Subnet mask ค อ อะไร ม ประโยชน อย างไร

การแบ่ง Subnet ของ Class C

จานวนบติ ที่ใช้ Subnet Mask (เลขฐานสิบ) Prefix จานวนเครือข่าย จานวนเคร่ืองลูก

เป็ น Subnet ย่อย (Subnet) ข่าย (Host)

2 255.255.255.192 /26 4 62

3 255.255.255.224 /27 8 30

4 255.255.255.240 /28 16 14

5 255.255.255.248 /29 32 6

6 255.255.255.252 /30 64 2

Classless IP Address

• ในการใชง้ านไอพีแบบธรรมดา จะเห็นว่าสิ้นเปลืองไอพีจานวนมาก วิธีแกค้ ือ แบ่งไอพีเป็นแบบ Classless คือเอาจานวนบิตของ Net ID โดยไม่จาเป็นตอ้ งใช้ เป็นค่าดีฟอลต์ คือ 8, 16, 24 (Class A,B,C) อีกต่อไป โดยเราสามารถแบ่งได้ แบบอิสระ เช่น 203.146.86.0/24 เป็น IP Class C มี Net ID 24 บิต และ Host ID 8 บิต สามารถนาไปจ่ายใหเ้ ครื่องลูกข่ายได้ 254 เคร่ือง ถา้ หากหน่วยงานที่ใชม้ ี สาขาย่อยอยู่ต่างจงั หวดั เราสามารถแบ่งไอพีออกเป็ นส่วนย่อย ๆ เพื่อให้สาขา ต่างจงั หวดั นาไปใชง้ านกส็ ามารถทาไดเ้ ช่นกนั เช่น

– Network address 203.146.86.0

– Subnet mask 255.255.255.192(/26)

Private IP Address

• เรียกกนั ว่าไอพีปลอม หรือไอพีภายใน ถูกนามาใชส้ าหรับองค์กรท่ีไม่ได้ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ไอพีปลอมน้ันปัจจุบนั ถูกนามาใชง้ านในการจ่ายให้ เคร่ืองลูกข่ายในองคก์ ร เช่น

– ร้านอินเทอร์เน็ตคาเฟ่ – ทาเป็นระบบ NAT ในการจ่ายไอพีใหเ้ คร่ืองลกู ข่ายในองคก์ ร – ใชท้ าระบบ Intranet ใชง้ านในองคก์ ร

Class Range of IP A 10.0.0.0 to 10.255.255.255 B 172.16.0.0 to 172.31.255.255 C 192.168.0.0 to 192.168.255.255

Public IP Address

• เรียกกนั วา่ ไอพีจริง หรือไอพีภายนอก ถูกนามาใชส้ าหรับองคก์ รท่ี เช่ือมต่ออินเทอร์เน็ต ไอพีจริงน้นั ปัจจุบนั กาลงั จะหมด จึงมีแผนที่ จะนาไอพีระบบใหม่ คือ IPv6 มาใชง้ านแทน

การต้งั Server ให้บริการดา้ นต่างๆ บนอินเตอร์เน็ต จาเป็ น จะตอ้ ง ใช้ ไอพีจริงในการระบุ การเช่ือมต่อจากผูใ้ ชบ้ ริการที่มา จากอินเตอร์เน็ต

โดยไอพีจริง จะถูกจัดสรรมาจากผูใ้ ห้บริการอินเตอร์ เน็ต (ISP) ท่ีใชบ้ ริการ

ADSL & VDSL

• ADSL ยอ่ มาจากคาวา่ Asymmetric Digital Subscribers Line คือเทคโนโลยีการส่ือสารขอ้ มูลความเร็วสูงแบบใหม่ซ่ึงทา ให้สามารถเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตและเครือข่ายระยะไกลได้ ดว้ ยความเร็วสูงโดยใชค้ ู่สายโทรศพั ทธ์ รรมดา

ความเร็วของ ADSL เป็ นอย่างไร

• เทคโนโลยี ADSL มีความเร็วในการรับขอ้ มูล (Downstream) และ ความเร็วในการส่งขอ้ มูล (Upstream) ไม่เท่ากนั โดยมีความเร็วใน การรับขอ้ มูล สูงกวา่ ความเร็วในการส่งขอ้ มูลเสมอ เทคโนโลยี ADSL มีความเร็วในการรับขอ้ มูลสูงสุด 8 เมก็ กะบิตต่อวินาที (Mbps) และความเร็วในการส่งขอ้ มูลสูงสุดที่ 640 กิโลบิตต่อวนิ าที (Kbps.) ความเร็วอาจเริ่มต้งั แต่ 128/64, 256/128, 512/256 เป็นตน้ โดยความเร็วแรกเป็นความเร็วขารับขอ้ มูล

การทางานของADSL จากชุมสายโทรศัพท์ถึงบ้านผู้ใช้งาน

• การทางานของ ADSL โมเด็มจะเกิดข้ึนระหว่างชุมสายโทรศพั ท์ (Central Office) โดยผูใ้ ห้บริการ จะตอ้ งติดต้งั อุปกรณ์รวมสัญญาณ เรียกวา่ DSLAM (DSL Access Multiplexer) ในทุกๆ ชุมสายท่ีใหบ้ ริการ ซ่ึงจะทาหน้าท่ีรวมสัญญาณจากผูใ้ ช้งาน ในชุมสายโทรศัพท์น้ันๆ จากน้นั ขอ้ มลู จะถูกส่งผา่ น เครือข่ายดิจิตอลความเร็วสูง ไปยงั ศูนยก์ ลาง ของผูใ้ ห้บริการ (ดูภาพประกอบ) และจากน้นั ผูใ้ ห้บริการ ADSL ก็จะ เช่ือมต่อไปยงั ผูใ้ ห้บริการขอ้ มูล (Service Provider) เช่น ISPs หรือ เครือข่ายขององคก์ ร

คุณสมบตั ขิ องเทคโนโลยี ADSL มอี ะไรบ้าง

• ความเร็วสูง เทคโนโลยี ADSL มีความเร็วสูงกว่าโมเด็มแบบ 56K ธรรมดากวา่ 5 เท่า (256 Kbps.) หรือสูงสุดกว่า 140 เท่าท่ีความเร็ว 8 Mbps. การเชื่อมต่อแบบ Always On สามารถเช่ือมต่อ อินเตอร์เน็ตไดต้ ลอดเวลา เหมาะสาหรับการใชง้ านอยา่ งต่อเนื่อง ตลอดเวลา ค่าใชจ้ ่ายคงที่

• อตั ราท่ีประหยดั ค่าใชจ้ ่ายเป็นแบบเหมาจ่ายรายเดือนแบบไม่จากดั เวลา ในราคาเร่ิมตน้ ที่ประหยดั ไม่ตอ้ งเสียค่าเช่ือมต่อโทรศพั ทต์ ่อ คร้ัง

เราสามารถใช้ประโยชน์อะไรได้บ้างจากบริการอนิ เตอร์เน็ต ความเร็วสูง ADSL

• รับและส่งไฟลข์ อ้ มูลขนาดใหญ่ไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว • การดาวนโ์ หลดซอฟตแ์ วร์จากอินเตอร์เน็ต • การดู VDO streaming และ การประชุมทางไกล VDO conferencing • การประยกุ ตใ์ ชส้ าหรับการรักษาความปลอดภยั ของบา้ น และการมอนิเตอร์

สถานท่ีต่าง ๆ จากระยะไกล โดยใช้ IP Camera เช่ือมต่อผา่ น ADSL • การเชื่อมต่อระหวา่ งสานกั งานดว้ ยกนั ในราคาท่ีประหยดั • การสารองขอ้ มลู จากสานกั งาน หรือจากอินเตอร์เน็ต • การเล่นเกมส์ออนไลนท์ ี่เร็วและสนุกกวา่ เดิม

การประยกุ ต์ใช้ ADSL

• เนื่องจาก ADSL เป็นเทคโนโลยที ่ีมีความเร็วในการรับ-ส่งขอ้ มูลสูง การใชง้ านสะดวกสบายและประหยดั ADSL จากตารางจะเห็นว่า ADSL สามารถรองรับการทางานไดท้ ุกรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็ นการ สื่อสารข้อมูลธรรมดา เช่น การใช้งานอินเตอร์เน็ต, การทางาน ทางไกล, จนกระทง่ั ข้อมูลท่ีเต็มไปดว้ ยภาพและเสียง ซ่ึงมกั จะ ตอ้ งการความเร็วสูงๆ เช่น การประชุมทางไกลกลุ่มผ่านจอภาพ, Video on Demand หรือ Video Catalog ท่ีกาลงั จะเกิดข้ึนในอนาคต ซ่ึงอาจจะตอ้ งการความเร็วถึง 1.5 - 6 Mbps. หรือแมก้ ระทง่ั การใช้ งานเป็ นวงจรเชื่อมโยงสานกั งานสาขา หรือเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ จากที่บ้านเข้ามาที่สานักงาน หรือท่ีเรียกว่าWorkHomeก็เป็ นได้

