10ป ผ านไป ฉ นจะสวยข น ม งงะ king manga

×

ค้นหา

สำนักพิมพ์

เรียงโดย:

วิธีการเรียง:

พยัญชนะ หมายถึง ตัวอักษรหรือตัวหนังสือที่ใช้สำหรับแทนเสียงแปร รูปพยัญชนะไทยมี 44 ตัว แต่ละตัวมีชื่อเรียกโดยเฉพาะ ดังนี้

ก ไก่ ข ไข่ ฃ ขวด ค ควาย ฅ คน ฆ ระฆัง ง งู จ จาน ฉ ฉิ่ง ช ช้าง ซ โซ่ ฌ เฌอ ญ หญิง ฎ ชฎา ฏ ปฏัก ฐ ฐาน ฑ มณโฑ ฒ ผู้เฒ่า ณ เณร ด เด็ก ต เต่า ถ ถุง ท ทหาร ธ ธง น หนู บ ใบไม้ ป ปลา ผ ผึ้ง ฝ ฝา พ พาน ฟ ฟัน ภ สำเภา ม ม้า ย ยักษ์ ร เรือ ล ลิง ว แหวน ศ ศาลา ษ ฤๅษี ส เสือ ห หีบ ฬ จุฬา อ อ่าง ฮ นกฮูก

เสียงพยัญชนะ[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

พยัญชนะไทยทั้ง 44 ตัว มีเสียงพยัญชนะ 21 เสียง ดังนี้

ลำดับ เสียงพยัญชนะ รูปพยัญชนะ 1 / ก / ก 2 / ค / ข ฅ ค ฅ ฆ 3 / ง / ง 4 / จ / จ 5 / ช / ฉ ช ฌ 6 / ซ / ซ ศ ษ ส 7 / ย / ญ ย ลำดับ เสียงพยัญชนะ รูปพยัญชนะ 8 / ด / ฎ ด ฑ (บางคำ) 9 / ต / ฏ ต 10 / ท / ฐ ฑ ฒ ถ ท ธ 11 / น / ณ น 12 / บ / บ 13 / ป / ป 14 / พ / ผ พ ภ ลำดับ เสียงพยัญชนะ รูปพยัญชนะ 15 / ฟ / ฝ ฟ 16 / ม / ม 17 / ร / ร 18 / ล / ล ฬ 19 / ว / ว 20 / ฮ / ห ฮ 21 / อ / อ

การใช้พยัญชนะ[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

พยัญชนะมีหน้าที่เป็นพยัญชนะต้น เช่น น้อง สวย มาก จมูก ตลาด ปรอท และพยัญชนะท้าย เช่น บ้าน หลัง เล็ก

  • พยัญชนะต้น เสียงพยัญชนะต้นในคำ ๆ หนึ่ง อาจมีเสียงเดียว หรืออาจมีสองเสียงก็ได้ จึงแบ่งพยัญชนะต้นออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ พยัญชนะเดี่ยว และพยัญชนะคู่ ซึ่งพยัญชนะคู่แบ่งออกเป็น อักษรควบ และอักษรนำ
  • พยัญชนะท้าย เป็นพยัญชนะที่อยู่ท้ายพยางค์ ได้แก่ ตัวสะกด และตัวการันต์

นอกจากนี้ พยัญชนะยังทำหน้าที่เป็นอักษรย่อ เช่น กม. พ.ศ. ด.ญ.

อักษรนำ[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

อักษรนำ คือ การนำพยัญชนะ 2 ตัวมาเรียงกัน แล้วประสมด้วยสระเดียวกัน เวลาอ่านออกเสียงต้องออกเสียงพยัญชนะตัวแรกเป็นเสียง อะ กึ่งมาตรา เช่น

ถนน อ่านว่า ถะ - หนน ขยาด อ่านว่า ขะ – หยาด

อักษรที่มี อ นำ มี 4 คำ ได้แก่

อักษรควบ[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

อักษรควบ คือ คำที่มีพยัญชนะอื่นควบกับ ร ล ว รวมอยู่ในสระเดียวกัน อักษรควบแบ่งออกเป็น ๒ ชนิดคือ

  • อักษรควบแท้ หมายถึง อักษรควบที่ต้องอ่านออกเสียงพยัญชนะ ๒ ตัวพร้อมกัน กราบกราน กลับกลาย เกลื่อนกลาด ขลาดเขลา ขวนขวาย เคว้งคว้าง คลางแคลง
  • อักษรควบไม่แท้ หมายถึง อักษรควบที่ต้องอ่านออกเสียงพยัญชนะตัวหน้าเพียงตัวเดียว จริง ทรง ทราบ ทราม สร้าง เสริม สร้อย ศรี เศร้า

ตัวสะกด[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

พยัญชนะท้ายคำ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ตัวสะกด คำในภาษาไทยมีตัวสะกดเพียงเสียงเดียว ถึงแม้คำจะมีพยัญชนะท้ายเรียงกันหลายตัวก็ตาม เช่น จักร ลักษมณ์ ก็กำหนดเสียงเดียวเป็นตัวสะกด นอกนั้นไม่ออกเสียง ตัวสะกดของภาษาไทยมีอยู่ 8 เสียง หรือเรียกว่า มาตราตัวสะกด ได้แก่

