การ ต นแอน เมช น 2 ม ต ในadobe flash

การ ต นแอน เมช น 2 ม ต ในadobe flash

Creative Insider (T.porjai) Download

  • Publications :0
  • Followers :0

Adobe Flash CS6 เบื้องต้น

Adobe Flash CS6 เบื้องต้น

Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!

Create your own flipbook

View Text Version Likes : 0 Category : All Report

  • Follow
  • Upload
  • 0
  • Embed
  • Share

Adobe Flash CS6 เบื้องต้น

เทคนิคการสร้างการ์ตูนด้วย Adobe Flash ผู้ศึกษาควรมีความรู้เกี่ยวกับ Flash บ้าง โดยจะอธิบายพื้นฐานการสร้างภาพเคลื่อนไหวและการใช้เครื่องมือต่างๆ ของ Flash ทำภาพเคลื่อนไหว นอกจากนี้ยังเปิดเผยเทคนิคต่างๆ ที่ใช้ทำภาพเคลื่อนไหว รวมถึงการใส่เสียงและการแปลงไฟล์งาน Flash เป็นวิดีโออีกด้วย

ทั้งหมด 28 คลิป ลองดูใน playlist ครับ หวังว่าคงเป็นประโยชน์

https://www.youtube.com/playlist?list=PLaG0Kj0cO4IiJD65xCRqL7CwBXH3GDD_D

1. รีวิวการสร้างการ์ตูนด้วย Adobe Flash บทนี้จะเป็นการรีวิวให้ชมว่า Flash นั้นสามารถทำงานการ์ตูได้อย่างไร เพื่อให้เราเข้าใจภาพรวมทั้งหมด และรู้จุดประสงค์ในการทำงานของเรา สำหรับผู้ที่ต้องการเรียนรู้ Flash Cartoon & Animation ควรมีความรู้ Flash พื้นฐานมาก่อนแล้ว

การ ต นแอน เมช น 2 ม ต ในadobe flash

2. ทำไมต้องใช้ Adobe Flash สร้างการ์ตูน บทนี้จะทำให้เรารู้ว่าทำไม Adobe Flash จึงเป็นเครื่องที่นำมาใช้ในการสร้างการ์ตู­นหรือภาพเคลื่อนไหวได้อย่างสมบูรณ์

การ ต นแอน เมช น 2 ม ต ในadobe flash

3. รู้จักส่วนต่างๆ ของ Flash บทนี้จะเป็นบทที่ทำให้เรารู้จัก Flash ว่าหน้าตาเป็นอย่างไร และส่วนประกอบของ Flash เป็นอย่างไร

4. การใช้งานและปรับแต่ง Flash เบื้องต้น บทนี้จะเป็นการเริ่มต้นการใช้งาน Flash รวมถึงการปรับแต่งให้เหมาะสมกับการใช้งานของเราด้วย

5. รู้จักกับ Symbol และ Instance บทนี้เป็นบทสำคัญที่เราจะต้องเข้าใจ Symbol รูปแบบต่างๆ เพื่อจะนำไปใช้งานได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ เมื่อเราเข้าใจ Symbol และ Instance แล้วการนำมาใช้ก็ง่ายนิดเดียว

6. การใช้งาน Movie clip บทนี้เราจะสอนการใช้งาน Movie clip และทำความเข้าใจ Movie clip ทั้งการสร้างและการเอาไปใช้งาน

7. การใช้งาน Button Button เป็นรูปแบบของปุ่มกด บทนี้เราจะสอนการสร้างและการมช้งาน Button

8. การใช้งาน Graphic Graphic เป็นอีกรูปแบบของ Symbol ที่ดูเหมือนไม่มีอะไร แต่กลับเป็นส่วนสำคัญที่ไม่ควรมองข้าม

9. การวางโครงเรื่อง ก่อนการสร้าง Animation เราควรวางแผนการสร้างงานของเราก่อน ไม่ใช่ทำไปคิดไป ซึ่งมีวิธีการดังนี้

10. การวางแผนและการใช้ Scene การทำงานมีหลายรูปแบบ แต่การทำงานที่ทำให้เราทำเสร็จอย่างมีประสิทธิภาพ และนำมาแก้ไขภายหลังได้อย่างไม่สับสน ทำกันอย่างไร