การประยกุ ต์ใช้งาน ADSL ทใ่ี ห้บริการในปัจจุบนั

• Internet Access ในปัจจุบนั ผใู้ หบ้ ริการ ADSL ในประเทศไทยจะเนน้ การ ให้บริการ เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตเป็ นหลัก หรือท่ีเรี ยกว่า อินเตอร์เน็ต ความเร็วสูง โดยผูใ้ ช้งานสามารถท่อง อินเตอร์เน็ตไดท้ ่ีระดับความเร็ว ต้งั แต่ 64 Kbps ข้ึนไป ซ่ึงอาจจะถึง 12Mbps. ซ่ึงผใู้ หบ้ ริการ จะคิดค่าบริการ ตามระดบั ความเร็ว ยงิ่ ความเร็วสูงข้ึน ราคาก็จะสูงข้ึนดว้ ย และบางที่อาจจะ มี ก า ร จ า กัด ช่ั ว โ ม ง ก า ร ใ ช้ ง า น ห รื อ จ า น ว น ข้อ มู ล ท่ี รั บ - ส่ ง การใช้บริการอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงดว้ ย ADSL นอกจากความเร็วที่ ผู้ใช้งานจะได้รับแล้ว การใช้งานในแต่ละคร้ัง ก็ไม่จาเป็ นต้องหมุน โทรศพั ทจ์ ึงไม่เสียค่าโทรศพั ท์ ไม่มีปัญหาสายหลุด และปัญหาสายไม่ว่าง อีกดว้ ย ทาให้ผูใ้ ชง้ านได้รับท้งั ความสะดวกและประหยดั เป็ นอย่างมาก

การประยกุ ต์ใช้งาน ADSL ทใ่ี ห้บริการในปัจจุบนั (ต่อ)

• VPN คือการเชื่อมต่อจากจุดหน่ึงไปยงั อีกจุดหน่ึง โดยผ่านเครือข่าย ADSL เช่น บริษทั ที่อนุญาติให้ พนกั งานสามารถเชื่อมต่อ เขา้ สู่เครือข่าย ภายในของบริษทั จากท่ีบา้ น หรือ เชื่อมต่อสานกั งานใหญ่ กบั สานกั งาน สาขา โดยผา่ นเครือข่าย ADSL ซ่ึงการใชบ้ ริการใชบ้ ริการในลกั ษณะน้ี จะสามารถทดแทนระบบ Remote Access แบบ Dial-up ได้ และลกั ษณะ การใชง้ านจะคลา้ ยกบั การใชว้ งจรเช่า Leased Line หรือ Frame Relay แต่ ADSL จะมีตน้ ทุนต่ากว่ามาก โดยผูใ้ ช้งานสามารถเลือกระดับ ความเร็วได้ ตามตอ้ งการ แต่ก็ตอ้ งยอมรับว่า วงจรเช่าอาจจะมีความ น่าเช่ือถือสูงกวา่

VDSL ( Very high bit rate Digital Subscriber Line )

• VDSL เป็ นเทคโนยขี องโมเดม็ ทท่ี ำใหผ้ ู้ใหบ้ รกิ ำรโทรศัพท์ สำมำรถใหบ้ ริกำรทม่ี อี ตั รำเร็วในกำรส่งข้อมูล VDSL ย่อมำจำก Very high bit rate Digital Subscriber Line เป็ นเทคโนโลยขี อง โมเดม็ ทท่ี ำใหผ้ ู้ใหบ้ รกิ ำรโทรศัพทส์ ำมำรถใหบ้ รกิ ำรทมี่ อี ตั รำเร็ว ในกำรส่งขอ้ มูลไดใ้ นระดบั หลำย เมกกะบดิ ตอ่ วนิ ำทไี ด้ โดยสง่ ไป ยังผใู้ หบ้ ริกำรผ่ำนทำงข่ำยสำยทองแดง ไฟเบอรอ์ อฟตกิ ทม่ี ีอยู่ แลว้ ได้ VDSL จะคล้ำยเทคโนโลยี xDSL อน่ื ๆ ในลกั ษณะทจี่ ะเพม่ิ ควำมสำมำรถของสำยโทรศัพทท์ เี่ ป็ นสำยทองแดงใหส้ ำมำรถส่ง ข้อมูลบรอดแบนดแ์ ละเสยี งได้

