เคร องแบบช ดน กเร ยนของโรงเร ยนสตร ว ทยา2 ม.1 2562

- สรา้ งขวญั กำ� ลงั ใจใหแ้ กค่ รทู ปี่ ฏบิ ตั งิ านในพน้ื ทส่ี งู หา่ งไกลทรุ กนั ดาร ผ่านการพิจารณา ความดีความชอบ ความก้าวหน้า และเงินเพ่ิมเติม ทม่ี ากกวา่ ปกติ เชน่ เบยี้ กนั ดาร เปน็ ต้น 3. การศึกษา - จัดการเรียนการสอนที่เน้น การพฒั นาคุณภาพชวี ิต และทกั ษะ ที่ส�ำคัญจำ� เป็นในชีวติ ประจ�ำวนั - ส่งเสริมศักยภาพนักเรียน ทห่ี ลากหลายตามบรบิ ทและศกั ยภาพ ภาพ: thaihealth.or.th ของนักเรียนแต่ละคน โดยใช้รูปแบบ Customize และยกเลิกการจัด การศกึ ษาแบบ One Size Fit All - ส่งเสริมการศึกษาเพ่ือการมีงานท�ำ ให้สอดคล้องกับกลุ่มอาชีพ ทีส่ รา้ งรายได้สูงในจังหวัดน่าน ไดแ้ ก่ 1) เกษตรกร 2) ช่างฝีมือ 3) โรงแรม และการท่องเท่ียว นอกจากนี้ ยังรวมถึงการขายท้ังแบบ Off-line อาทิ การเปิดร้านขายของ และการขายแบบ On-line ใน Platform ต่างๆ อาทิ Lazada, Shopee 38 การบรู ณาการความร่วมมือเพื่อลดความเหลอ่ื มล�้ำทางการศึกษา กรณีศึกษาจงั หวัดน่าน โรงเรียนภูคาวทิ ยาคม อ�ำเภอปวั โรงเรียนบนพ้นื ที่สงู มีชนเผา่ หลากหลายชนเผ่า ระยะทางไกลต้องพักนอน การบรู ณาการความรว่ มมอื เพอื่ ลดความเหลือ่ มล้�ำทางการศึกษา 39 กรณีศกึ ษาจังหวดั นา่ น โรงเรียนภูคาวิทยาคมอยู่ในพื้นที่ต�ำบลภูคา อ�ำเภอปัว จังหวัดน่าน สังกัดส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 2 เป็นโรงเรียน ขยายโอกาสจดั การเรยี นการสอนตง้ั แตร่ ะดบั ชน้ั อนบุ าล2ถงึ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่3 มนี ายสทิ ธพิ ลพรมมนิ ทร์ดำ� รงตำ� แหนง่ ผอู้ ำ� นวยการมจี ำ� นวนนกั เรยี นทงั้ หมด 269 คน มขี ้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษารวมทั้งหมด 30 คน ระดับช้ัน นักเรียน (คน) ครู (คน) อัตรานกั เรยี น : ครู อ.2-อ.3 37 2 19 : 1 ป.1-ป.6 143 11 13 : 1 ม.1-ม.3 89 6 15 : 1 ข้อมูลสารสนเทศทบี่ ง่ ชส้ี ภาพความเหลือ่ มล�ำ้ ทางการศึกษา โรงเรียนภูคาวิทยาคมได้รับการจัดสรรเงินอุดหนุนปัจจัยพ้ืนฐาน นักเรยี นยากจนและยากจนพิเศษ ดงั น้ี ปี 2561 กจิ กรรมสง่ เสรมิ ทกั ษะอาชีพ 60,800 บาท งบจดั สรรให้กับนักเรียนยากจน และยากจนพเิ ศษ จ�ำนวน 76 คน ทำ� ขนมไทย ผลิตยาหม่อง รวมเปน็ เงนิ 60,800 บาท แปรรปู การเกษตร อาชีพตัดผม ปี 2562 งบจัดสรรใหก้ บั นกั เรียนยากจน กจิ กรรมส่งเสรมิ ทักษะอาชพี 144,000 บาท และยากจนพเิ ศษ จำ� นวน 96 คน แปรรูปกาแฟ รวมเปน็ เงิน 144,000 บาท การเลีย้ งสัตว์ ท�ำขนมไทย 40 การบูรณาการความร่วมมอื เพือ่ ลดความเหล่ือมลำ�้ ทางการศกึ ษา กรณศี ึกษาจังหวัดน่าน จำ� นวนเดก็ และเยาวชนนอกระบบการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน กศน. ปัว 2 คน โรงเรียนประสบปัญหานักเรยี นไม่จบ 9 คน กศน. เฉลมิ พระเกียรติ 3 คน การศึกษาต้องออกกลางคัน จงึ ต้องประสานส่งตัวผเู้ รยี นให้ กศน. กศน. สนั ตสิ ุข 4 คน อัตราการศกึ ษาตอ่ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลายหรอื ปวช. การศึกษาต่อระดับ ม.ปลาย หรอื ปวช. ปี 2560-2562 นร.ด้อยโอกาส และ นร.ไดท้ ุนเรยี นต่อ (หน่วย: คน) นักเรยี นยากจนดอ้ ยโอกาส (คน) โรงเรยี น 2560 2561 2562 นักเรียนท่ีได้รบั ทนุ ศกึ ษาตอ่ (คน) 11 2 ร.ร.ราชประชานุเคราะห์ 56 ร.ร.มธั ยมปา่ กลาง 16 12 6 ร.ร.นันทบุรวี ิทยา 1 ร.ร.มัธยมพระราชทานเฉลมิ พระเกียรติ 33 ร.ร.บริบาล 1 ร.ร.สันติสุขพิทยาคม 5 วิทยาลยั การอาชีพปัว 46 8 วทิ ยาลยั เกษตรแพร่ 1 กศน. 6 5 ช่างทองหลวง 12 รวม 28 29 27 การบรู ณาการความรว่ มมอื เพอ่ื ลดความเหลื่อมล้ำ� ทางการศกึ ษา 41 กรณีศกึ ษาจงั หวดั น่าน ภาระคา่ ใช้จ่าย ค่าเคร่อื งแบบนักเรยี น ดา้ นการศึกษา ค่ารถรับ-ส่งนกั เรียน ของครอบครัว ผขู้ าดแคลน บา้ นนำ�้ ดนั้ หมู่ 13 บา้ นเตย๋ ก่วิ เห็น หมู่ 17 ทุนทรพั ย์ สภาพปัญหาของผู้ปกครองนักเรียนท่ีขาดแคลนทุนทรัพย์ ได้แก่ ค่าใช้จ่ายท่ีนอกเหนือจากงบประมาณเรียนฟรีของรัฐบาล ผู้ปกครอง ต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการเดินทางส�ำหรับรับ-ส่งนักเรียนท่ีอาศัย อยู่ห่างจากโรงเรียน และค่าเครื่องแบบนักเรียน ซ่ึงพบว่าบางครอบครัว มรี ายได้ไมเ่ พยี งพอส�ำหรบั คา่ ใช้จ่ายในส่วนน้ี การจดั การศึกษาสำ� หรบั ผเู้ รียนทมี่ คี วามต้องการจำ� เปน็ พิเศษ 1. การจัดการศกึ ษาสำ� หรับผูเ้ รียนพกิ าร 1. ทำ� แผน IEP 2. ขอส่อื จากศูนย์การศกึ ษา (หนว่ ย: คน) พเิ ศษจงั หวัด 3. ประกบสอนเรียนรวมกับ เดก็ ที่มีความพิการซาํ้ ซ้อน เดก็ ปกติ เด็กทีม่ ปี ัญหาทางพฤตกิ รรมและอารมณ์ 4. สอนเสรมิ สัปดาห์ละ 4 ชัว่ โมง 5. ผเู้ รยี นพกิ ารซำ้� ซ้อนโรงเรียน เด็กทีม่ ปี ัญหาทางการเรียนรู้ จัดการสอนตามสภาพ เดก็ ที่มคี วามบกพรอ่ งทางสตปิ ญั ญา ทบี่ ้าน ประถมศกึ ษา มธั ยมศึกษา 42 การบูรณาการความรว่ มมอื เพ่ือลดความเหลอ่ื มล�้ำทางการศกึ ษา กรณีศกึ ษาจงั หวดั น่าน การจัดการศึกษาส�ำหรับผู้เรียนพิการ ครูผู้สอนได้ด�ำเนินการ จัดท�ำแผน IEP เพ่ือส่งเสริมเด็กนักเรียนให้มีองค์ความรู้เพ่ิมขึ้น โดย ดำ� เนนิ การสง่ แผนIEPไปยงั ศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษประจำ� จงั หวดั เพอ่ื ขออนมุ ตั ิ ส่ือสิ่งอ�ำนวยความสะดวกให้กับผู้เรียน ในส่วนการจัดการเรียนการสอน เด็กพิเศษจะเรียนรวมกับเด็กปกติ แต่ครูผู้สอนจะต้องเข้าประกบสอน เพ่ือเสริมแรงในการเรียน และได้มีการจัดกิจกรรมสอนเสริมซ่ึงมี การแยกห้องเรียนไว้ เป็นห้องเรียนพิเศษส�ำหรับนักเรียนเรียนรวม เรียนในช่วงเวลาหลังเลิกเรียน สัปดาห์ละ 4 ชั่วโมง กรณีผู้เรียนท่ีมี ความพิการซ้�ำซ้อนหรือไม่สามารถมาเรียนตามปกติได้ ทางโรงเรียนได้มี การจัดการสอนตามสภาพ ดูแลช่วยเหลือผู้เรียนในด้านอื่นเหมือน เด็กปกติทั่วไป แต่จะไปท่ีบ้านของนักเรียนเพื่อให้ได้สิทธ์ิทางการศึกษา และลดความเลื่อมลำ�้ 2. การจัดการศึกษาส�ำหรบั ผู้เรยี นทีม่ ีความสามารถพเิ ศษ สอนเสรมิ กลุ่มนกั เรียนทีม่ ีความสามารถพเิ ศษในดา้ นต่างๆ ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ ใหน้ ักเรยี นเข้ารว่ มการแขง่ ขันทักษะ ทัง้ ระดบั เขตและระดับชาติ การแขง่ ขนั AMAT Sudoku และ Crossword จังหวดั เชียงใหม่ การแข่งขนั Sudoku ระดบั ป. 1-6 ไดล้ ำ� ดบั ท่ี 15 การแขง่ ขัน AMAT ระดับ ม. 1-3 ได้ล�ำดบั ที่ 13 ระดับ ป. 1-6 ไดล้ �ำดบั ที่ 35 การบูรณาการความร่วมมอื เพอื่ ลดความเหลือ่ มล�้ำทางการศกึ ษา 43 กรณศี ึกษาจังหวัดนา่ น การจดั การศกึ ษาสำ� หรับผู้เรียนทีม่ คี วามสามารถพเิ ศษ ทางโรงเรียน ใช้การสอนเสริมให้กับกลุ่มนักเรียนท่ีมีความสามารถพิเศษในด้านต่างๆ ส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันทักษะ เพ่ือเปิดโอกาส ให้แสดงความสามารถ เช่น การฝึกฝนและน�ำนักเรียนเข้าร่วมแข่งขัน งานศิลปะหัตถกรรมนักเรียนทุกปี ท้ังระดับเขตและระดับชาติ การน�ำ นกั เรยี นทมี่ คี วามสามารถทางคณติ ศาสตร์ และภาษาองั กฤษ เขา้ รว่ มแขง่ ขนั การแข่งขนั AMAT Sudoku และ Crossword เป็นตน้ 3. การจัดการศกึ ษาส�ำหรับผ้เู รยี นทด่ี อ้ ยโอกาส มรี ะบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี น และมอบทนุ การศึกษาจากภาคเอกชน การสนับสนนุ ด้านทรพั ยากรทางการศึกษาและความร่วมมือ การจดั สรรงบประมาณดา้ นการศึกษา ปีการศกึ ษา 2563 สพฐ. คา่ จัดการเรียนการสอน 351,190 อปท. ค่าหนงั สอื เรยี น 172,623 ค่าอุปกรณก์ ารเรยี น 47,605 คา่ เครือ่ งแบบนกั เรยี น 97,356 ค่ากิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น 77,584 เงินอุดหนุนสำ� หรับสนบั สนนุ อาหารกลางวนั 714,000 เงนิ อดุ หนนุ ปัจจัยพืน้ ฐานส�ำหรบั นกั เรยี นยากจน 317,000 เงินอุดหนนุ คา่ อาหารนกั เรียนพักนอนโรงเรยี นในพ้ืนทย่ี ากลำ� บาก 194,300 เงินอดุ หนนุ โครงการ สปสช. 67,250 เงินอดุ หนนุ นกั เรียนยากจนแบบมเี ง่ือนไข (กสศ.) 249,960 44 การบรู ณาการความร่วมมอื เพื่อลดความเหลื่อมลำ้� ทางการศึกษา กรณีศกึ ษาจังหวัดนา่ น วิทยาลยั อบต.ภูคา โรงพยาบาล การอาชพี ปวั ส่งเสรมิ สุขภาพ โรงเรยี น วิทยาลัย ภคู าวทิ ยาคม ตำ� บลภคู า ช่างทองหลวง ส�ำนักสงฆ ์ อุทยาน สว่างบุญ แห่งชาติ ดอยภูคา โรงเรียนภูคาวิทยาคม ได้รับความร่วมมือและการสนับสนุนในด้าน ตา่ งๆ เปน็ อยา่ งดจี ากสว่ นราชการและหนว่ ยงานอนื่ ทเี่ กย่ี วขอ้ งมาโดยตลอด ซึ่งได้แก่ โครงการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา องค์การบริหาร ส่วนต�ำบลภูคา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลภูคา อุทยานแห่งชาติ ดอยภูคา ส�ำนักสงฆ์สว่างบุญ วิทยาลัยช่างทองหลวง และวิทยาลัย การอาชีพปัว จากโครงการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา ในส่วนของเงินท่ีได้รับ การสนับสนุน โรงเรียนได้มอบเป็นทุนการศึกษาให้กับนักเรียนท่ีมี ความสามารถในดา้ นตา่ งๆและในสว่ นของสงิ่ ของเครอ่ื งใชต้ า่ งๆทางโรงเรยี น ไดม้ อบใหก้ ับนักเรยี นและผู้ปกครอง การบูรณาการความรว่ มมอื เพอ่ื ลดความเหลื่อมล�้ำทางการศึกษา 45 กรณีศกึ ษาจงั หวดั นา่ น ปัญหาความเหลอ่ื มลำ้� ทางการศกึ ษา 1. วิถชี ีวิตชนเผ่า วัฒนธรรม ความเชื่อ รวมถึงทศั นคตติ ่อการศึกษา ชาวบ้านในพื้นท่ีเป็นชนเผ่าลั๊วะ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ในการดำ� รงชวี ติ ผปู้ กครองบางสว่ นจะใหเ้ ดก็ มาเรยี นเพอ่ื ใหไ้ ดร้ บั ความรู้ พื้นฐานและจบการศึกษาภาคบังคับ จากน้ันจึงให้มาช่วยในการ ท�ำเกษตรกรรม ซึ่งมีผลท�ำให้นักเรียนไม่ ได้รับการส่งเสริมในเรื่องของการศึกษาต่อ ในระดบั ทส่ี งู ขนึ้ อกี ทงั้ บคุ คลทเี่ ปน็ แบบอยา่ ง หรือศิษย์เก่าท่ีจบการศึกษาจากโรงเรียน แ ล ้ ว ศึ ก ษ า ต ่ อ จ น ป ร ะ ส บ ค ว า ม ส� ำ เ ร็ จ มีจ�ำนวนน้อย ท�ำให้นักเรียนขาดแรงบันดาลใจในเรื่องของการศึกษา ครอบครัวมักจะนิยมให้ลูกสาวได้ออกเรือน เน่ืองจากมีความเช่ือ ในเรื่องของการผิดจารีตประเพณีท่ีปฏิบัติสืบต่อกันมา ส่งผลท�ำให้ เด็กขาดโอกาสที่จะศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น บางครอบครัวมีปัญหา การหย่าร้าง หรือพ่อแม่ท�ำงานต่างจังหวัด จึงต้องฝากบุตรหลาน ให้อาศัยอยู่กับตายาย ซ่ึงปัญหาเหล่าน้ีส่งผลต่อจิตใจและพฤติกรรม ของนักเรียน แนวทางแก้ไข เชิญศิษย์เก่าที่ประสบความส�ำเร็จมาแบ่งปัน ประสบการณ์และวิธีการท่ีท�ำให้ตนเองประสบความส�ำเร็จเพ่ือสร้าง แรงบนั ดาลใจใหก้ ับรนุ่ น้องทก่ี ำ� ลงั ศึกษาอยู่ 46 การบูรณาการความร่วมมอื เพ่อื ลดความเหลอ่ื มลำ�้ ทางการศกึ ษา กรณีศึกษาจังหวัดนา่ น 2. ภาษาในการสอื่ สาร ภาษาท่ีใช้ส่ือสารจะเป็นภาษาลั๊วะ นอกจากจะได้ฝึกการสื่อสารและเรียน ในโรงเรียน เม่ือนักเรียนกลับบ้านไปหรือใช้ ชวี ติ นอกเหนอื จากสงั คมโรงเรยี น นกั เรยี น ยังต้องใช้ภาษาของตนเองในการส่ือสารอยู่ นอกจากน้ีการลงพ้ืนที่ เยย่ี มบา้ นนกั เรยี น การสอบถามขอ้ มลู จากผปู้ กครองเปน็ เรอ่ื งทเี่ ปน็ ปญั หา อยูบ่ ่อยครั้ง เนือ่ งจากเกดิ การส่อื สารที่ไมเ่ ขา้ ใจและผดิ พลาด แนวทางแก้ไข เน้นการสอนภาษาไทยให้อ่านออกเขียนได้ ต้ังแต่ ระดับช้ันประถมศึกษา เขียนบันทึกรักการอ่าน ส่วนผู้ปกครอง เน้นการ สง่ เสรมิ รณรงคก์ ารสอื่ สารภาษาไทยในชมุ ชน ตดิ ตาม รบั รขู้ า่ วสาร จาก สือ่ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ ทีอ่ า่ นหนงั สอื ประจ�ำหมูบ่ ้าน 3. ความยากจนของผปู้ กครอง ผปู้ กครองสว่ นใหญม่ ฐี านะยากจน รายได้ครัวเรือนประมาณ 60,000 บาท ตอ่ ปี