HCMGIS เปน Plugin ท่ีมฐี านขอ มูลแผนที่ภาพถายดาวเทียมตาง ๆ ทสี่ ามารถดูเพื่อเปนแนวทางในการทํางาน หรือศึกษาขอมูลรวมกับงานภูมิสารสนเทศท่ีเราทํางานได การนําเขา ขอมูลแผนท่ภี าพถา ยดาวเทียม Google Satellite ดว ย Plugin : HCMGIS สามารถดําเนินการได ดังน้ี

- 7788 - 1

1. ตดิ ต้งั Plugin : HCMGIS สําหรับโปรแกรม QGIS ใหไปท่ี แถบเมนู Plugins จากนั้น เลือก Manage and Install Plugins… ดังรปู

2 2. จะปรากฏหนาตาง Plugins ขึน้ มา ใหทําการติดต้ัง Plugin : HCMGIS โดยพิมพ “HCMGIS” ในชองคนหา จากน้ัน เลือก HCMGIS แลวเลือก Install Plugin รอสักครู เม่ือเสร็จแลว ใหเลือก Close เพอ่ื ปดหนาตา ง Plugins

- 7799 -

3

3. หลังจากตดิ ตัง้ Plugin : HCMGIS เสร็จแลว ท่ี Menu Bar จะปรากฏเมนู HCMGIS เพิม่ ขึ้นมา ใหเ ลอื กเมนู HCMGIS แลวไปที่ BaseMap จากน้นั เลือก Google Satellite Hybrid

4 4. จะปรากฏหนาตาง Select Transformation for Google Satellite เพ่ือเลือก การแปลงระบบพ้ืนหลักฐานแผนท่ี โดยใหเลือก Inverse of Popular Visualisation PseudoMercator + Inverse of Indian 1975 to WGS 84 (2) + UTM zone 48N และดูที่ Scope : For military purposes จากนัน้ เลอื ก OK

- 80 -

5 5. จะไดช ัน้ ขอมลู ภาพถา ยดาวเทียม Google Satellite Hybrid มาใชง านได ดงั รปู

- 81 -

3.6 การตรึงคา พกิ ัดภมู ิศาสตร (Registration) การตรงึ คา พกิ ดั ภมู ศิ าสตร (Registration) คือ กระบวนการกําหนดพิกัดโลกแหงความเปนจริง

ใหก ับแตละพิกเซลของขอมูลเชิงภาพ (Raster) โดยพิกัดเหลาน้ีไดจากการทําแบบสาํ รวจภาคสนาม รวบรวมพิกัดดวยอปุ กรณ GPS เพือ่ ระบคุ ุณสมบัติท่สี ามารถระบไุ ดง า ยในภาพหรือแผนที่ เชน การทํา GCPs (Ground Control Points) สําหรับในงานบริหารจัดการท่ีดินสามารถใชการตรึงคาพิกัดภูมิศาสตร ในการตรึงแผนท่แี นบทา ยกฤษฎีกา การตรงึ ภาพจาก ร.ว. 9 ในงานรงั วดั ช้นั 2 เพ่ือจัดทาํ รูปแผนที่ เปนตน

ในการตรงึ คาพิกัดภูมิศาสตร เราใชเคร่ืองมือที่เรียกวา Georeferencer... โดย Georeferencer เปนเครื่องมือสาํ หรับสรางไฟลของขอมูลเชิงภาพ (Raster) ใหผูใชงานสามารถอางอิงขอ มลู เชงิ ภาพ (Raster) ไปยังระบบทางภมู ิศาสตรท ่ีเกี่ยวของโดยการสรางไฟล GeoTiff ใหม โดยการเพิ่มไฟลลงในภาพ ที่มีอยู วิธกี ารพน้ื ฐานในการกําหนด Georeferencer ในขอมูลเชิงภาพ (Raster) สามารถดําเนินการได ตามขัน้ ตอนดงั ตอไปน้ี

1

1. ท่ี Menu Bar เลอื ก Raster จากน้นั เลอื กคําสัง่ Georeferencer…

 82 

- 82 -

2

2. จะปรากฏหนาตาง Georeferencer ใหเลือกฟงกชัน Open Raster เพ่ือเปด ไฟลร ปู ภาพที่จะทาํ การตรึงคาพิกัด (กรณีไมมีฟงกชัน Open Raster ใหไปที่ File แลว เลือก Open Raster)