VDSL ( Very high bit rate Digital Subscriber Line )

• อยำ่ งไรกต็ ำม VDSL จะแตกตำ่ งตรงทส่ี ำมำรถส่งอัตรำบติ ข้อมูลสูง กว่ำมำกได้ โดยสูงกว่ำแม้แตอ่ ัตรำเร็วสูงสุดของ ASDL ทที่ ำไดใ้ น ปัจจบุ ัน ตัวอย่ำงเช่น โมเดม็ VDSL ในปัจจบุ ันสำมำรถส่งอัตรำข้อมูล ในทศิ ทำง Downstream 52 Mb/s Upstream 13Mb/s ทงั้ นีข้ ึน้ อยกู่ ับ ระยะทำงหรอื ควำมยำวสำยทองแดงและกำรจัดกำร Configuration ของโมเดม็ ด้วย VDSL ถกู ออกแบบใหใ้ ช้ในระยะทำงของสำยทองแดง สั้นๆ (ได้มำกถงึ 1.5km) แตเ่ รื่องนีไ้ ม่ใช่เป็ นปัญหำอุปสรรคใดๆ VDSL ถูกออกแบบใหใ้ ช้กับบำงส่วนของข่ำยสำยไฮบรดิ ซง่ึ ประกอบด้วย สำยไฟเบอรท์ เี่ ดนิ จำกชุมสำยมำตู้ OUN (Optical Network Unit )ทอี่ ยู่ รมิ ถนนหรืออยดู่ ้ำนล่ำงของอำคำร ซง่ึ จะตอ่ คู่สำยทองแดงกระจำยไป ยงั ผู้ใช้ปลำยทำงต่อไป

VDSL ( Very high bit rate Digital Subscriber Line )

• เทคโนโลยี VDSL มีกำร รับ – สง่ ขอ้ มูลดว้ ยอัตรำเรว็ สูงโดยใช้ สำยทองแดงของโทรศัพท์ เปรยี บไดก้ บั เสำอำกำศทใี่ ช้คลนื่ ควำมถเี่ ดยี วกนั

• เทคโนโลยี VDSL น้ันสัญญำณรบกวนตำ่ งๆ (Noise) มีผลกบั กำร ใชง้ ำนน้อยมำก แตจ่ ะกระจำยคลน่ื ควำมถวี่ ทิ ยุไปรบกวนระบบ อนื่

Network topology for VDSL over POTS

ประโยชนก์ ำรนำเทคโนโลยี VDSL ไปใชง้ ำน

• Internet/Intranet Access • Web browsing vs hosting • E-mail • Remote LAN • Transaction processing • IP telephony • Call center services • Video telephony (video conference) • High-definition TV • Video-on-demand • Leased line backup

• ฮบั [Hub] หรือบางทีก็เรียกวา่ “รีพีทเตอร์[Repeater]” คือ อุปกรณ์ที่ ใชเ้ ชื่อมต่อกลุ่มของคอมพิวเตอร์ ฮบั มีหน้าที่รับส่งเฟรมขอ้ มูลทุก เฟรมท่ีได้รับจากพอร์ตใดพอร์ตหน่ึงไปยงั ทุกๆ พอร์ตท่ีเหลือ คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเขา้ กบั ฮบั จะแชร์แบนดว์ ิธหรืออตั ราขอ้ มูล ของเครือข่าย

69

• สวิตช์ [Switch] คือ อุปกรณ์เครือข่ายที่ทาหน้าท่ีในเลเยอร์ที่ 2 สวิตชบ์ างทีก็เรียกวา่ “สวิตช่ิงฮบั [Switching Hub]” ซ่ึงในช่วงแรก น้นั จะเรียกวา่ “บริดจ์ [Bridge]” เหตุที่เรียกว่าบริดจใ์ นช่วงแรกน้นั เพราะส่วนใหญ่บริดจจ์ ะมีแค่สองพอร์ต และใชส้ าหรับแยกคอลลิ ชนั โดเมน