11. รู้จักกับภาพเคลื่อนไหว บทนี้เราจะมารู้จักกับภาพเคลื่อนไหวว่ามีแบบไหนบ้าง เพื่อที่เราจะเอารูปแบบต่างๆ นี้มาปรับใช้กับงานของเรา

12. การทำงานของ Timeline Timeline เป็นส่วนสำคัญของการสร้าง Animation เพราะงานที่เราสร้างแต่ละตัวจะอยู่บน Timeline

13. ภาพเคลื่อนไหวแบบ Shape tween Shape tween เป็นการสร้างภาพเคลื่อนไหวอีกรูปแบบหนึ่งที่ทำให้ภาพๆ กลายเป็นภาพอีกภาพหนึ่งด้วยเทคนิคของ Flash

14. กำหนดการเคลื่อนไหวด้วย Shape hints บางครั้ง Shape tween ก็ไม่เคลื่อนไหวไปตามรูปแบบที่เราต้องการ แต่ก็สามารถแก้ได้ด้วย Shape hints

15 ภาพเคลื่อนไหวแบบ Motion tween Motion tween เป็นการเคลื่อนไหวพื้นฐานของ Flash ซึ่งการเคลื่อนไหวนี้จะมีการใช้งานทั่วไป รวมถึงการปรับการเคลื่อนไหวด้วย

16. ปรับการเคลื่อนไหวด้วย Free transform Free transform เป็นการปรับการเคลื่อนไหวต่อเนื่องจากการทำ Motion tween ซึ่งจะทำการ Animation ให้สมจริงและหลากหลายมากยิ่งขึ้น

17. ภาพเคลื่อนไหวกับ Bone tool Bone tool เป็นเครื่องมือที่มีลักษณะการเชื่อมต่อกันคล้ายกับว่าวัตถุนั้นมีกระดูก ซึ่ง Bone tool จะให้การงานในรูปแบบข้อต่อให้ง่ายขึ้น

18. ภาพเคลื่อนไหวกับ Bind tool เป็นการเคลื่อนไหวอีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งทำให้การเคลื่อนไหวมีรูปแบบที่หลากหลายมากยิ่งขึ้น

19 การใช้ Filter Filter จะช่วยให้งานของเราง่ายขึ้น โดยการใส่ Filter ลงในวัตถุและทำให้วัตถุเปลี่ยนไปตาม Filter ที่เราเลือก

20. การสร้างเงาให้เคลื่อนไหวตาม บทนี้เป็นการประยุกต์ใช้ความรู้ต่างๆ ของงาน Animation ที่ผ่านมา ในรูปแบบของเงาที่ดูเหมือนจริง

21. เทคนิคการทำควัน การสร้างควันนี้เป็นการนำเทคนิคพื้นฐานที่เราเรียนรู้ไปแล้ว มาปรับใช้อีกทั้งยังสามารถทำให้เป็นรูปร่างต่างๆ ได้อีกด้วย

22. เทคนิคการลอกลายด้วย Flash Flash สามารถลอกลายจากภาพหรือ Di-cut ภาพได้อย่างเหมือนจริงและสวยงามโดยที่ไม่ต้องพึ่งโปรแกรมอื่น

23. เทคนิคการเดิน สิ่งหนึ่งที่เป็นปัญหาของงาน Animation มือใหม่ก็คือการเดินของตัวละคร ที่ทำให้เหมือนจริงและสวยไม่ง่ายเลย เรามาดูเทคนิคกันว่าทำกันอย่างไร

24. เทคนิคภาพเคลื่อนไหวด้วย Mask Layer Mask Layer เป็นการกำหนดให้เห็นเฉพาะพื้นที่ที่เราต้องการ ซึ่งสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้อีกมาก

25. การนำเข้าเสียงและการใช้ Flash สามารถนำเข้าเสียงและปรับใช้ได้หลายรูปแบบ อีกทั้งยังกำหนดให้เสียงแสดงตามที่เราต้องการได้อีกด้วย จนเราคิดไม่ถึว่า Flash ทำงานกับเสียงได้ถึงขนาดนี้ 26. การปรับและตัดเสียง บทนี้เป็นบทต่อเนื่องจากบทที่แล้ว โดยบทนี้เราจะทำการปร้บและตัดต่อเสียงให้แสดงตามที่เราต้องการ เช่น การให้เสียงแสดงที่ลำโพงซ้ายหรือขวา หรือตัดเสียงให้แสดงเฉพาะจุดที่ต้องการ