ตัวสะกดที่มีรูปไม่ตรงกับชื่อของมาตราตัวสะกด เช่น บาท อยู่ในมาตราแม่กด เรียกตัวสะกดนี้ว่า ตัวสะกดไม่ตรงมาตรา ส่วนคำที่ไม่มีตัวสะกด เรียกได้ว่าเป็นคำที่อยู่ใน แม่ ก กา

พยัญชนะไทย 44 ตัว หนึ่งในบทเรียนพื้นฐาน วิชาภาษาไทย เพื่อให้เรียนรู้วิธีประกอบคำจากพยัญชนะไทยสระ และวรรณยุกต์เป็นคำที่มีความหมาย สำหรับใช้สื่อสารในชีวิตประจำวัน บทความนี้ ไทยรัฐออนไลน์จึงรวบรวมข้อมูลพยัญชนะไทย 44 ตัว พร้อมคำอ่านออกเสียงและวิธีท่องจำง่ายๆ มาฝาก

พยัญชนะไทยมีกี่ตัว

พยัญชนะไทย 44 ตัว ก-ฮ นิยมเขียนและอ่านจากทางขวาไปซ้าย โดยจะประกอบสระและวรรณยุกต์ เป็นคำที่มีความหมาย สำหรับพยัญชนะไทยมี 44 ตัว สามารถออกเสียงได้ ดังนี้

  • ก ออกเสียง ก
  • ข ฃ ค ฅ ฆ ออกเสียงคล้าย ค
  • ง ออกเสียง ง
  • จ ออกเสียง จ
  • ช ฌ ฉ ออกเสียง ช
  • ซ ศ ษ ส ออกเสียงคล้าย ซ
  • ด ฎ ออกเสียงคล้าย ด
  • ต ฏ ออกเสียงคล้าย ต
  • ท ธ ฑ ฒ ถ ฐ ออกเสียงคล้าย ท
  • น ณ ออกเสียงคล้าย น
  • บ ออกเสียง บ
  • ป ออกเสียง ป
  • พ ภ ผ ออกเสียงคล้าย พ
  • ฟ ฝ ออกเสียงคล้าย ฟ
  • ม ออกเสียง ม
  • ร ออกเสียง ร
  • ย ญ ออกเสียงคล้าย ย
  • ล ฬ ออกเสียงคล้าย ล
  • ว ออกเสียง ว
  • ฮ ห ออกเสียงคล้าย ฮ
  • อ ออกเสียง อ

ตัวพยัญชนะไทยแบ่งเป็น 3 ไตรยางศ์ ตามการออกเสียงและการผันวรรณยุกต์ และเพื่อให้จดจำได้ง่าย ดังนี้

1. อักษรสูง 11 ตัว อักษรสูงประกอบด้วย ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห ผันได้เพียง 3 เสียง คือ เสียงเอก โท และจัตวา นิยมท่องจำด้วยประโยคที่ว่า “ผี (ผ) ฝาก (ฝ) ถุง (ฐ, ถ) ข้าว (ฃ, ข) สาร (ศ, ษ, ส) ให้ (ห) ฉัน (ฉ)”

2. อักษรกลาง 9 ตัว อักษรกลางประกอบด้วย ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ ผันได้ 5 เสียง คือ เสียงสามัญ เอก โท ตรี และจัตวา นิยมท่องจำด้วยประโยคที่ว่า “ไก่ (ก) จิก (จ) เด็ก (ด) ตาย (ต) เด็ก (ฎ) ตาย (ฏ) บน (บ) ปาก (ป) โอ่ง (อ)”

3. อักษรต่ำ 24 ตัว อักษรต่ำประกอบด้วย ค ฅ ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ น พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ฬ ฮ ผันได้เพียง 3 เสียง คือ เสียงสามัญ โท และตรี นิยมท่องจำด้วยประโยคที่ว่า “งู (ง) ใหญ่ (ญ) นอน (น) อยู่ (ย) ณ (ณ) ริม (ร) วัด (ว) โม (ม) ฬี (ฬ) โลก (ล)”

10ป ผ านไป ฉ นจะสวยข น ม งงะ king manga

พยัญชนะไทย มีกี่รูป กี่เสียง

แม้ว่าตัวพยัญชนะไทยมี 44 ตัว 44 รูป แต่มีเพียง 21 เสียง ดังในตารางด้านบน เนื่องจากพยัญชนะบางรูปออกเสียงคล้ายกัน จะนับเป็นเพียง 21 เสียงเท่านั้น