70

VLAN

VLAN (Virtual Local Area Network) หมายถึง กลุ่มของคอมพิวเตอร์ท่ีอยู่ ในบรอดคาสตโ์ ดเมน (Broadcast Domain) เดียวกนั โดยคอมพิวเตอร์เหล่าน้ี อาจจะอยู่คนละ LAN เซ็กเมนต์ก็ได้ VLAN เป็นโปรโตคอลท่ีทางานในเล เยอร์ที่ 2 และเป็ นเทคโนโลยีใหม่ท่ีพฒั นาเพ่ือควบคุมการบรอดคาสต์ใน เครือข่าย ที่ผ่านมาการควบคุมบรอดคาสต์ในเครือข่ายจะใชเ้ ราเตอร์เพราะ เร้าทเ์ ตอร์จะไม่ส่งต่อแพก็ เกต็ ประเภทบรอดคาสต์ แต่สวิตซ์หรือฮบั จะส่งต่อ การใชเ้ ร้าทเ์ ตอร์ในการควบคุมการบรอดคาสต์ในเครือข่ายน้นั อาจชว่ ยเพิ่ม ประสิทธิภาพของเครือข่ายได้ แต่ถา้ มีเร้าท์เตอร์จานวนมากอาจทาให้การ รับส่งแพก็ เกต็ ชา้ ลงได้ ขอ้ ดีของการใชเ้ ลเยอร์ 2 สวติ ซ์ คือ การรับส่งแพก็ เก็ต จะเร็วกว่าเร้าท์เตอร์ แต่ไม่สามารถควบคุมการบรอดคาสต์ในเครือขา่ ยได้ ดงั น้นั จึงไดม้ ีการพฒั นา VLAN ข้ึนมาเพอื่ ใหเ้ ลเยอร์ 2 สวติ ซ์สามารถควบคุม การบรอดคาสในเครือข่ายได้

VLAN

Logical Broadcast Domain

Switch Hub Switch Hub VLAN A Switch Hub VLAN B Hub Hub Hub

Hub Switch Hub VLAN A Hub Hub Workstation VLAN B Hub Hub

Workstation

Router VLAN A Router

Traditional LAN VLAN

บรอดคาสต์โดเมน (Broadcast Domain)

• บรอดคาสต์โดเมน (Broadcast Domain) หมายถึง กลุ่มของ คอมพิวเตอร์ท่ีเชื่อมต่อกนั ดว้ ยสวิตซ์เลเยอร์ที่ 2 และเมื่อมีแพก็ เกต็ ประเภทบรอดคาสต์ คอมพิวเตอร์ทุกเครื่ องได้รับแพ็กเก็ตน้ี ท้งั หมดบรอดคาสต์แพ็กเก็ต หมายถึง แพ็กเก็ตที่มีอยู่ของเคร่ือง ปลายทางเป็ นหมายเลขบรอดคาสต์

ข้อดขี อง VLAN

• เพ่ิมประสิทธิภาพของเครือข่ายในระบบเครือข่ายทวั่ ไปจะมีการส่งขอ้ มูล Broadcast จานวนมาก ทาใหเ้ กิดความคบั คง่ั ( Congestion )และ VLAN มีความสามารถช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพของเครือข่ายไดเ้ น่ืองจาก VLAN จะจากดั ใหส้ ่งขอ้ มูล Broadcast ไปยงั ผู้ ที่อยใู่ น VLAN เดียวกนั เท่าน้นั

• ง่ายต่อการบริ หารการใช้งาน VLAN อานวยความสะดวกในการบริหารจัดการ โครงสร้างของระบบเครือข่ายใหง้ ่าย มีความยืดหยนุ่ และเสียค่าใชจ้ ่ายนอ้ ย โดยเพียง เปล่ียนโครงสร้างทางตรรกะ( Logical) เท่าน้นั ไม่จาเป็ นตอ้ งเปล่ียนโครงสร้างทาง กายภาพ กล่าวคือ ถา้ ตอ้ งการเปลี่ยนโครงสร้างของ VLAN ก็ทาโดยการคอนฟิ กท่ี อุปกรณ์เครือข่ายใหม่ ไม่จาเป็นเปลี่ยนรูปแบบทางกายภาพของการเชื่อมต่อเครือข่าย ที่มีอยเู่ ดิม