27. การแปลงไฟล์รูปแบบต่างๆ หลังจากที่ทำ Cartoon เสร็จแล้วคราวนี้เราจะแปลงไฟล์เป็นรูปแบบที่เราต้องการ ซึ่ง Flash ก็พร้อมสำหรับให้เราแปลงไฟล์ได้หลายรูปแบบและสามารถกำหนดค่าต่างๆ ได้

28. การแปลง Flash เป็นไฟล์วิดีโอ บทนี้เป็นการแปลงไฟล์ออกมาในรูปแบบไฟล์วิดีโอ ซึ่ง Flash ก็รองรับไว้หลายแบบ อีกทั้งเรายังสามารถตั้งค่าอื่นๆ สำหรับงานวิดีโอที่จะออกมาได้ด้วย

สุดท้ายนะครับ เนื่องจากว่าเมื่อประมาณ 3-4 ปีก่อน ฮาร์ดดิสค์ผมเสียและคลิปวิดีโอ ที่ทำไว้เพื่อสอนช่วงนั้นก็หายสาปสูญไปด้วยจำนวนมาก แต่เมื่อ 3-4 วันก่อนผมพบไฟล์ที่ back up ไว้ โดยที่ไม่คิดว่าจะมีเหลือ ผมจึงคิดว่าน่าเอามาแบ่งปันให้เป็นประโยชน์มากกว่าปล่อยให้มันหายไปอีกครั้ง ปล. หน้าตาของโปรแกรม version ปัจจุบันกับ version นี้แทบไม่แตกต่างกัน

ชื่อสินค้า: Adobe Flash

คะแนน:

การผลิตสื่อแอนิเมชั่นใช้หลักการอะไร

ปิยกุล เลาวัณย์ศิริ (2532 : 931-932) ได้สรุปหลักการและคุณสมบติของภาพยนตร์แอนิเมชั่นเอาไว้ดังนี้ 1. สามารถใช้จินตนาการได้อย่างไม่มีขอบเขต 2. สามารถอธิบายเรื่องที่ซับซ้อนและเข้าใจยากให้ง่ายขึ้น 3. ใช้อธิบายหรือแสดงความคิดเห็นที่เป็นนามธรรมให้เป็นรูปธรรมได้

โปรแกรม Flash CS3 คืออะไร

Flash CS3 เป็นผลิตภัณฑ์ที่พัฒนามาเพื่อสนับสนุนการสร้างงานกราฟิก ทั้งภาพนิ่ง และ ภาพเคลื่อนไหว ส าหรับการน าเสนอผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต Flash มีฟังก์ชันช่วยอ านวยความสะดวก ใน การสร้างผลงานหลากหลายรูปแบบ ตลอดจนชุดค าสั่งโปรแกรมมิ่งที่เรียกว่า Flash Action Script ที่เพิ่ม ประสิทธิภาพในการท างาน และสามารถคอมไพล์ (Compile ...

Frame ในโปรแกรม Adobe Flash คืออะไร

Frame มีลักษณะเป็นช่องสี่เหลี่ยมเล็กที่เรียงกันเป็นแถวยาว ทาหน้าที่บรรจุภาพและเสียงที่จะ จัดวางบน Stage เราจึงต้องจัดเรียงเรื่องราวบน Frame เพื่อแสดงออกมาเป็น Flash Movie โดยแต่ละ Frame จะถูกแสดงเมื่อมีการผ่านของ Playhead ซึ่ง Playhead ตัวนี้เองจะเป็นตัววิ่งผ่าน Frame แต่ ละ Frame เพื่อแสดงภาพและเสียงที่บรรจุอยู่ใน ...

ประเภทงานที่สร้างจากโปรแกรม Adobe Flash มีกี่ประเภท อะไรบ้าง

งาน Flash นั้นแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ งาน Online (งานบนเว็บไซต์ที่ต้องดูผ่านระบบอินเทอร์เน็ต) และงาน Offline (งานที่เปิดบนคอมพิวเตอร์โดยไม่ต้องต่อระบบอินเทอร์เน็ต) สัญลักษณ์ไฟล์ของโปรแกรม Flash มีดังนี้ ไฟล์ .fla เป็นไฟล์ต้นฉบับของโปรแกรม Flash โปรแกรมที่ใช้เขียน Flash. สามารถแก้ไขได้ และ compile ให้เป็นไฟล์ .swf ...