ม.พ น.27 พล.ม.2 รอ ร อยเช อกรองเท า

- การคัดกรองพัฒนาการเด็ก หมายถึง ความครอบคลุมของการคัดกรองเด็กอายุ 9, 18, 30 และ 42 เดือน ณ ช่วงเวลาที่มีการคัดกรองโดยเป็นเด็กในพื้นที่ (Type1 มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน ตัวอยู่จริงและType3 ที่อาศัยอยู่ในเขต แต่ทะเบียนบ้านอยู่นอกเขต)

- เด็กพัฒนาการสงสัยล่าช้า หมายถึง เด็กที่ได้รับตรวจคัดกรองพัฒนาการโดยใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย(DSPM)และผลการตรวจคัดกรองพัฒนาการตามอายุของเด็กในการประเมินพัฒนาการครั้งแรกผ่านไม่ครบ 5ด้าน ทั้งเด็กที่ต้องแนะนำให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง ส่งเสริมพัฒนาการตามวัย 30 วัน (1B261) รวมกับเด็กที่สงสัยล่าช้า ส่งต่อทันที(1B262) (เด็กที่พัฒนาการล่าช้า/ความผิดปกติอย่างชัดเจน)

- เด็กพัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการติดตาม หมายถึง เด็กที่ได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการตามอายุของเด็กในการประเมินพัฒนาการครั้งแรกผ่านไม่ครบ 5 ด้าน เฉพาะกลุ่มที่แนะนำให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง ส่งเสริมพัฒนาการตามวัย 30 วัน (1B261) แล้วติดตามกลับมาประเมินคัดกรองพัฒนาการครั้งที่ 2

- เด็กพัฒนาการสมวัย หมายถึง เด็กที่ได้รับตรวจคัดกรองพัฒนาการโดยใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย(DSPM) แล้วผลการตรวจคัดกรอง ผ่านครบ 5 ด้าน ในการตรวจคัดกรองพัฒนาการครั้งแรก รวมกับเด็กที่พบพัฒนาการสงสัยล่าช้าและได้รับการติดตามให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ และประเมินซ้ำแล้วผลการประเมิน ผ่านครบ 5 ด้านภายใน 30 วัน(1B260)

- เด็กพัฒนาการล่าช้า หมายถึง เด็กที่ได้รับตรวจคัดกรองพัฒนาการโดยใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย(DSPM) แล้วผลการตรวจคัดกรอง ไม่ผ่านครบ 5 ด้าน ในการตรวจคัดกรองพัฒนาการครั้งแรกและครั้งที่ 2 (1B202, 1B212, 1B222, 1B232, 1B242)

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ หน่วยของค่า Aคน นิยามของค่า Aจำนวนเด็ก 9, 18, 30 และ 42 เดือน ที่ได้รับตรวจคัดกรองพัฒนาการโดยใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย(DSPM) แล้วผลการตรวจคัดกรอง ผ่านครบ 5 ด้าน ในการตรวจคัดกรองพัฒนาการครั้งแรก รวมกับเด็กที่พบพัฒนาการสงสัยล่าช้าและได้รับการติดตามให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ และประเมินซ้ำแล้วผลการประเมิน ผ่านครบ 5 ด้านภายใน 30 วัน(1B260) หน่วยของค่า Bคน นิยามของค่า Bจำนวนเด็กอายุ 9,18,30 และ 42 เดือน ทั้งหมดในเขตรับผิดชอบที่ได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการจริง ในช่วงเวลาที่กำหนด หน่วยของค่า C นิยามของค่า C หน่วยของค่า D นิยามของค่า D หน่วยของค่า E นิยามของค่า E หน่วยของค่า F นิยามของค่า F สูตรคำนวนตัวชี้วัด((A+B)/C)*100 Operator>= เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 85 ของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ประชากรกลุ่มเป้าหมายเด็กอายุ 9, 18, 30 และ 42 เดือน ทั้งหมดในเขตรับผิดชอบที่ได้จากการสำรวจและมีเด็กอยู่จริง ค่าเป้าหมาย85.00 Max Value100.00 วิธีการจัดเก็บข้อมูล