3 4

5 3. จะปรากฏหนา ตาง Open Raster ขนึ้ มา ใหเ ลือกตาํ แหนง ทเ่ี กบ็ ไฟลร ูปภาพ 4. เลือกไฟลร ปู ภาพท่ตี องการตรงึ คา พิกดั ภมู ิศาสตร 5. เลือก Open

 83 

- 83 -

6 6. ภาพจะถกู เปด ขน้ึ มา ใหทาํ การตรงึ ภาพ โดยเลอื กที่ฟงกชัน Add Point

7 7. ขยายภาพไปยังตําแหนงที่เราทราบคาพิกัด จากน้ัน เล่ือนตาํ แหนงของเมาสไปจุดที่ ทราบคา และคลิกซา ยทเ่ี มาส (ตําแหนงเมาสจ ะตอ งแนบสนิทกับตาํ แหนงของกริดที่ทราบคา พิกดั )

- 8844 -

8 9

8. ปอนคาพิกัด โดยปอนคาทิศเหนอื ลงในชอง Y / North และคาทศิ ตะวนั ออกในชองคา X / East 9. เลอื ก OK จากน้ัน ทาํ ซํ้าขอ 79 จนครบทุกจดุ ทท่ี ราบคา พิกดั ในภาพ (ควรมีอยา งนอย 4 จดุ )

10 11

10. จดุ ท่ีเราทาํ การตรงึ คาพิกัดแลว จะปรากฏเปน จดุ สีแดง 11. จุดทเ่ี ราทาํ การตรงึ คาพิกัดแลว จะแสดงรายละเอียดการแปลงคาพิกัดจากพิกัดเดิม (Source X, Y) ไปเปนพิกัดใหม (Dest. X, Y) ในตาราง GCP table

- 8855 -

13

12

12. เม่ือทาํ การตรึงคาพิกัดครบทุกจุดแลว ใหไปที่แถบ Tool Bar จากน้ัน เลือกคําส่ัง Transformation Settings

13. จะปรากฏหนาตา ง Transformation Settings ขึน้ มา 14

14. ในหัวขอ Transformation Parameters ใหท าํ การเลือกสวนตา ง ๆ ดังน้ี  Transformation type = Polynomial 1  Resampling method = Nearest Neighbour  Target SRS ใหเลือก Select CRS เพอ่ื กาํ หนดระบบอา งอิงภมู ิศาสตร

- 8866 -

15

16

17 15. ที่หนาตาง Coordinate Reference System Selector ในชอง Filter ใหพิมพ รหสั EPSG เพือ่ กาํ หนดระบบอา งองิ ภูมศิ าสตร โดยสามารถดูไดจ ากหวั ขอ 3.4.1 16. เลือกระบบอา งอิงภูมิศาสตรท ี่ปรากฏขึน้ มาใหเปนแถบสฟี า 17. เลอื ก OK

18

18. ในหวั ขอ Output Settings ใหทาํ การเลือกสว นตาง ๆ ดงั น้ี

คาพกิ ัดแลว  Output raster ใหก ด Browse เพื่อเลือกท่ีจัดเก็บไฟลภาพใหมท่ีทําการตรึง  Compression = None

- 8877 -

19 19. เลือก Save ทห่ี นาตาง Destination Raster (โดยปกติหลังจากเลือก Browse โปรแกรมจะเลือกท่ีเก็บไฟลและต้ังชื่อไฟลใหมให อัตโนมัติ โดยเก็บที่เดียวกับไฟลรูปที่เราเลือกกอนทําการตรึง และชื่อไฟลใหมจะเปนช่ือเดิมแตมี _modified ตอ ทาย) 20

21 20. ในหวั ขอ Reports ใหทําการเลือกสว นตา ง ๆ ดังน้ี

 ทาํ เคร่ืองหมาย  หนา ขอ ความ Load in QGIS when done 21. เลือก OK

 88  23

- 88 -

22 24

22. ที่หนาตาง Georeferencer เลอื กฟงกชัน Start Georeferencing เพื่อประมวลผล 23. เลือก Close เพื่อปด หนา ตาง Georeferencer 24. จะปรากฏหนาตาง Save GCPs ข้ึนมา โดยจะเลือกจัดเก็บ (Save) หรือไมจัดเก็บ (Discard) กไ็ ด ในกรณนี ี้เลือกไมจ ดั เก็บ (Discard)

25 26

25. จะปรากฏชั้นขอมูลที่ทําการตรึงคาพิกัดบน Layers Panel เลือกชั้นขอมูล และ คลิกขวาทีเ่ มาส เลือก Zoom to Layer