รายได้สว่ นใหญ่จะถูกนำ� มาใช้จ่าย ในครัวเรือนเพื่อการอุปโภคและบริโภค ท่ีจำ� เปน็ ซึ่งอาจจะไม่เพยี งพอกบั ค่าใชจ้ า่ ย ภาพ: posttoday.com ต่างๆ ในครอบครัว ดังนั้น รายจ่าย เพอื่ สง่ เสรมิ ดา้ นการศกึ ษาอาจจะถูกมองขา้ มไป แนวทางแก้ไข นักเรียนจะมีทุนที่ได้รับจากหน่วยงานอ่ืนๆ เช่น ทุนนักเรียนยากจนและยากจนพิเศษ ส่วนผู้ปกครองต้องการให้มี หน่วยงานที่ส่งเสริมฝึกอบรมเพ่ือพัฒนาทักษะทางอาชีพ เพ่ือให้เกิด ความหลากหลายทางอาชพี หรือเพ่อื เพิ่มรายไดอ้ ีกทางหน่ึงของผูป้ กครอง การบูรณาการความร่วมมือเพือ่ ลดความเหลือ่ มลำ้� ทางการศึกษา 47 กรณศี กึ ษาจังหวัดน่าน 4. ระยะทางและความยากลำ� บากในการเดนิ ทางมาโรงเรียน พืน้ ที่คอ่ นข้างทรุ กันดาร ถนนบางช่วงยังเปน็ ทางลูกรงั ขรขุ ระ และ ค่อนข้างแคบ จะต้องใช้ระยะเวลาในการเดินทางมาโรงเรียนค่อนข้างมาก โดยเฉพาะในฤดฝู น บางครงั้ มฝี นตกหนกั ไม่สามารถรับ-ส่งนักเรียนได้ เน่ืองจาก มีน�้ำป่าไหลหลาก ส่งผลให้ถนนขาดและ อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อการเดินทาง ภาพ: jarmlive.com มาโรงเรยี น แนวทางแก้ไข ส�ำหรับนักเรียนที่อยู่ ห่างไกล โรงเรียนมีหอพักนักเรียนชายและหญิงรองรับ และโรงเรียน ไดร้ บั จดั สรรงบประมาณชว่ ยเหลอื คา่ ใชจ้ า่ ยพาหนะสำ� หรบั การเดนิ ทาง มาโรงเรยี น แตผ่ ู้ปกครองตอ้ งเสยี ค่าพาหนะเพ่มิ ในบางสว่ น 5. ความพร้อมและการสนับสนุนเทคโนโลยีและการเข้าถึงข้อมูล ของนกั เรียน ในชุมชนยังมีปัญหาเร่ืองคุณภาพสัญญาณอินเทอร์เน็ต อีกท้ัง ผปู้ กครองไมส่ ามารถสนบั สนนุ อปุ กรณก์ ารเรยี นรู้เสรมิ ทกั ษะ สอื่ ตา่ งๆ อาทิ คอมพวิ เตอร์ ใหแ้ กน่ กั เรยี นได้ เมอ่ื นกั เรยี นมคี วามตอ้ งการทจี่ ะศกึ ษา ในเรอ่ื งทสี่ นใจดว้ ยตนเอง จงึ ทำ� ใหน้ กั เรยี นเขา้ ถงึ สง่ิ ทตี่ อ้ งการไดย้ ากผปู้ กครอง อาจไม่ให้ความสนใจเท่าที่ควร เป็นผลมาจากปัญหาการขาดความรู้ และทกั ษะในด้านการใช้เทคโนโลยี แนวทางแก้ไข ชุมชนมีสัญญาณอินเทอร์เน็ตของโครงการประชารัฐ แต่มีปัญหาในเรื่องคุณภาพสัญญาณเป็นบางคร้ัง และโรงเรียน ได้ปล่อยสัญญาณอินเทอร์เน็ตเป็นบางจุดเพ่ือให้นักเรียนสามารถ เขา้ ใช้ และศึกษาคน้ คว้าหาขอ้ มลู ได้ 48 การบรู ณาการความร่วมมอื เพื่อลดความเหลอ่ื มล้�ำทางการศกึ ษา กรณีศกึ ษาจงั หวดั น่าน 6. การใหค้ วามรูแ้ ละแนะน�ำเรื่องการศึกษาแกน่ ักเรยี นของผู้ปกครอง ผู้ปกครองบางส่วนไม่จบการศึกษา ภาคบังคับมีความจ�ำเป็นต้องออกกลางคัน เพ่ือช่วยงานในครอบครัว บางส่วน จึงไม่สามารถช่วยสอนหรือแนะน�ำ การทำ� การบา้ นของบตุ รหลานได้ ท�ำให้ ภาพ: posttoday.com กาเรยี นรนู้ นั้ ขาดความตอ่ เนอ่ื ง นอกจากนน้ั ยังมีแนวโน้มว่าพ่อแม่ท่ีมีประสบการณ์ทางการศึกษาเช่นใดมักส่งเสริม ลกู ให้ไปในทิศทางเดยี วกนั แนวทางแก้ไข โรงเรียนร่วมมือกับทางศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั เพือ่ สง่ เสริมการรู้หนังสอื การจัดกจิ กรรมเพื่อลดความเหลื่อมล�ำ้ ทางการศึกษา 1. การพัฒนาครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา โรงเรียนภูคาวิทยาคมให้ความส�ำคัญกับ การพฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา โดยการ สนบั สนนุ ใน 2 ประเด็นหลกั คอื ด้านวชิ าการ และ มาตรการจงู ใจในการปฏิบตั งิ าน การสนบั สนุนด้านวชิ าการ มาตรการจงู ใจในการปฏิบัติงาน การพัฒนาการจัดการเรยี นการสอน สนบั สนนุ วัสดอุ ุปกรณ์ในการทำ� สือ่ การสอน พัฒนางานวชิ าการ เปดิ โอกาสใหบ้ คุ ลากรได้รบั การอบรม พัฒนาวิชาชีพ พัฒนาความรู้ตามความสนใจ สรา้ งขวัญกำ� ลงั ใจให้กบั ทงั้ องคก์ รอยา่ งสมำ�่ เสมอ การบูรณาการความรว่ มมอื เพือ่ ลดความเหลื่อมล้�ำทางการศกึ ษา 49 กรณศี ึกษาจงั หวัดนา่ น 2. ดา้ นพฒั นาการศกึ ษา  สอนเสรมิ O-NET หลงั เลิกเรยี น  สอนเสริมภาษาไทย ช้ัน ป.1  ใชส้ ่อื DLTV ช่วงสถานการณ์โควดิ 19  เพ่ิมผลสมั ฤทธ์ิใน 3 กล่มุ สาระการเรียนรู้ ไดแ้ ก่ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ และภาษาตา่ งประเทศ  มกี ารสรา้ งแรงจูงใจ โดยการมอบรางวลั ใหก้ บั นกั เรียนในแตล่ ะเดือน 3. ด้านพัฒนาทกั ษะอาชีพ  ส่งเสริมทกั ษะอาชีพ  ร่วมจัดแสดงผลงานอาชพี  ศกึ ษาดงู านการทำ� เคร่อื งเงิน  เข้ารบั การฝกึ อบรมทักษะอาชีพ ณ วทิ ยาลัยการอาชีพปวั ข้อเสนอแนะในการแกป้ ญั หา 1. หาแนวทางปรับกฎระเบียบท่ีเป็นอุปสรรคต่อการสนับสนุน งบประมาณอาหารกลางวัน เพ่ือให้ครอบคลุมนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น ซ่ึงเป็นการศึกษาภาคบังคับ และควรปรับงบประมาณรายหัว ของนักเรียนเพ่ิมเติม เพ่ือให้สะท้อน ความจ�ำเป็นของพื้นท่ีราบสูงและ ค่าครองชีพที่เพ่มิ สูงขึ้น 50 การบูรณาการความรว่ มมอื เพ่อื ลดความเหลอื่ มล้ำ� ทางการศกึ ษา กรณีศึกษาจงั หวัดน่าน 2. ส่งเสริมการสร้างเครือข่าย การท�ำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงาน ในพื้นที่ เพ่ือสร้างความเข้มแข็งของ ชุมชน 3. ปรับปรุงกฎระเบียบเงิน สวัสดิการส�ำหรับการปฏิบัติงานใน พน้ื ทพี่ เิ ศษของครเู พอ่ื เปน็ การสรา้ งขวญั กำ� ลงั ใจแกค่ รทู ปี่ ฏบิ ตั หิ นา้ ทใี่ นพนื้ ท่ี หา่ งไกล โดยการใหค้ า่ ตอบแทนเพม่ิ เติมอยา่ งเหมาะสม 4. ส่งเสริมและพัฒนาการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นการฝึกทักษะ อาชีพ เพือ่ ใหน้ ักเรยี นสามารถนำ� ไปประกอบอาชพี ได้ 5. ส่งเสริมให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องท้ังภาครัฐและเอกชนปรับปรุง และขยายสญั ญาณอนิ เทอรเ์ นต็ ใหค้ รอบคลมุ เพอื่ สรา้ งโอกาสใหแ้ กน่ กั เรยี น และชมุ ชนในการเรยี นรูท้ ่ีเพ่ิมข้ึน การบูรณาการความร่วมมือเพอื่ ลดความเหลอ่ื มล้�ำทางการศึกษา 51 กรณีศกึ ษาจงั หวดั นา่ น กศน. อ�ำเภอบอ่ เกลอื อำ� เภอบ่อเกลอื ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบบนพื้นทส่ี งู มชี นเผา่ หลายชนเผา่ ระยะทางไกลตอ้ งพกั นอน 52 การบูรณาการความรว่ มมอื เพือ่ ลดความเหลอ่ื มลำ้� ทางการศกึ ษา กรณีศึกษาจงั หวดั น่าน ขอ้ มูลพืน้ ฐาน/อตั ลักษณ์ กศน. บ่อเกลือ อ�ำเภอบ่อเกลอื ประกอบดว้ ย 4 ต�ำบล ศูนยก์ ารศึกษานอกโรงเรียนบอ่ เกลือ นกั เรยี น กศน.