สถานบริการสาธารณสุขทุกระดับ นำข้อมูลการการประเมินพัฒนาการเด็ก บันทึกในโปรแกรมหลักของสถานบริการฯ เช่น JHCIS HosXP PCU เป็นต้น และส่งออกข้อมูลตามโครงสร้างมาตรฐาน 43 แฟ้ม

แหล่งข้อมูล

สถานบริการสาธารณสุขทุกแห่ง/ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงไม่ ตัวชี้วัดระดับเขตไม่ ตัวชี้วัดระดับจังหวัดใช่ ตัวชี้วัดสำคัญไม่ ตัวชี้วัด Area Baseไม่ Tags43 แฟ้ม ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 1, 2, 3 และ 4 (ไม่สะสม) ข้อมูล Baseline

ตัวชี้วัด

Baseline

data*

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2558

2559

2560

1.ร้อยละของเด็กอายุ 9,18, 30 และ 42 เดือน ที่ได้รับการคัดกรองพัฒนาการเด็ก (ความครอบคลุม) *(HDC 2560)

80.5

ร้อยละ

ไม่มีข้อมูล

ไม่มีข้อมูล

80.5

2.ร้อยละเด็กที่ได้รับการคัดกรองพัฒนาการและพบพัฒนาการสงสัยล่าช้า **(HDC 2560)

16.0

ร้อยละ

ไม่มีข้อมูล

12.0

16.0

3. ร้อยละของเด็กที่ได้รับการคัดกรองพัฒนาการพบพัฒนาการสงสัยล่าช้า และได้รับการติดตาม*(HDC 2560)

73.3

ร้อยละ

ไม่มีข้อมูล

57.0

73.3

4.ร้อยละของเด็กอายุ 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย*(HDC 2560)

95.8

ร้อยละ

ไม่มีข้อมูล

90.6

95.8

*ผลงาน HDC ตค 2559 – กย 2560 ณ. 12 พย.2560

หมายเหตุ : การตั้งค่าเป้าหมายปี 2561 ที่ร้อยละ 85 คิดจากข้อมูลทางวิชาการ พบว่า

1. เด็กที่มีโรคพัฒนาการล่าช้า (Developmental Disabilities) มีค่าประมาณอยู่ที่ ร้อยละ 3.5 - 24.0 (โดยเฉพาะประเทศสหรัฐอเมริกาพบที่ร้อยละ 13.9 และประเทศอิสราเอลพบที่ร้อยละ 8.9 )

2. มีรายงานการพบเด็กที่มีโรคพัฒนาการล่าช้า (Developmental Disabilities) เพิ่มขึ้นในระยะเวลา 12 ปี (1997-2008) ประเทศสหรัฐอเมริกาพบเพิ่มขึ้น ร้อยละ 17.1 ประเทศไต้หวันพบเพิ่มขึ้น ร้อยละ 20.0

ดังนั้นการตั้งค่าเป้าหมายเด็กที่มีพัฒนาการสมวัยที่ ร้อยละ 85 จึงเป็นค่าเฉลี่ยที่อ้างอิงจากข้อมูลดังกล่าว

เกณฑ์การประเมินผล

กำหนดค่าเป้าหมายที่จะทำให้สำเร็จ 4 ตัวชี้วัด ดังนี้

ตัวชึ้วัด : ร้อยละของเด็กอายุ 9, 18, 30 และ 42 เดือน ที่ได้รับการคัดกรองพัฒนาการพบพัฒนาการสงสัยล่าช้า (ตรวจครั้งแรก) และได้รับการติดตาม ภายใน 30 วัน ไม่น้อยกว่า

