อนน ม อถ อร นไหนท ใช ufs 2.0 ufs2.1

ผมเอกก็เสียใจที่บอกเพื่อนๆไปแล้วแต่กลับไม่สามารถไปได้ เพราะผมได้ทำการคิดอย่างรอบด้านแล้วซึ่งมีเหตุผลดังนี้

1. ประกาศที่ทางบริษัทชี้แจงมานั้นมีการอ้างอิงเอกสารขององค์กรแห่งหนึ่งซึ่งเป็นข้อมูลทางด้านเทคนิคที่ผมเองก็ไม่มีความรู้และความเข้าใจอย่างแท้จริงในเรื่องนี้

2. กรณีที่สามารถแจ้งได้มีเพียงกรณีเดียวคือให้มีการตรวจสอบตัวเครื่อง ซึ่งบริษัทก็ได้ออกมาปิดช่องโหว่ในส่วนนี้แล้วโดยจัดให้มีศูนย์ตรวจสอบเครื่องที่ MBK

ดังนั้นขอให้เพื่อนๆที่มีความสงสัยโปรดสบายใจได้นะครับเพราะผมไม่ได้มีการคุยหลังไมค์กับทางบริษัทเลย และไม่ได้ต้องการหาผลประโยชน์จากทาง Pantip ด้วยเช่นกัน แต่เพราะผมไม่มีความรู้ความเชี่ยวชาญทางเทคนิคมาให้คำแนะนำหรือให้ความรู้ จึงทำให้ไม่สามารถทำอะไรได้มาก

สุดท้ายนี้ผมขอฝากความหวังนี้ไว้กับสื่อทุกช่องทาง นำผู้ที่มีความรู้และเชียวชาญเรื่องเทคนิคออกมาให้ความรู้ ความเข้าใจ และพิสูจน์ความจริงต่อไปด้วยนะครับ

ขอโทษจากใจจริงครับ

นับถือ พาเรโต

----------- UPDATE จุดจบของเรื่อง

ก่อนอื่นผมขอขอบพระคุณทุกท่านที่เข้ามาให้กำลังใจและให้คำแนะนำตลอดช่วงระยะเวลาที่ผ่านมา หลังจากที่บริษัทได้ออกมาชี้แจงในเรื่องดังกล่าวแล้ว ผมตัดสินใจยกเลิกการเดินทางไป สคบ. ตามกำหนดการเดิมและจะเดินทางไป MBK เพื่อนำเครื่องไปตรวจสอบความถูกต้องต่อไป

สุดท้ายนี้จากกรณีดังกล่าวถือเป็นบทเรียนครั้งสำคัญสำหรับผมและเพื่อนๆผู้บริโภคทุกคน

นับถือ พาเรโต

--------- UPDATE 25.04.2560 เวลา 10.30น.

เพื่อนๆครับทางบริษัทหัวเหว่ยออกมาชี้แจงแล้วนะครับความว่า

อนน ม อถ อร นไหนท ใช ufs 2.0 ufs2.1

ดังนั้นผมจึงมีเรื่องขอสอบถามทางบริษัทหัวเหว่ยดังนี้ครับ

1. ผู้บริโภคสามารถตรวจสอบข้อเท็จจริงจาก App อะไรถึงจะเรียกความเชื่อมั่นกลับมาได้

2. ทำไมถึงให้เดินทางไป MBK ในเมื่อสินค้าขายทั้งประเทศ อีกประการหนึ่งการเดินทางต้องมีต้นทุนค่าใช้จ่ายเกิดขึ้น (ซึ่งในส่วนนี้ไม่สามารถเรียกเก็บกับทางบริษัทหัวเห่วยได้) ดังนั้นผมจึงขออนุญาตเสนอให้ทางบริษัทจัดทำ facebook live เพื่อสร้างความเข้าใจในเรื่องดังกล่าว และสร้างความเชื่อมั่นให้กับตัวผมและเพื่อนๆผู้บริโภคท่านอื่นๆด้วยครับ

นับถือ พาเรโต ------------ UPDATE 24.04.2560 เวลา 10.00 น.

ขอชี้แจงจุดประสงค์ของการร้องเรียนคือ ต้องการให้มีการตรวจสอบและชี้แจงจากทางบริษัท หากพบว่าไม่ตรงจริงก็ขอคืนเครื่องพร้อมเงินค่าเครื่อง โดยไม่ขอไม่รับค่าชดเชยใดๆจากทางบริษัทนะครับ

UPDATE 24.04.2560 เวลา 16.16 น.