จ�ำนวนประมาณ 6,000 คน สว่ นใหญป่ ระกอบอาชีพ เกษตรกรรมและการทอ่ งเทยี่ ว นักเรียนกระจายอยู่ใน 15 อ�ำเภอ ห้องเรยี นกระจายอยใู่ น 99 ต�ำบล อาทิ การตม้ เกลอื สินเธาว์ การท�ำไรข่ ้าวโพด การหาของปา่ จัดการศึกษาขัน้ พนื้ ฐานท้ังสายสามัญและสายอาชีพ 1 ต�ำบลมคี รู กศน. 1 คน และการท่องเทย่ี ว ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนบ่อเกลือ ต้ังอยู่ในอ�ำเภอบ่อเกลือ ซง่ึ ประกอบดว้ ย 4 ตำ� บล ไดแ้ ก่ บอ่ เกลอื เหนอื บอ่ เกลอื ใต้ ภฟู า้ และดงพญา ซึ่งอยู่ในพ้ืนท่ีทรงงานของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ประชาชนในอ�ำเภอบ่อเกลือส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพเกษตรกรรมและการท่องเที่ยว เช่น การต้มเกลือสินเธาว์ การท�ำไร่ข้าวโพด การหาของป่า และการท่องเที่ยว เป็นต้น จัดการเรียน การสอนในระดับการศึกษาขึ้นพื้นฐานท้ังสายสามัญและสายอาชีพ โดยมี ศูนย์การเรียนรู้ ประกอบดว้ ย กศน. ต�ำบล 4 แห่ง และศูนยก์ ารเรียนชมุ ชน ชาวไทยภเู ขา “แมฟ่ า้ หลวง” 23 แห่ง ปจั จบุ นั มีนกั เรยี นในระดบั การศกึ ษา พื้นฐาน จ�ำนวนท้ังสิ้น 204 คน มีครูผู้สอนและบุคลากรทางการศึกษา จ�ำนวน 53 คน ส่วนใหญ่เป็นครูจากกองทุนพัฒนาเด็กและเยาวชน ในถน่ิ ทรุ กันดาร (กพด.) และครูอาสาสมัครฯ กศน. พน้ื ท่ีสูง การบูรณาการความร่วมมอื เพือ่ ลดความเหลื่อมล้ำ� ทางการศึกษา 53 กรณีศึกษาจงั หวัดนา่ น การสนบั สนนุ ด้านทรัพยากรทางการศึกษาและความร่วมมือ จากหนว่ ยงานตน้ สงั กัด เงินสนับสนุนการจัดการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน (โครงการเรยี นฟรี 15 ป)ี อาทิ ทนุ ส�ำหรับเด็กเล็กในพนื้ ที่ห่างไกล จ�ำนวน 500 ทนุ ต่อปี (ทุนละ 5,000 บาทต่อป)ี เงนิ สนับสนุนจากภาคสว่ นอื่น น�ำมาจดั สรรและซ้อื วัสดุอปุ กรณส์ �ำหรับการเรียนการสอน ประเด็นความยากล�ำบากในการบรหิ ารจดั การที่สะท้อน ความเหลือ่ มลา้ํ เชิงพืน้ ท่ี เงินอุดหนุน/ การสนับสนนุ งบประมาณ ผ้ปู กครองและนักเรียน กศน. และโรงเรยี น ภาพ: myguestionth.com 54 การบูรณาการความร่วมมอื เพ่อื ลดความเหลอื่ มล้�ำทางการศกึ ษา กรณศี ึกษาจังหวัดน่าน เงินอดุ หนนุ /การสนับสนุนงบประมาณ  งบฯ มีจ�ำกัด จ�ำเป็นต้องจัดสรรเงินอุดหนุนรายหัว (ค่าจัด การเรียนการสอน) ภาคเรียนละ 200,000 บาท และต้องกันเงินอุดหนุน รายหัวมาช�ำระค่าไฟฟ้า (ไม่เกิน 13,000 บาท) ค่าวัสดุฝึกอาชีพ มีงบประมาณจ�ำกัดและ ไม่สามารถจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ที่มีคุณภาพ ส�ำหรบั ฝึกอาชีพได้  งบประมาณที่ได้รับจัดสรรแต่ละปี ไม่แน่นอน อาทิ การจดั การศึกษาบนพ้ืนทีส่ งู ไดร้ ับ การสนับสนุนเฉพาะการศึกษาต่อเน่ืองเท่าน้ัน ไม่ครอบคลุมโครงการรู้หนังสือบนพื้นที่สูง และ โครงการพระราชดำ� ริ  ต้องซ้ือวัสดุต่างๆ ท่ีน�ำมาจากพ้ืนราบ ซง่ึ สว่ นใหญ่มรี าคาสงู กวา่ ผู้ปกครอง/ผู้เรียน  นกั เรยี น กศน. ไดค้ ะแนน O-NET ตำ่� เนอ่ื งจากนกั เรยี น กศน. สว่ นใหญ่ มลี ักษณะตา่ งจากนักเรยี นในระบบ (มักเป็นวัยรุ่นทม่ี ปี ญั หา)  ผู้เรยี น กศน. มีความหลากหลายมากกว่านกั เรียนในระบบท่วั ไป เน่อื งจากครอบคลมุ คนทกุ ชว่ งวัยในชุมชน การบรู ณาการความรว่ มมอื เพื่อลดความเหลื่อมล้ำ� ทางการศึกษา 55 กรณศี ึกษาจงั หวัดน่าน กศน. / โรงเรียน  ครทู ท่ี ำ� งานใน กศน. ตำ� บล แตล่ ะแหง่ มภี าระงานมากเนอื่ งจาก มเี พยี งคนเดยี ว และตอ้ งดแู ลนกั เรยี น ไมน่ อ้ ยกวา่ 40 คนตอ่ หนง่ึ ภาคเรยี น (กศน.จดั การเรยี นการสอน4ภาคเรยี น สำ� หรบั ทกุ ระดบั ) รวมทง้ั ตอ้ งทำ� งานอนื่ อาทิ การเงนิ ธรุ การ และครอู ตั ราจา้ งตอ้ งประเมนิ ตนเอง เพอ่ื เบกิ คา่ ตอบแทน ให้ตนเอง  ครู กศน. จ�ำเป็นต้องปรับตัวเรียนรู้กับชุมชน เพ่ือเข้าใจวิถี ชวี ติ ชุมชนและสร้างสรรค์ชุมชนบนพนื้ ท่ีสูง  รายวชิ าทผี่ เู้ รยี นกศน.ตอ้ งเรยี นมเี ปน็ จำ� นวนมากซง่ึ ไมส่ อดคลอ้ ง กับวถิ ีชวี ติ ของผู้เรียน และตารางสอบถี่ (ขณะน้อี ยรู่ ะหว่างปรบั เปน็ กลุม่ วิชา)  การเรียนออนไลน์มีความยากล�ำบาก ส�ำหรับพื้นท่ีน่าน (ท�ำได้ แค่ 50%)  การพฒั นาครูด�ำเนนิ การปีตอ่ ปีเท่านั้น อาทิ การอบรมครูใหม่  กศน. ไมม่ ีศกึ ษานเิ ทศก์ เพอื่ ใหค้ �ำแนะน�ำ 56 การบูรณาการความรว่ มมือเพื่อลดความเหลือ่ มล�้ำทางการศกึ ษา กรณีศกึ ษาจังหวัดน่าน โครงการสำ� คญั อื่นๆ เพื่อลดความเหลอื่ มล�ำ้ ทางการศกึ ษา โครงการส่งเสรมิ การฟังการพดู ภาษาไทย ชนเผ่าในพ้ืนท่ีสูงสามารถสื่อสารและติดต่อราชการโดยใช้ภาษา ไทยได้ และมีโครงการสอนภาษาไทย โดยให้เด็กนักเรียนมาช่วยสื่อสาร กบั ผ้ปู กครอง โครงการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ผ้เู รียน เรยี นไมต่ ำ่� วา่ 200 ชัว่ โมงใน 4 ภาคเรยี น อาทิ การไปวัด โครงการศึกษาในรายวชิ าทเ่ี กิดจากความต้องการของผเู้ รียน อาทิ หลกั สตู รการทำ� ฝายชะลอนำ้� ภายใตโ้ ครงการสรา้ งปา่ สรา้ งรายได้ เพ่ือให้ผู้เรียนน�ำไปประยุกต์ใช้ในวิถีชีวิตจริง และเป็นไปตามพระราชด�ำริ ของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ในการฟน้ื คืนป่าเพ่อื ให้ประชาชนมีรายไดจ้ ากปา่ โครงการการจดั การศกึ ษาทางไกล (กสทช.) ผเู้ รียนแบง่ เปน็ 2 กลุ่ม คอื 1) กลุ่มผเู้ รียนทลี่ งทะเบยี นเรยี