วิธีท่องจำพยัญชนะไทย 44 ตัว

วิธีท่องจำพยัญชนะไทย 44 ตัว นิยมให้ท่องเป็นทำนอง ดังนี้

"ก เอ๋ย ก ไก่ ข ไข่ อยู่ในเล้า ฃ ขวด ของเรา ค ควาย เข้านา ฅ คน ขึงขัง ฆ ระฆัง ข้างฝา ง งู ใจกล้า จ จาน ใช้ดี ฉ ฉิ่ง ตีดัง ช ช้าง วิ่งหนี ซ โซ่ ล่ามที ฌ กะเฌอ คู่กัน ญ หญิง โสภา ฎ ชะฎา สวมพลัน ฏ ปะฏัก หุนหัน ฐ สันฐาน เข้ามารอง ฑ นางมนโฑ หน้าขาว ฒ ผู้เฒ่า เดินย่อง ณ เณร ไม่มอง ด เด็ก ต้องนิมนต์ ต เต่า หลังตุง ถ ถุง แบกขน ท ทหาร อดทน ธ ธง คนนิยม น หนู ขวักไขว่ บ ใบไม้ ทับถม ป.ปลา ตากลม ผ ผึ้ง ทำรัง ฝ ฝา ทนทาน พ พาน วางตั้ง ฟ ฟัน สะอาดจัง ภ สำเภา กางใบ ม ม้า คึกคัก ย ยักษ์ เขี้ยวใหญ่ ร เรือ พายไป ล ลิง ไต่ราว ว แหวน ลงยา ศ ศาลา เงียบเหงา ษ ฤาษี หนวดยาว ส เสือ ดาวคะนอง ห หีบ ใส่ผ้า ฬ จุฬา ท่าผยอง อ อ่าง เนืองนอง ฮ นกฮูก ตาโต"

10ป ผ านไป ฉ นจะสวยข น ม งงะ king manga

พยัญชนะไทย 44 ตัว สระ วรรณยุกต์มีกี่ตัว

การประกอบคำสร้างความหมาย นอกจากตัวพยัญชนะไทย 44 ตัว จะต้องมีการผสมสระและวรรณยุกต์ โดยสระในภาษาไทยมี 21 รูป 32 เสียง ดังนี้ รูปสระในภาษาไทย 21 รูป

  • -ะ เรียกว่า วิสรรชนีย์
  • -ั เรียกว่า ไม้หันอากาศ หรือ ไม้ผัด
  • ็ เรียกว่า ไม้ไต่คู้
  • า เรียกว่า ลากข้าง
  • ิ เรียกว่า พินทุ หรือ พินทุอิ
  • ่ เรียกว่า ฝนทอง
  • ” เรียกว่า ฟันหนู
  • ํ เรียกว่า นฤคหิตหรือหยาดน้ำค้าง
  • ุ เรียกว่า ตีนเหยียด
  • ู เรียกว่า ตีนคู้
  • เ เรียกว่า ไม้หน้า
  • ใ เรียกว่า ไม้ม้วน
  • ไ เรียกว่า ไม้มลาย
  • โ เรียกว่า ไม้โอ
  • อ เรียกว่า ตัวออ
  • ย เรียกว่า ตัวยอ
  • ว เรียกว่า ตัววอ
  • ฤ เรียกว่า ตัว ฤ (รึ)
  • ฤๅ เรียกว่า ตัว ฤๅ (รือ)
  • ฦ เรียกว่า ตัว ฦ (ลึ)
  • ฦๅ เรียกว่า ฦ (ลือ)

เสียงสระ 32 เสียง

  • อะ
  • อา
  • อิ
  • อี
  • อึ
  • อือ
  • อุ
  • อู
  • เอะ
  • เอ
  • แอะ
  • แอ
  • โอะ
  • โอ
  • เอาะ
  • ออ
  • เออะ
  • เออ
  • อัว
  • เอีย
  • เอือ
  • อัวะ
  • เอียะ
  • เอือะ
  • อำ
  • ใอ
  • ไอ
  • เอา
  • ฤๅ
  • ฦๅ

วรรณยุกต์ไทย วรรณยุกต์ไทยจะออกเสียงต่อเมื่อมีพยัญชนะไทย สระ เพื่อให้เกิดคำที่มีความหมายแตกต่างกันออกไป วรรณยุกต์ไทยมี 5 เสียง 4 รูป ดังนี้

  • เสียงสามัญ รูปวรรณยุกต์ คือ -
  • เสียงเอก รูปวรรณยุกต์ คือ ่
  • เสียงโท รูปวรรณยุกต์ คือ ้
  • เสียงตรี รูปวรรณยุกต์ คือ ๊
  • เสียงจัตวา รูปวรรณยุกต์ คือ ๋

10ป ผ านไป ฉ นจะสวยข น ม งงะ king manga

พยัญชนะไทย 44 ตัว ก-ฮ เป็นบทเรียนภาษาไทยพื้นฐานสำหรับนักเรียนไทย ดังนั้น จึงมีวิธีการท่องจำ รวมถึงเทคนิค เพื่อให้จดจำได้ง่าย ในขณะเดียวกันก็สามารถประกอบคำให้มีความหมาย อ่านออก เข้าใจความหมาย รวมถึงสามารถใช้สื่อสารในชีวิตประจำวันได้