• เพิ่มการรักษาความปลอดภยั มากข้ึนเนื่องจากการติดต่อระหว่างอุปกรณ์เครือข่ายจะ สามารถทาไดภ้ ายใน VLAN เดียวกนั เท่าน้นั ถา้ ตอ้ งการท่ีจะติดต่อขา้ ม VLAN ตอ้ ง ติดต่อผา่ นอปุ กรณ์คน้ หาเส้นทางหรือสวิตชเ์ ลเยอร์ 3

ข้อเสียของ VLAN

• ถา้ เป็ นการแบ่ง VLAN แบบ Port-based น้บั จะมีขอ้ เสียเมื่อมีการ เปลี่ยนพอร์ตน้นั อาจจะตอ้ งทาการ Configuration VLAN ใหม่

• ถา้ เป็นการแบ่ง VLAN แบบ MAC-based น้นั จะตอ้ งใหค้ ่าเร่ิมตน้ ของ VLAN membership ก่อน และปัญหาที่เกิดข้ึนคือในระบบเครือข่ายท่ี ใหญ่มาก จานวนเครื่องนับพันเครื่องนอกจากน้ีถ้ามีการใช้เครื่อง Notebook ดว้ ย ซ่ึงกจ็ ะมีค่า MAC และเม่ือทาการเปลี่ยนพอร์ตท่ีต่อก็ ตอ้ งทาการ Configuration VLAN ใหม่

• ถา้ เป็ นการแบ่ง VLAN แบบ Tag-base จะไม่สามารถส่งขอ้ มูลขา้ ม ระหวา่ ง VLAN ได้ หากไม่มีอุปกรณ์ Router หรือ L3 Switch

ชนิดของ VLAN

• Layer 2 VLAN : Ports-based

ในการแบ่งVLAN จะใชพ้ อร์ตบอกวา่ เป็นของ VLAN ใด เช่นสมมุติวา่ ในสวติ ช์ที่มี 4 พอร์ต กาหนดให้ พอร์ต 1, 2 และ 4 เป็นของ VLAN เบอร์ 1 และพอร์ตท่ี 3 เป็นของVLAN เบอร์ 2

Port VLAN 11 21 32 41 5 1,2

ชนิดของ VLAN

• Layer 2 VLAN : MAC-basedใช้ MAC Address ในการแบ่ง VLAN โดยใหส้ วิตช์ ตรวจหา MAC Address จากแต่ละ VLAN

ชนิดของ VLAN

• Layer 2 VLAN : Tag-base

ใช้ VID ในการแบ่ง VLAN โดยให้สวติ ช์ใส่ค่า VID ลงใน Ethernet Frame เพ่อื ระบุกลุ่ม VLAN

VID VLAN 10 1 20 2 30 3

Subnet Mask คืออะไร มีประโยชน์อย่างไร

พูดถึงเจ้าตัว Subnet Mask คือ เป็นค่า Parameter ซึ่งใช้ระบุควบคู่กับเจ้าตัว IP Address โดย Subnet Mask มีหน้าที่แบ่งแยกส่วนของ IP Address ว่าส่วนไหนเป็น Network Address และ ส่วนไหนเป็น Host Address โดยจะสามารถสังเกตได้เพราะทุกครั้งเมื่อเรากำหนดหมายเลข IP Address ให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายต้องกำหนด Subnet Mask ...

คลาส A จะมี Subnet mask เป็นเท่าไร

Class A จะมี Subnet mask เป็น 255.0.0.0. - เลขฐานสอง 11111111.00000000.00000000.00000000. Class B จะมี Subnet mask เป็น 255.255.0.0.

Netmask 24 bit มีค่าเท่ากับเท่าไร

» ตารางสรุป VLSM.

IP Address มีกี่คลาส อะไรบางยกตัวอย่างมาพอสังเขป

โดยการทำงานภายใน IP Address ยังมีการแบ่งออกเป็นระดับชั้น (Class) ต่าง ๆ 5 Class คือ Class A, B, C, D และ E ซึ่งในแต่ละ Class จะมี หมายเลข IP จะมีทั้งหมด 32 บิต แบ่งออกเป็น 4 ฟิลด์ โดยแต่ละฟิลด์จะมี 8 บิต ซึ่งการแบ่งเป็น 4ฟิลด์นั้น ความจริงเป็นการกำหนดหมายเลขของเครื่องเครือข่าย และหมายเลขของเครื่องคอมพิวเตอร์ รายละเอียด ...