นเพอ่ื ไดร้ ับ วฒุ กิ ารศกึ ษา เรยี นตามหลกั สตู ร กศน. และ 2) กลมุ่ ผเู้ รยี นทตี่ อ้ งการเรยี นรู้ เพอ่ื ประกอบอาชพี เปน็ การศกึ ษาตอ่ เนอื่ งตามความสนใจ หลกั สตู รมาจาก ความต้องการของชุมชนและผ่านการเรียนรู้ท่ีหลากหลายรูปแบบ อาทิ วิทยากร/การฝึกอบรม (หลักสูตรไม่เกิน 30 ชม.) และกิจกรรมส่งเสริม การร้หู นงั สอื (กล่มุ เป้าหมายคือผู้ไมร่ ้หู นังสือ ปลี ะประมาณ 70 คน) การบูรณาการความร่วมมอื เพ่อื ลดความเหล่ือมลำ�้ ทางการศึกษา 57 กรณีศกึ ษาจังหวัดนา่ น กรณีศึกษาสถานศกึ ษาสังกดั สพฐ. อำ� เภอบ่อเกลือ โรงเรยี นบา้ นบอ่ หลวง  นักเรียนรวม 218 คน โดยมคี รูและบคุ ลากรจ�ำนวน 20 คน  โรงเรยี นไดร้ บั เงนิ สนบั สนนุ การจดั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานจากตน้ สงั กดั (โครงการเรยี นฟรี 15 ปี) และไดร้ ับการสนับสนุนองคค์ วามรู้ วสั ดุ อุปกรณ์ ปัจจัยการศึกษาจากภาคสว่ นอ่ืนๆ  โรงเรียนบ้านบ่อหลวงจัดการเรียนการสอนที่เน้นพัฒนาการเรียนรู้ และสร้างอาชีพเป็นหลัก อาทิ ชมรมเถ้าแก่น้อย รวมทั้งด�ำเนินการร่วมกับ กศน. และปราชญ์ชาวบ้าน ท�ำผลิตภัณฑ์ขายที่กาดละอ่อน เพื่อสร้าง รายได้ให้ผู้เรยี น เน่ืองจากเด็กส่วนใหญไ่ มส่ ามารถเรยี นต่อสายสามญั ได้ ประเดน็ ความยากล�ำบากในการบรหิ ารจดั การทีส่ ะทอ้ น ความเหล่อื มล�ำ้ เชิงพนื้ ที่ เงินอดุ หนุน/การสนับสนุนด้านงบประมาณ  เงินอุดหนุนรายหัวท่ีได้รับจัดสรรไม่สอดคล้องกับบริบทพื้นท่ี เน่อื งจากโรงเรยี นตั้งอยใู่ นพ้นื ท่หี า่ งไกล และมคี า่ ใช้จา่ ยในการเดินทาง ดังน้ัน โรงเรียนจ�ำเป็นต้องบริหาร จัดการงบประมาณเพ่ือจัดอาหาร กลางวนั ให้ครบ 5 หมู่ รวมท้ังพัฒนา สาธารณูปโภคพื้นฐาน โดยอาศัย แหลง่ เงนิ อืน่ 58 การบรู ณาการความรว่ มมอื เพอื่ ลดความเหลอื่ มล้�ำทางการศึกษา กรณีศกึ ษาจงั หวดั นา่ น  โรงเรียนมีค่าใช้จ่ายส�ำหรับสิ่งปลูกสร้าง/งบลงทุนสูงกว่าโรงเรียน พื้นราบ เน่ืองจากค่าวัสดุมีราคาสูงกว่า 2-3 เท่า รวมทั้งประสบปัญหา ผูร้ บั เหมาทง้ิ งาน จำ� เป็นตอ้ งจ้างผู้รบั เหมาในพ้ืนท่ี ผปู้ กครอง/ผเู้ รียน  นักเรียนพักอยู่ไกลจากโรงเรียน เส้นทางสัญจรค่อนข้างล�ำบาก โรงเรียนจึงจัดบ้านพักนอน ส�ำหรับ นักเรียนโรงเรียนบ้านบ่อหลวง 27 คน และในโรงเรยี นสาขา 30 คน) เพอื่ ลด ปัญหานักเรียนขาดเรียน ซึ่งงบ ภาพ: technologychaoban.com ประมาณที่ สพฐ. จัดให้เป็นงบประมาณส�ำหรับครูที่ดูแลเด็กพักนอน ในโรงเรยี นหลกั เทา่ นนั้ ไมม่ งี บประมาณสนบั สนนุ สำ� หรบั โรงเรยี นสาขา โรงเรยี นจงึ ตอ้ งจา้ งบคุ ลากรดแู ลเองในอตั รา 9,000 บาท/เดอื น จำ� นวน 1 คน  ผู้ปกครองมีฐานะยากจน และส่วนใหญ่ไม่สามารถอ่านและ เขียนภาษาไทย ท�ำให้ไม่สามารถช่วยสอนการบ้านหรือเอาใจใส่ดูแล ด้านการศึกษาของนกั เรยี นเมอ่ื อยู่บ้านได้ การบรู ณาการความร่วมมอื เพ่อื ลดความเหล่อื มล้�ำทางการศึกษา 59 กรณีศกึ ษาจงั หวัดนา่ น โรงเรียน  มีความแตกต่างในด้านวัฒนธรรม ชนเผ่าล๊ัวะ และชนพื้นเมือง ซึ่งตอ้ งจัดใหเ้ รียนและอยูร่ ่วมกนั ได้  โรงเรยี นตอ้ งรบั ภาระคา่ ใช้จ่ายจากนกั เรียนพักนอน เชน่ คา่ ไฟ ประมาณเดือนละ 1,900 บาท (คิดเป็น 22,800 บาท/ปี) และมีค่าใช้จ่าย เพ่ิมเติมส�ำหรับ ผงซักฟอก สบู่ แชมพู ประมาณเดือนละ 2,300 บาท (27,600 บาท/ป)ี  โรงเรียนไม่มีส่ือเทคโนโลยี เชน่ Tablet โทรศัพท์มือถือ โทรทัศน์ กล่องรบั สัญญาณ เพือ่ รองรบั การจดั การเรยี นรู้ผ่านเทคโนโลยี  นักเรียนได้รับสารอาหารไม่เพียงพอเม่ือกลับไปอยู่บ้าน โดยโรงเรียนตอ้ งจัดโครงการอาหารกลางวันเพ่อื ให้เด็กมอี าหารรบั ประทาน ครบถว้ น  โรงเรียนต้องซ้ือน้�ำส�ำหรับ ให้นักเรียนด่ืมและประกอบอาหาร วนั ละ8-10ถงั ๆละ20บาทเนอ่ื งจาก น้�ำจากระบบประปาภูเขาขุ่นและ มีตะกอน โรงเรียนจ�ำเป็นต้องสร้าง ภาพ: bangkokbiznews.com ฝายเพอื่ ใหม้ นี ำ�้ สะอาด โดยโรงเรยี น ไดร้ บั การสนบั สนนุ จากบรษิ ทั เอกชนในการสรา้ งฝายประมาณ 90,000 บาท 60 การบรู ณาการความรว่ มมือเพือ่ ลดความเหลือ่ มล้�ำทางการศึกษา กรณีศึกษาจังหวดั นา่ น ความคดิ เห็นเพิม่ เตมิ 1. ผู้ปกครองบางส่วนไม่ได้เรียนหนังสือหรือเรียนน้อย ไม่ได้ใช้ ภาษาไทยเปน็ หลกั ไมส่ ามารถสอื่ สารดว้ ยภาษาไทยได้ สง่ ผลใหไ้ มส่ ามารถ ช่วยโรงเรียนสนบั สนนุ การเรียนของบุตรหลานได้ 2. เด็กมีภาวะโภชนาการต�่ำ เน่ืองจากผู้ปกครองมีฐานะยากจน เม่ือแม่ตั้งครรภ์ไม่ได้รับสารอาหารที่เพียงพอเพื่อบ�ำรุงสมองและไม่มี ความรูใ้ นการส่งเสรมิ พัฒนาการของเด็ก 3. มีการแต่งงานกันภายในครอบครัว ท�ำให้มีความใกล้ชิดกัน ทางพันธุกรรม 4. ครอบครัวมีฐานะยากจน เด็กต้องตามผู้ปกครองไปท�ำไร่ท�ำสวน ทำ� ให้ขาดเรยี นบอ่ ย 5. เดก็ ไมม่ เี ปา้ หมายในการเรยี นทช่ี ดั เจน ทำ� ใหข้ าดแรงจงู ใจในการเรยี น 6. ผปู้ กครองและเดก็ คดิ วา่ การทดสอบ O-NET และ NT ไมม่ คี วามสำ� คญั ต่อการเรียนต่อและการดำ� รงชวี ติ การบูรณาการความรว่ มมอื เพ่อื ลดความเหลื่อมลำ�้ ทางการศกึ ษา 61 กรณีศกึ ษาจงั หวัดน่าน โรงเรียนบ่อเกลือ เปน็ โรงเรยี นมธั ยมประจำ� อำ� เภอ(ม.1-ม.6)มนี กั เรยี นประมาณ500คน โดยจดั ทพ่ี กั นอนสำ� หรบั นกั เรยี น (158 หอพกั ) และมนี กั เรยี น 62 คน ไดร้ บั ทนุ จากสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ผลการดำ� เนนิ งานโดดเดน่ อาทิ ร่วมแข่งขันสุนทรพจน์ ค่ายดนตรี งานศิลปะ และโรงเรียนได้รางวัล ภาพ: ข้อมูลสิ่งกอ่ สร้าง สพฐ. ยุวเกษตรกร 3 รางวัล โรงเรียนเน้น ส่งเสริมอาชีพ (O-NET ต�่ำ แต่ทักษะชีวิตสูง) จัดหลักสูตรระยะส้ันกับ อาชวี ศกึ ษา อาทิ ดนตรี กฬี า (แชมปฟ์ ตุ ซอล) การทำ� รว้ั คาวบอย การทำ� กาแฟ ตดั ผม นวดฝ่าเทา้ สหกรณ์ ศิลปะ ประเดน็ ความยากล�ำบากในการบริหารจดั