26. ภาพที่ทําการตรงึ คาพิกัดแลว จะปรากฏขึน้ บน Map View

 89 

- 89 -

3.7 การสรางชน้ั ขอมูล และการดจิ ิไทซรูปแปลงทีด่ นิ (Digitizing) การสรางชั้นขอมูล และการดจิ ิไทซ (Digitizing) เปนวธิ ีการคัดลอกลายจากแผนที่ตนฉบับ

เชน ภาพถายดาวเทียม ภาพถายทางอากาศ แผนท่ีภูมิประเทศ และแผนที่โฉนดท่ีดิน เปนตน ซึ่งแผนที่ ดงั กลา วนี้ เปนขอ มลู เชงิ ภาพ (Raster) ทําใหอยูในระบบขอมูลเชิงเสน (Vector) ในรูปแบบจุด (Point) เสน (Line) หรอื พน้ื ที่ (Polygon) ดว ยระบบคอมพวิ เตอร

หลังจากการตรึงคาพิกัดภูมิศาสตร (Registration) กับขอมูลเชิงภาพ (Raster) ในหัวขอที่ 3.6 แลว หากตอ งการสรางชัน้ ขอมลู รปู แปลงทด่ี นิ ดังกลา ว สามารถดําเนนิ การได ตามข้นั ตอนดงั ตอไปน้ี

1

1. ที่ Menu Bar เลือกแถบ Layer จากน้ัน เลือกคําสัง่ Create Layer แลวเลือก New Shapefile Layer…

2

2. จะปรากฏหนาตาง New Shapefile Layer ขึ้นมา ที่ชอง File name ใหเลือก Browse เพือ่ ตงั้ ช่อื และท่ีเกบ็ ชั้นขอ มูลท่ีจะสรางข้ึนใหม

- 90 -

3 4

3. เลือกท่ีเก็บไฟลและตั้งชื่อไฟลที่จัดเก็บ โดยทั่วไปจะตั้งช่ือโดยอางอิงจากช่ือเดิมของ ขอมลู Raster แตเพิ่มตัว p นาํ หนา ซ่ึงยอมาจาก Pacel ดงั รปู

4. เลอื ก Save 5 6

5. ที่ File encoding ใหเลือกการเขารหัสของตัวอกั ษร (Encoding) ซึ่งตวั ทอ่ี านภาษาไทยได ก็จะมี UTF8 และ TIS620 หรอื จะเลอื กเปนแบบ systems ก็ได

6. ที่ Geometry type เปนการเลือกประเภทของขอมูลท่ีจะทําการสราง คือ จุด (Point หรือ MultiPoint) เสน (Line) หรือรูปปด (Polygon) ในกรณีน้ีรูปแปลงที่ดินเปนรูปปด จึงตองเลือก แบบ Polygon

- 91 -

7

7. เลอื ก Select CRS เพื่อกาํ หนดระบบอางองิ ภูมิศาสตร 8

9

10 8. ที่หนาตาง Coordinate Reference System Selector ในชอง Filter ใหพิมพรหัส EPSG เพือ่ กําหนดระบบอางองิ ภูมศิ าสตร โดยสามารถดูไดจากหัวขอ 3.4.1 9. เลอื กระบบอา งอิงภูมิศาสตรท ปี่ รากฏขน้ึ มาใหเปน แถบสีฟา 10. เลือก OK

- 9922 -

11 11. ท่หี นาตา ง New Shapefile Layer เลือก OK 13 14

12 12. ท่ี Layer Panel จะปรากฏช่อื ช้ันขอ มูลที่สรางขน้ึ มาใหม ใหคลิกชื่อช้ันขอมูลใหเปน แถบสฟี า 13. ที่แถบ Tool Bar เลอื กคําสง่ั Toggle Editing เพ่อื เริ่มทําการ Digitizing 14. ที่แถบ Tool Bar เลือกคําส่ัง Add Polygon Feature เพ่ือทาํ การสราง รูปปด (Polygon)

- 9933 -

15 15. เลื่อนตาํ แหนงเมาสไ ปทกี่ ง่ึ กลางหมุดแลว กดคลกิ ซาย ทําไลห มุดถัดไปจนครบท้ังรูปแปลง ทีด่ นิ โดยไมต องคลกิ ท่หี มดุ เรมิ่ ตน ซํา้ อกี จากน้นั ใหคลกิ ขวาเพือ่ จบการทํางาน

16 17

16. กรอกหมายเลขรูปแปลงท่ีดิน 17. เลือก OK