เรียน เพื่อนๆครับ ตอนนี้อยากให้เพื่อนๆลองทำตาม คห.ที่ 110 หน่อยนะครับว่าได้ผลเป็นอย่างไร ส่วนตัวผมทำแล้วยังไม่ขึ้น 700 แต่เดี๋ยวลองปิดเครื่องทิ้งไว้แล้วทำใหม่อีกครั้งครับ

UPDATE 24.04.2560 เวลา 17.00 น. ลองใหม่แล้วก็ยังไม่ได้อะ แต่ก็เยอะสุดกว่าทุกครั้งนะ เพื่อนๆละครับ

อนน ม อถ อร นไหนท ใช ufs 2.0 ufs2.1
---------- เรียน ผู้ใช้งาน HUAWEI MATE 9 ที่โดนเอาเปรียบทุกท่าน

จากที่เราทราบกันดีว่าในกลุ่มผู้ใช้งาน HUAWEI MATE 9 ในประเทศไทยหลายท่านถูกเอาเปรียบเนื่องจากได้มีการขายสินค้าที่ไม่ตรงตามคุณลักษณะ (specification) ที่ได้โฆษณาไว้ว่ามีการใช้ ROM UFS2.1 และ LPDDR4 ซึ่งเป็นเหตุทำให้ผู้บริโภคอย่างเราถูกเอารัดเอาเปรียบ หรือเรียกง่ายๆว่าโดนหลอก ซึ่งในเวลาเช่นนี้การที่เราจะเรียกร้องความเป็นธรรมได้นั้นคงต้องพึ่งพาหน่วยงาน สคบ. ซึ่งเป็นผู้มีอำนาจในการที่จะให้ความเป็นธรรมกับผู้บริโภคได้

สึ่งสำคัญที่สุดในเวลาคือเราต้องรวมพลังกันเพื่อเรียกร้องความเป็นธรรมด้วยการนัดรวมตัวกันที่ สคบ.แจ้งวัฒนะ ในวันพุธที่ 26 เมษายน 2560 เวลา 08.00น. โดยมีหลักฐานที่ต้องเตรียมไปด้วยดังนี้

1. แบบฟอร์มบันทึกคำร้องถึง สคบ. สามารถดาวโหลดได้ที่ http://www.ocpb.go.th/download/pdf/p01.pdf 2. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน 3. สำเนาสัญญาซื้อขาย 4. สำเนาใบเสร็จรับเงิน 5. เอกสารการโฆษณา 6. ผลการทดสอบที่ระบุว่าได้สินค้าไม่ตรงสเปค

*หมายเหตุ เอกสารแจ้งความไม่ต้องใช้นะครับ ผมเองก็เข้าใจผิดคิดว่าต้องใช้ด้วยเพราะในแบบฟอร์มของ สคบ. มีให้กรอก

UPDATE 23.04.2560 ผมได้เดินทางไปแจ้งความลงบันทึกประจำวันไว้ที่ สน.เป็นที่เรียบร้อยแล้ว

อนน ม อถ อร นไหนท ใช ufs 2.0 ufs2.1

รวมถึงได้รับคำแนะนำทางกฏหมายจากผู้ที่มีความรู้ทางหลังไมค์ว่า จากกรณีดังกล่าวถือได้ว่าเข้าข่ายความผิดตาม พรบ.คุ้มครองผู้บริโภค มาตราที่ 47 รายละเอีดยดดังนี้

อนน ม อถ อร นไหนท ใช ufs 2.0 ufs2.1

เพื่อนๆที่มีความประสงค์และมีเป้าหมายเดียวกับเจ้าของกระทู้ (ซึ่งเราคือผู้บริโภคที่ถูกเอาเปรียบ) สามารถแจ้งเชื่อและ LINE ID เพื่อใช้ในการนัดรวมพลกันได้หลังไมค์เลยนะครับ

Not to be confused with the Unix File System, a file system implementation in some Unix and BSD operating systems with the same abbreviation.

Universal Flash Storage (UFS) is a flash storage specification for digital cameras, mobile phones and consumer electronic devices. It was designed to bring higher data transfer speed and increased reliability to flash memory storage, while reducing market confusion and removing the need for different adapters for different types of cards. The standard encompasses both packages permanently attached (embedded) within a device (eUFS), and removable UFS memory cards.

Overview[edit]

UFS uses . It may use multiple stacked 3D TLC NAND flash dies (integrated circuits) with an integrated controller.

The proposed flash memory specification is supported by consumer electronics companies such as Nokia, Sony Ericsson, Texas Instruments, STMicroelectronics, Samsung, Micron, and SK Hynix. UFS is positioned as a replacement for eMMCs and SD cards. The electrical interface for UFS uses the M-PHY, developed by the MIPI Alliance, a high-speed serial interface targeting 2.9 Gbit/s per lane with up-scalability to 5.8 Gbit/s per lane. UFS implements a full-duplex serial LVDS interface that scales better to higher bandwidths than the 8-lane parallel and half-duplex interface of eMMCs. Unlike eMMC, Universal Flash Storage is based on the SCSI architectural model and supports SCSI Tagged Command Queuing. The standard is developed by, and available from, the JEDEC Solid State Technology Association.

Software support[edit]

The Linux kernel supports UFS.

History[edit]

In 2010, the Universal Flash Storage Association (UFSA) was founded as an open trade association to promote the UFS standard.[citation needed]

In September 2013, JEDEC published JESD220B UFS 2.0 (update to UFS v1.1 standard published in June 2012). JESD220B Universal Flash Storage v2.0 offers increased link bandwidth for performance improvement, a security features extension and additional power saving features over the UFS v1.1.