การทส่ี ะทอ้ น ความเหลื่อมล�้ำเชงิ พืน้ ที่ เงนิ อดุ หนนุ /การสนบั สนุนดา้ นงบประมาณ  เงนิ อดุ หนนุ รายหวั ทไี่ ดร้ บั จดั สรรไมส่ อดคลอ้ งกบั บริบทพน้ื ที่ เนื่องจากโรงเรยี นต้ังอยใู่ นพ้ืนท่ีห่างไกล และงบประมาณล่าชา้  โรงเรียนขาดงบซ่อมแซมอาคารที่พักนอน งบพัฒนาสื่อ เทคโนโลยี และงบซ่อมบ�ำรุงยานพาหนะ รถโรงเรียนต้องท�ำประกัน ช้ันหนึ่งและต้องเปล่ียนยางบ่อยเน่ืองจากสภาพถนน จึงต้องอาศัย การบริหารจัดการจากเงนิ อุดหนุนรายหัว 62 การบรู ณาการความร่วมมอื เพอื่ ลดความเหลือ่ มล�ำ้ ทางการศึกษา กรณีศึกษาจงั หวัดน่าน ผู้ปกครอง/ผ้เู รียน  นกั เรยี นตอ้ งเดนิ เทา้ หลายชว่ั โมง เพอ่ื ใหถ้ งึ ถนนทร่ี ถโรงเรยี น มารับ โดยโรงเรียนจัดใหม้ ีรถรับ-สง่ ทุกเย็นวนั ศกุ ร์ และวนั อาทิตย์ ส�ำหรบั นกั เรยี นพกั นอน  ผปู้ กครองไม่มีทดี่ ินทำ� กิน เพราะตดิ เขตอทุ ยานแห่งชาติ โรงเรยี น  คะแนน O-NET ไมด่ ี เนอ่ื งจากนกั เรยี น สว่ นใหญม่ าจากครอบครวั ทยี่ ากลำ� บาก ไมม่ ี ความพร้อมทางการศึกษา และคา่ ใชจ้ า่ ย ในการพานกั เรยี นไปสอบ O-NET ทอี่ ำ� เภอปวั ครง้ั ละ 50,000 บาท  ไม่สามารถสืบค้นข้อมูลทาง อินเทอร์เน็ตได้ ซ่ึงโรงเรียนต้องจัดหา อินเทอร์เน็ตเพิ่มเติม เน่ืองจากต้นสังกัด จัดสรรใหไ้ มพ่ อเพียง  โรงเรยี นประสบปญั หาครูย้ายบ่อย ภาพ: thematter.co การบรู ณาการความร่วมมอื เพอื่ ลดความเหลือ่ มล้ำ� ทางการศกึ ษา 63 กรณศี กึ ษาจังหวดั น่าน โรงเรียนบา้ นสะปนั ประเด็นความยากลำ� บากในการบรหิ ารจัดการท่ีสะท้อน ความเหลื่อมลำ้� เชงิ พืน้ ที่  โรงเรยี นบ้านสะปัน ขาดความพรอ้ มด้านสาธารณปู โภค  มีนักเรียนพักนอน 51 คน (อนบุ าล – ป.6) ซ่งึ เด็กเลก็ ก่อนอนบุ าล ไม่ได้รับสนับสนุนงบประมาณส�ำหรับอาหารกลางวัน โรงเรียนต้องให้ครู หมุนเวียนมาดูแลเดก็ พกั นอน สง่ ผลให้ครูมีภาระงานหนัก  ครูขาดขวัญก�ำลังใจ ครูและผู้อ�ำนวยการโรงเรียนโยกย้ายบ่อย เน่ืองจากได้รับเงินค่าตอบแทนเท่ากับครูและผู้อ�ำนวยการโรงเรียน ในพ้ืนท่รี าบ  ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนบ้านสะปันเสนอให้มีการคัดเลือกนักเรียน ในพื้นท่ีเพ่ือเรียนและกลับมาเป็นครูในพื้นท่ี รวมทั้งเสนอให้ก�ำหนดเกณฑ์ พิจารณาวิทยฐานะส�ำหรับโรงเรียนพื้นที่สูงเป็นกรณีเฉพาะ และพัฒนา สญั ญาณอนิ เทอรเ์ น็ต เพื่อเพม่ิ โอกาสดา้ นเทคโนโลยี การสง่ งาน การเรยี น การสอนออนไลน์ 64 การบรู ณาการความรว่ มมอื เพ่ือลดความเหลอื่ มลำ้� ทางการศกึ ษา กรณีศึกษาจังหวัดน่าน ข้อเสนอแนะ ความคดิ เห็นเพิ่มเตมิ เกย่ี วกบั โรงเรยี นบนพน้ื ที่สูง  โรงเรยี นพนื้ ทส่ี งู ควรมเี กณฑว์ ดั ผลสมั ฤทธเิ์ ปน็ การเฉพาะเหมอื นกบั โรงเรียนพระปริยัติธรรม ซึ่งมี B-NET แทน O-NET เน่ืองจากมีบริบทและ ความจ�ำเปน็ แตกต่างจากโรงเรยี นท่ัวไป  ควรมีการศึกษากฎระเบียบในการส่งเสริมให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถนิ่ มสี ว่ นร่วมสนบั สนนุ การศกึ ษาในพน้ื ท่ี อาทิ การใหย้ ืมเงนิ มาทดรองจา่ ยลว่ งหนา้ การอุดหนนุ การศึกษาและสาธารณสขุ ในพืน้ ท่ี  เกณฑ์การประเมินผลการด�ำเนินงานของโรงเรียนอาจมี หลากหลายมิติ ยกตัวอย่างกรณีขององค์กรเอกชนที่พิจารณาให้รางวัล จาก 3 ดา้ น ไดแ้ ก่ (1) ผลการทำ� งาน (ก�ำไร) (2) พัฒนาการหรอื การปรบั ตวั (improvement) (3) เปรียบเทียบกับคู่แข่ง อาทิ พิจารณาเปรียบเทียบกับ โรงเรียนทบ่ี รบิ ทระดบั เดยี วกัน  การลดความเหล่ือมล้�ำ ควรมีการศึกษาและด�ำเนินการในเร่ือง ตา่ งๆ อาทิ การเปลยี่ นแปลงกฎระเบยี บ เพือ่ ใหเ้ กดิ ความยตุ ิธรรมมากข้นึ และการปรับเงินอดุ หนุนรายหวั โดยอาจท�ำ Sandbox ประมาณ 2-3 ปี การบรู ณาการความร่วมมือเพื่อลดความเหลื่อมล�ำ้ ทางการศกึ ษา 65 กรณีศกึ ษาจังหวดั น่าน สรปุ ประเดน็ สาระส�ำคญั จากการลงพ้ืนท่ี 1. สภาพบริบทพ้ืนท่ี ผู้ปกครอง/ ผู้เรียน และโรงเรียนท่ีลงพื้นที่ศึกษา ขอ้ มูล - ผู้ปกครองและผู้เรียนเป็นกลุ่ม ชาติพนั ธ์ุ อาทิ มง้ เมย่ี น ลั๊วะ ไทลอ้ื ซ่ึงไม่ได้ ใชภ้ าษาไทยเป็นภาษาหลักในการส่อื สาร - โรงเรียนตั้งอยู่บนพ้ืนท่ีสูงในจังหวัดน่าน ซึ่งส่วนใหญ่ติดกับ เขตอุทยานแห่งชาติและเดิมเคยเป็นพื้นที่เส่ียงด้านความม่ันคง (เส้นทาง ผ่านยาเสพติด) - โรงเรียนตั้งอยู่ห่างไกลจากตัวเมือง การเดินทางมีความยาก ล�ำบากเนื่องจากไม่มีรถโดยสารประจ�ำทาง และใช้เวลาในการเดินทาง (ไป-กลบั ) 2. ประเดน็ ความยากลำ� บากทสี่ ง่ ผลตอ่ ความเหลอ่ื มลำ้� ทางการศกึ ษา 2.1 การเดนิ ทาง - การเดินทางที่ยากล�ำบากและใช้เวลาในการเดินทาง ส่งผลต่อค่าใช้จ่ายในการเดินทางเพื่อติดต่อราชการ การจัดกิจกรรม และการมาเรียน รวมถึงต้นทุนในการ จัดกิจกรรม/โครงการ เน่ืองจากสินค้า วัตถุดิบประกอบอาหารวัสดุอุปกรณ์ ต่างๆ ในพื้นที่สูงมีราคาสูงกว่า พ้นื ราบ 66 การบูรณาการความรว่ มมือเพื่อลดความเหลือ่ มล�้ำทางการศกึ ษา กรณีศึกษาจงั หวัดน่าน 2.2 การจัดการเรยี นการสอน - โรงเรียนจ�ำเป็นต้องจัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมส�ำหรับ เด็กปฐมวัย เน่ืองจากเด็กส่วนใหญ่ไม่สามารถสื่อสารด้วยภาษาไทยได้ ทำ� ให้มพี ัฒนาการล่าช้า - โรงเรยี นมีข้อจ�ำกดั ในการเรียนการสอนผา่ นสื่ออเิ ล็กทรอนิกส์ เนื่องจากขาดอินเทอร์เน็ตและปัญหาไฟฟ้าดับ รวมทั้งผู้ปกครองหรือ ผู้เรียนไมม่ ีอุปกรณส์ �ำหรับเรียนผ่านสื่อออนไลน์ (โทรศัพท์ คอมพิวเตอร์) - โรงเรียนประสบปัญหาครูไม่ครบช้ัน โดยเฉพาะครูภาษาอังกฤษ ประกอบกับผู้ปกครองให้ความส�ำคัญกับการประกอบอาชีพมากกว่า การศึกษาตอ่ 2.3 การบรหิ ารจดั การ - เงินอุดหนุนรายหัวท่ีได้รับจัดสรรไม่เพียงพอ เน่ืองจาก มีจ�ำนวนนักเรียนน้อย ซ่ึงโรงเรียนส่วนใหญ่ต้องกันเงินอุดหนุนส�ำหรับ ค่าจัดการเรียนการสอน (เงินรายหัว) และคา่ สาธารณปู โภค - โรงเรยี นจำ� เปน็ ตอ้ งดแู ล ทั้งด้านการศึกษาและอาหารส�ำหรับ ผู้เรียน เน่ืองจากผู้ปกครองส่วนใหญ่ ไ ม ่ รู ้ ห นั ง สื อ แ ล ะ มี ฐ า น ะ ย า ก จ น ไม่สามารถสอนการบ้านและจัดหาอาหารที่มีสารอาหารครบถ้วนตามหลัก โภชนการให้แกบ่ ตุ รหลานได้ - โรงเรยี นมคี า่ ใชจ้ า่ ยในการดแู ลนกั เรยี นพกั นอน อาทิ คา่ ใชจ้ า่ ย ส่วนตัวของนักเรียน ค่าอาหาร ซึ่งโรงเรียนไม่ได้รับจัดสรรเจ้าหน้าที่ หรือบคุ ลากรเฉพาะในการดูแลนกั เรียนพักนอน การบรู ณาการความรว่ มมอื เพื่อลดความเหลื่อมล�ำ้ ทางการศึกษา 67 กรณีศึกษาจงั หวัดนา่ น 3. ขอ้ เสนอแนะ 1) ควรศกึ ษาและปรบั กฎระเบยี บทเี่ ปน็ อปุ สรรคตอ่ การสนบั สนนุ งบประมาณด้านต่างๆ เพ่ือให้สอดคล้องกับความจ�ำเป็นของพ้ืนที่ ราบสงู อาทิ คา่ ใชจ้ า่ ยรายหวั นกั เรยี น ค่าอาหารกลางวัน การจัดสรร บรรจุ แต่งตั้งครูในโรงเรียน stand alone อยา่ งเพยี งพอ รวมถงึ สวสั ดกิ ารสำ� หรบั การปฏิบัติงานของบุคลากรในพื้นที่ พเิ ศษ 2) ปรับหลักสูตรการเรียนการสอนที่เน้นการพัฒนาคุณภาพชีวิต และทักษะที่ส�ำคัญจ�ำเป็น จัดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน ที่หลากหลายตามบริบทและศักยภาพของนักเรียนแต่ละคน โดยเฉพาะ การส่งเสริมการศึกษาเพ่ือการมีงานท�ำให้สอดคล้องกับกลุ่มอาชีพ ทส่ี รา้ งรายได้สูงในจังหวัดน่าน 3) ปรับเกณฑ์การวัดผลสัมฤทธิ์และประเมินผลการด�ำเนินงาน ของโรงเรยี นพ้นื ทส่ี งู โดยเฉพาะ เนื่องจากมบี รบิ ทและความจ�ำเป็นแตกตา่ ง จากโรงเรียนทั่วไป 4) โรงเรียนควรจัดที่พักนอนส�ำหรับนักเรียนท่ีมีความยากล�ำบาก ในการเดินทางมาเรียน 5) ขยายสัญญาณอินเทอร์เน็ตให้ครอบคลุม เพื่อสร้างโอกาส ใหแ้ กน่ กั เรียนและชุมชนในการเรียนรทู้ เี่ พมิ่ ขึน้ 6) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้สนับสนุนการศึกษาในพื้นท่ี อาทิ การให้ยืมเงินทดรองจ่ายล่วงหน้า การอุดหนุนการศกึ ษา และสาธารณสขุ ในพนื้ ที่ 68 การบรู ณาการความร่วมมอื เพื่อลดความเหล่ือมล้ำ� ทางการศึกษา กรณศี ึกษาจงั หวดั น่าน เอกสารอา้ งอิง คณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา. (ม.ป.ป.). แผนการปฏิรูป ประเทศด้านการศกึ ษา. ม.ป.ท. พระราชบญั ญตั กิ องทนุ เพอ่ื ความเสมอภาคทางการศกึ ษา พ.ศ. 2561. ราชกจิ จานเุ บกษา เล่ม 135 ตอนที่ 33 ก. สำ� นกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั นา่ น.(2562).ขอ้ มลู สารสนเทศทางการศกึ ษา จังหวัดน่าน 2562. สืบค้นจาก https://drive.google.com/file/d/ 1GeOIvHRXGTi-5hMfHksL5NY__AdN7uf3/view เม่อื วันท่ี 3 สงิ หาคม 2563. _____.(2562).แผนบรหิ ารจดั การโรงเรยี นขนาดเลก็ (พ.ศ. 2563 – 2564) จังหวัดน่าน. สืบค้นจาก http://www.esbuy.net/_files_school/ 00001033/document/00001033_0_20191101-100200.pdf เมอ่ื วันที่ 3 สงิ หาคม 2563. สำ� นกั งานสถติ จิ งั หวดั นา่ น. (2563). รายงานสถติ จิ งั หวดั นา่ น พ.ศ. 2562. สบื คน้ จาก http://nan.nso.go.th/images/attachments/article/314/ รายงานสถติ ิ%20พ.ศ.%202562.pdf เมอื่ วันท่ี 11 สิงหาคม 2563. สำ� รวย ผัดผล. (2563). การน�ำเสนอข้อมลู เรือ่ ง กรณีศึกษาการบรหิ าร พ้ืนท่ีรูปแบบพิเศษ “น่าน แซนด์บ็อกซ์”. การประชุมระดม ความคดิ เหน็ เรอื่ ง การบรู ณาการความรว่ มมอื เพอื่ ลดความเหลอื่ มลำ้� ทางการศกึ ษา : กรณศี ึกษาจงั หวัดน่าน เมอ่ื วนั ที่ 31 สงิ หาคม 2563. ณ โรงแรมเวยี งแกว้ จงั หวัดน่าน. การบูรณาการความร่วมมือเพื่อลดความเหลื่อมล�ำ้ ทางการศกึ ษา 69 กรณศี กึ ษาจงั หวัดน่าน รายชอื่ ผเู้ ขา้ ร่วมประชมุ ระดมความคิดเหน็ เรื่อง การบูรณาการความร่วมมือ เพือ่ ลดความเหลื่อมลำ�้ ทางการศึกษา : กรณศี กึ ษาจังหวดั น่าน คณะอนุกรรมการสภาการศกึ ษาด้านการปฏิรปู เพ่ือลดความเหลอื่ มลำ้� ทางการศกึ ษา ศาสตราจารยด์ ิเรก ปทั มสิรวิ ฒั น ์ ประธานอนุกรรมการ นายกิติ มาดิลกโกวิท อนุกรรมการ รองศาสตราจารยพ์ เิ ศษอ�ำนาจ บวั ศิร ิ อนุกรรมการ นายกิตตพิ นั ธ์ ใจดี อนุกรรมการ นางสาวอุษณยี ์ ธโนศวรรย์ อนกุ รรมการ นายจรญั วงศส์ วสั ดิ์ อนุกรรมการ นายทรงศร กลั ยา ณ สนุ ทร อนุกรรมการ พันต�ำรวจโทหญงิ จิตตมิ า เจือไทย อนกุ รรมการ นางสรุ รี ตั น์ ต.สวุ รรณ อนกุ รรมการ นางศริ พิ ร ศริพันธ ุ์ อนุกรรมการ นางสาวกิง่ กาญจน์ เมฆา อนุกรรมการและเลขานุการ นางสาวปัทมา เอี่ยมละออง ผู้ชว่ ยเลขานุการ นายจริ วทิ ย์ ไทภวู ไพบลู ย ์ ผู้ช่วยเลขานุการ 70 การบรู ณาการความร่วมมอื เพื่อลดความเหลอื่ มล้�ำทางการศึกษา กรณศี ึกษาจังหวดั นา่ น ผทู้ รงคณุ วุฒิ/ผรู้ ่วมสงั เกตการณ์ ผู้ช่วยศาสตราจารยส์ ุวมิ ล เฮงพฒั นา คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ นางสาวชยาภรณ์ สทิ ธิสันต ิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลา้ ธนบรุ ี น่าน นายมนต์ชัย นีซัง มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบรุ ี น่าน นายชนะกรณ์ อุปจักร์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลา้ ธนบรุ ี น่าน นายพงศกร กติ ิราช มหาวิทยาลยั เทคโนโลย ี พระจอมเกลา้ ธนบรุ ี น่าน ขา้ ราชการและบุคลากรของสำ� นกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา นางสาววลั ภา เลก็ วัฒนานนท์ นกั วิชาการศึกษาชำ� นาญการพิเศษ นางสาวอไุ รวรรณ พนั ธ์สุจริต นกั วิชาการศกึ ษาช�ำนาญการพิเศษ นางสาวจอมหทยาสนทิ พงษ์เสฐียร นักวิชาการศึกษาช�ำนาญการพเิ ศษ นางสาวทศั นยี ์ ชุ่มช่นื ดี นกั วิชาการศึกษาชำ� นาญการ นางสาวกนกวรรณ ศรลี าเลิศ นักวิชาการศกึ ษาชำ� นาญการ นางสาวสุภารตั น์ ศรหี ลัก นกั วิชาการศกึ ษาช�ำนาญการ นางสาวศลิษา ใจสมุทร นักวชิ าการศึกษาช�ำนาญการ นายวรจักร จองศักดิ ์ นักวชิ าการศกึ ษาปฏิบัตกิ าร นายสภุ าชยั พนั ธเ์ ดช พนักงานธุรการ การบูรณาการความรว่ มมือเพื่อลดความเหล่อื มลำ้� ทางการศึกษา 71 กรณศี ึกษาจังหวัดน่าน ขา้ ราชการและบคุ ลากรของหนว่ ยงานในพื้นท่ี นางยุพิน บัวคอม ศึกษาธกิ ารจงั หวดั นา่ น นายสมเรจ็ อุดแดง ผอู้ �ำนวยการสำ� นกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศกึ ษานา่ น เขต 1 นายประสทิ ธิ์ ไชยวงษ ์ ผอู้ �ำนวยการสำ� นกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษา ประถมศกึ ษานา่ น เขต 2 นายประพันธ์ ทองพราว ผู้อำ� นวยการสำ� นกั งาน กศน. จังหวัดน่าน นายนิมิตร หงสนันทน ์ ผอู้ �ำนวยการ กศน. อำ� เภอเฉลมิ พระเกียรติ รกั ษาการในตำ� แหนง่ ผูอ้ ำ� นวยการ กศน. อำ� เภอบ่อเกลือ ด.