เผยแพร่: 29 ม.ค. 2553 13:20 โดย: MGR Online

ศูนย์ข่าวนครราชสีมา- กำลังพลกองทัพภาคที่ 2 และหน่วยขึ้นตรง แห่ตบเท้าแสดงพลังป้องสถาบันกองทัพพร้อมกันถึง 4 หน่วยหลัก รวมทั้งให้กำลังใจ “อนุพงษ์” ผบ.ทบ.และไม่เห็นด้วยกับทหารนอกแถว ไร้วินัยไม่เคารพผู้บังคับบัญชาสร้างความแตกแยกทำกองทัพเสื่อมเสีย ตะเพิด “เสธ.แดง” หยุดพฤติกรรมถ่อยเถื่อนทันที ลั่นยืนหยัดรักษาเกียรติทหารหาญปกป้องชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ตราบชีวิตหาไม่

วันนี้ (29 ม.ค.) ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ที่ จ.นครราชสีมา กำลังพลสังกัดกองทัพภาคที่ 2 และหน่วยขึ้นตรง ได้พร้อมใจกันรวมพลแสดงพลังปกป้องสถาบันกองทัพบก พร้อมให้กำลังใจ พล.อ.อนุพงษ์ เผ่าจินดา ผู้บัญชาการทหารบก (ผบ.ทบ.) และไม่เห็นด้วยกับทหารบางคนที่ไม่เคารพผู้บังคับบัญชาสร้างความแตกแยกให้กับกองทัพ พร้อมกันถึง 4 หน่วยหลัก

โดยเฉพาะที่สนามหน้ากองบัญชาการช่วยรบที่ 2 (บชร.2) ค่ายสุรนารี กองทัพภาคที่ 2 อ.เมือง จ.นครราชสีมา เวลา 09.30 น. พล.ต.พจน์ เหรียญมณี ผู้บัญชาการกองบัญชาการช่วยรบที่ 2 ได้นำกำลังพลสังกัด บชร.2 กว่า 1,200 นาย ทำพิธีรวมพลังปกป้องสถาบันทหารและปฏิญาณตนเป็นผู้ใต้บังคับบัญชาที่ดีมีระเบียบวินัย

ทั้งนี้ เนื่องจากปัจจุบันมีทหารบางนายไม่เคารพและปฏิบัติตามแบบธรรมเนียมของทหาร ทำให้กองทัพต้องเสื่อมเสียชื่อเสียง และทำให้เกิดการแตกแยกความสามัคคีในหมู่คณะ ซึ่งเป็นแบบอย่างที่ไม่สมควรอย่างยิ่งต่อกำลังพลในกองทัพ ซึ่งกำลังพลของกองบัญชาการช่วยรถที่ 2 ไม่เห็นด้วยกับการกระทำของทหารที่ไม่เคารพระบบอาวุโสและไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของผู้บังคับบัญชา ทหารผู้ใดที่กระทำการอันไม่สมควรต่อผู้บังคับบัญชา และกระทำที่ก่อให้เกิดความเสื่อมเสียต่อกองทัพขอให้ยุติการกระทำดังกล่าว เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับกำลังพลทุกนาย และเพื่อรักษาความสามัคคีในหมู่คณะของเหล่าทหารหาญ ที่รักและภูมิใจในอาชีพและเครื่องแบบที่สวมใส่

นอกจากนี้ กำลังพลของ บชร.2 ขอเป็นกำลังใจให้กับ พล.อ.อนุพงษ์ เผ่าจินดา ผู้บัญชาการทหารบก (ผบ.ทบ.) และผู้บังคับบัญชาทุกระดับในการที่จะต่อสู้และยืนหยัดเพื่อรักษาไว้ซึ่งเกียรติภูมิของเหล่าทหารหาญ และเป็นแบบอย่างที่ดีให้กำลังพลต่อไป และพร้อมเป็นแรงใจแรงกายที่จะปกป้องต่อสถาบันกองทัพ ชาติ ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์ตราบจนชีวิตจะหาไม่

และขอให้คำมั่นว่า “กำลังพลทุกนาย จักเป็นทหารที่ดี มีวินัยและปฏิบัติตามคำสั่งของผู้บังคับบัญชาอย่างเคร่งครัด และจักเคารพปฏิบัติตามแบบธรรมเนียมของทหารต่อไป”