On 30 January 2018 JEDEC published version 3.0 of the UFS standard, with a higher 11.6 Gbit/s data rate per lane (1450 MB/s) with the use of MIPI M-PHY v4.1 and UniProSM v1.8. At the MWC 2018, Samsung unveiled embedded UFS (eUFS) v3.0 and uMCP (UFS-based multi-chip package) solutions.

On 30 January 2020 JEDEC published version 3.1 of the UFS standard. UFS 3.1 introduces Write Booster, Deep Sleep, Performance Throttling Notification and Host Performance Booster for faster, more power efficient and cheaper UFS solutions. The Host Performance Booster feature is optional.

In 2022 Samsung announced version 4.0 doubling from 11.6 Gbit/s to 23.2 Gbit/s with the use of MIPI M-PHY v5.0 and UniPro v2.0.

Notable devices[edit]

In February 2013, semiconductor company Toshiba Memory (now Kioxia) started shipping samples of a 64GB chip, the first chip to support the then new UFS standard.

In April 2015, Samsung's Galaxy S6 family was the first phone to ship with eUFS storage using the UFS 2.0 standard.

On 7 July 2016, Samsung announced its first UFS cards, in 32, 64, 128, and 256 GB storage capacities. The cards were based on the UFS 1.0 Card Extension Standard. The 256GB version was reported to offer sequential read performance up to 530 MB/s and sequential write performance up to 170 MB/s and random performance of 40,000 read IOPS and 35,000 write IOPS. However, they were apparently not actually released to the public.

On 17 November 2016, Qualcomm announced the Snapdragon 835 SoC with support for UFS 2.1.

On 14 May 2019, OnePlus introduced the OnePlus 7 and OnePlus 7 Pro, the first phones to feature built-in eUFS 3.0 (The Galaxy Fold, originally planned to be the first smartphone to feature UFS 3.0 was ultimately delayed after the OnePlus 7's launch).

The first UFS cards began to be publicly sold in early 2020. According to a Universal Flash Storage Association press release, Samsung planned to transition its products to UFS cards during 2020. Several consumer devices with UFS card slots have been released in 2020.

Version comparison[edit]

UFS[edit]

UFS Introduced Bandwidth per lane Max. number of lanes Max. total bandwidth M-PHY version UniPro version 1.0 2011-02-24 300 MB/s 1 300 MB/s ? ? 1.1 2012-06-25 ? ? 2.0 2013-09-18 600 MB/s 2 1200 MB/s 3.0 1.6 2.1 2016-04-04 2.2 2020-08 ? ? 3.0 2018-01-30 1450 MB/s 2900 MB/s 4.1 1.8 3.1 2020-01-30 4.0 2022-08-17 2900 MB/s 5800 MB/s 5.0 2.0

UFS Card[edit]

UFS Card Introduced Bandwidth per lane Max. number of lanes Max. total bandwidth M-PHY version UniPro version 1.0 2016-03-30 600 MB/s 1 600 MB/s 3.0 1.6 1.1 2018-01-30 3.0 2020-12-08 1200 MB/s 1200 MB/s 4.1 1.8

Implementation[edit]

  • UFS 2.0 has been implemented in Snapdragon 820 and 821. Kirin 950 and 955. Exynos 7420.
  • UFS 2.1 has been implemented in Snapdragon 712 (710&720G), 730G, 732G, 835, 845 and 855. Kirin 960, 970 and 980. Exynos 9609, 9610, 9611, 9810 and 980.
  • UFS 3.0 has been implemented in Snapdragon 855, 855+, 860, 865, Exynos 9820–9825, and Kirin 990.
  • UFS 3.1 has been implemented in Snapdragon 855+/860, Snapdragon 865, Snapdragon 870, Snapdragon 888, Exynos 2100, and Exynos 2200.
  • UFS 4.0 has been implemented in MediaTek Dimensity 9200 and Snapdragon 8 Gen 2.

Complementary UFS standards[edit]

On 30 March 2016, JEDEC published version 1.0 of the UFS Card Extension Standard (JESD220-2), which offered many of the features and much of the same functionality as the existing UFS 2.0 embedded device standard, but with additions and modifications for removable cards.

Also in March 2016, JEDEC published version 1.1 of the UFS Unified Memory Extension (JESD220-1A), version 2.1 of the UFS Host Controller Interface (UFSHCI) standard (JESD223C), and version 1.1A of the UFSHCI Unified Memory Extension standard (JESD223-1A).

On January 30, 2018, the UFS Card Extension standard was updated to version 1.1 (JESD220-2A), and the UFSHCI standard was updated to version 3.0 (JESD223D), to align with UFS version 3.0.

Rewrite cycle life[edit]

A UFS drive's rewrite life cycle affects its lifespan. There is a limit to how many write/erase cycles a flash block can accept before it produces errors or fails altogether. Each write/erase cycle causes a flash memory cell's oxide layer to deteriorate. The reliability of a drive is based on three factors: the age of the drive, total terabytes written over time and drive writes per day. This is typical of flash memory in general.