ต.ชมุ พล ยอดออน ครใู หญ่โรงเรียน ตชด.พีระยานเุ คราะหฯ์ 3 นายวชิ าญ ปวนสุรินทร ์ ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนบา้ นปางเป๋ย นายสทิ ธพิ ล พรมมินทร์ ผอู้ �ำนวยการโรงเรยี นภูคาวทิ ยาคม นายพรเทพ เสนนนั ตา ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนบอ่ เกลอื นางสุจิตรา ยาวไิ ชย ผอู้ �ำนวยการโรงเรยี นบา้ นบอ่ หลวง นางจงกล แกว้ โก ผอู้ ำ� นวยการโรงเรยี นบ้านสะปนั นายกนั ต์กฤช ไชยโพธ ์ิ ผ้อู �ำนวยการโรงเรยี นบ้านก่ิวน�ำ้ นายประสทิ ธ์ิ กาแก้ว ผอู้ �ำนวยการโรงเรยี นบ้านน้ำ� ปัวพฒั นา นายเตชวัฒน์ อุดอ้าย ผูอ้ ำ� นวยการโรงเรยี นบ้านป่าหัด นายปกรณ์ ศศิวัจนไ์ พสฐิ ผู้อ�ำนวยการโรงเรยี นบา้ นสวา้ นายจริ ะพงษ์ คำ� วงค ์ ผู้อ�ำนวยการโรงเรยี นบา้ นปงสนุก นายอภิรัตน์ เชียงหนุ้น ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนพนาสวรรค์ นายสมพงษ์ กันยะ ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพ ต�ำบลภคู า นายส�ำรวย ผัดผล นายกองค์การบรหิ ารสว่ นตำ� บลเมืองจงั นายภานวุ ธุ บูรณพรหม นายกองคก์ ารบรหิ ารส่วนต�ำบลผาสิงห์ นายอรุณ อินปา กำ� นนั ต�ำบลภูคา นายสมัคร ยอดออน ผใู้ หญ่บา้ นสว่าง ต�ำบลหนองแดง 72 การบรู ณาการความรว่ มมือเพื่อลดความเหล่อื มล้ำ� ทางการศกึ ษา กรณศี กึ ษาจงั หวดั น่าน คณะผู้จัดทำ� ท่ปี รึกษา เลขาธกิ ารสภาการศึกษา รองเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา นายอำ� นาจ วิชยานุวัติ รองเลขาธกิ ารสภาการศึกษา นางสาวอษุ ณยี ์ ธโนศวรรย ์ ผูอ้ �ำนวยการสำ� นักประเมนิ ผล นายพีรศกั ดิ์ รตั นะ การจดั การศกึ ษา นางศิริพร ศรพิ นั ธุ ์ ผ้สู ังเคราะห์รายงาน และบรรณาธิการ นางสาวก่งิ กาญจน์ เมฆา ผอู้ �ำนวยการกลุม่ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา นายจิรวิทย์ ไทภวู ไพบูลย ์ นักวิชาการศึกษาชำ� นาญการพเิ ศษ ผสู้ รุปสาระสำ� คัญจากการลงพ้นื ทป่ี ระชมุ ระดมความคิดเห็นฯ ณ จงั หวัดนา่ น นางสาวปทั มา เอี่ยมละออง ผอู้ ำ� นวยการกลมุ่ วเิ คราะห์การเงนิ การคลัง และเศรษฐศาสตร์ ทางการศึกษา นางสาวอุไรวรรณ พันธส์ ุจริต นักวิชาการศกึ ษาช�ำนาญการพิเศษ นายจริ วทิ ย์ ไทภูวไพบูลย ์ นักวิชาการศกึ ษาช�ำนาญการพเิ ศษ นางสาวจอมหทยาสนทิ พงษ์เสฐยี ร นกั วชิ าการศึกษาชำ� นาญการพเิ ศษ การบูรณาการความร่วมมือเพอ่ื ลดความเหลือ่ มลำ้� ทางการศึกษา 73 กรณีศึกษาจงั หวดั น่าน ผรู้ วบรวมสถิติ สารสนเทศ วิเคราะหข์ อ้ มูล และออกแบบอินโฟกราฟกิ นายวรจักร จองศกั ด์ ิ นักวชิ าการศกึ ษาปฏบิ ตั ิการ ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ ผูอ้ ำ� นวยการกล่มุ ติดตามและประเมนิ ผล การจัดการศกึ ษา นางสาวก่งิ กาญจน์ เมฆา นักวิชาการศกึ ษาชำ� นาญการพิเศษ นักวชิ าการศึกษาชำ� นาญการ นายจิรวทิ ย์ ไทภวู ไพบลู ย์ นกั วิชาการศึกษาชำ� นาญการ นางสาวทศั นยี ์ ช่มุ ชื่นดี นักวิชาการศึกษาชำ� นาญการ นางสาวกนกวรรณ ศรลี าเลศิ นักวชิ าการศึกษาปฏิบตั กิ าร นางสาวสภุ ารัตน์ ศรหี ลกั นกั วชิ าการศึกษาปฏบิ ตั กิ าร นายวรจกั ร จองศกั ด์ ิ นายธนกฤต ศรกี ิตตพิ งศ ์ หนว่ ยงานทร่ี ับผดิ ชอบ สำ� นักประเมินผลการจัดการศกึ ษา ส�ำนกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ 74 การบรู ณาการความรว่ มมอื เพื่อลดความเหลอ่ื มล�ำ้ ทางการศกึ ษา กรณีศกึ ษาจงั หวัดนา่ น ส�ำนกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา 99/20 ถนนสุโขทยั เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 โทร. 0 2668 7123 โทรสาร 0 2243 7915

โรงเรียนสตรีวิทยา 2 มีห้องอะไรบ้าง

A: โรงเรียนสตรีวิทยา 2 แบ่งห้องการเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายออกเป็น 2 แบบคือ ห้องเรียนปกติและห้องเรียนพิเศษ โดยแต่ละประเภทแบ่งสายการเรียนดังนี้ ห้องเรียนปกติ - ห้องเรียนกลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ - ห้องเรียนกลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ-คณิตศาสตร์

โรงเรียนสตรีวิทยา 2 มีแอร์ไหม

ภาคเรียนละ 500 บาท ภาคเรียนละ 1,500 บาท ภาคเรียนละ 1,000 บาท ภาคเรียนละ 800 บาท 3. ค่าสาธารณูปโภคห้องเรียนปรับอากาศทุกห้อง 4. ค่าจ้างครูที่มีความเชี่ยวชาญในสาขาเฉพาะ 5. ค่าจ้างบุคลากรปฏิบัติงานในสถานศึกษา นักเรียนโครงการห้องเรียนพิเศษทุกห้อง (ห้องเรียนทั่วไป ชำระคนละ 4,600 บาท / วิทย์ คณิตฯ ม.ต้น, สสวท./สวอน.

โรงเรียนสตรีวิทยา 2 มีนักเรียนชายไหม

ที่เปิดรับสมัครเป็นของโรงเรียนสตรีวิทยาหญิงล้ว น หรือเป็นโรงเรียนสตรีวิทยา 2. ค่ะที่มีทั้งหญิงและชายค่ะ

สตรีวิทย์มีกี่ที่

โรงเรียนสตรีวิทยา 2. โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล (โรงเรียนสตรีวิทยา 3) โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา 2 (โรงเรียนสตรีวิทยา 4) โรงเรียนสตรีวิทยาอุปถัมภ์