ประว ต สะพาน ม ตรภาพ ไทย ลาว หนองคาย

สะพานมิตรภาพไทย - ลาว แห่งที่ 1 เป็นสะพานข้ามแม่น้ำโขงตอนล่างขนาดใหญ่แห่งแรก เชื่อมระหว่างหนองคาย ประเทศไทย กับนครหลวงเวียงจันทน์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยรัฐบาลออสเตรเลียได้มอบงบประมาณสนับสนุนจำนวน 42 ล้านดอลล่าร์ออสเตรเลีย ในการสำรวจความเป็นไปได้ การออกแบบ และการก่อสร้าง ระหว่างปี พ.ศ. 2534-2537

นับตั้งแต่เปิดใช้ สะพานมิตรภาพแห่งนี้ได้สร้างประโยชน์ให้กับประเทศเพื่อนบ้านทั้งสองทั้งในแง่เศรษฐกิจ การค้า การลงทุน การท่องเที่ยว การแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม การคมนาคมและขนส่ง สะพานไม่เพียงแต่เชื่อมโยงพื้นที่ของสองประเทศในทางกายภาพ แต่ยังเชื่อมโยงจิตใจและส่งเสริมสายสัมพันธ์ระหว่างประชาชนชาวไทยและชาวลาว สะพานแห่งนี้จึงเปรียบเสมือนสัญญลักษณ์แห่งมิตรภาพและความร่วมมือระหว่างออสเตรเลีย ไทย และลาว

ประวัติของสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 1
  • พ.ศ. 2499 – กำเนิดแนวความคิดในการก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำโขงเพื่อเชื่อมระหว่างประเทศไทยและลาว
  • พ.ศ. 2531 - ฯพณฯ พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ นายกรัฐมนตรีไทยในขณะนั้นได้เดินทางไปเยือนลาว ผู้นำคณะรัฐบาลของทั้งสองฝ่ายออกแถลงการณ์ร่วมตกลงในหลักการให้มีการก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำโขงเพื่อเชื่อมหนองคาย-เวียงจันทน์
  • พ.ศ. 2532 – ฯพณฯ โรเบิร์ต ฮอว์ค นายกรัฐมนตรีออสเตรเลียในขณะนั้น เดินทางมาเยือนประเทศไทย และออกแถลงการณ์ในนามรัฐบาลออสเตรเลียที่จะสนับสนุนเงินช่วยเหลือค่าก่อสร้างสะพานผ่านความร่วมมือระหว่างผู้แทนจากไทยและลาว
  • มกราคม พ.ศ. 2533 - มีการลงนามในบันทึกความเข้าใจร่วมกัน ณ ทำเนียบรัฐบาลของไทย บริษัทออสเตรเลีย Maunsell and Partners และบริษัท Sinclair Knight and Partners ได้รับว่าจ้างให้ศึกษาความเป็นไปได้ในการก่อสร้างสะพาน
  • ตุลาคม พ.ศ. 2534 - รัฐบาลออสเตรเลียคัดเลือกบริษัทออสเตรเลีย John Holland Construction Pty Ltd ให้ดำเนินการเป็นผู้รับเหมาก่อสร้างสะพานร่วมกับบริษัท Kin Sun ประเทศไทย
  • พฤศจิกายน พ.ศ. 2534 – พิธีเปิดโครงการก่อสร้างสะพาน สะพานใช้เวลาก่อสร้างประมาณสองปีครึ่ง
  • 8 เมษายน พ.ศ. 2537 – พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดสะพานมิตรภาพไทย – ลาว ร่วมกับ ฯพณฯ หนูฮัก พูมสะหวัน ประธานประเทศแห่งสปป. ลาวในขณะนั้น และ ฯพณฯ พอล คีตติง นายกรัฐมนตรีออสเตรเลียในขณะนั้น
  • 23 เมษายน พ.ศ. 2537 - สะพานมิตรภาพเปิดใช้งานเพื่อการจราจร
  • 5 มีนาคม พ.ศ. 2552 - พิธีเปิดการเดินรถไฟไทย-ลาวบนสะพานมิตรภาพ ช่วยส่งเสริมการคมนาคมระหว่างสองประเทศ
  • 29 เมษายน พ.ศ. 2552 – ออสเตรเลีย ไทย และลาว ร่วมเฉลิมฉลอง 15 ปี ของการเปิดใช้สะพาน
ลักษณะของสะพาน

สะพานแห่งนี้เป็นแบบคอนกรีตอัดแรง เสริมเหล็กแบบ Box Girder มีความยาวทั้งสิ้น 1170 เมตร พื้นผิวจราจรประกอบด้วยช่องจราจร 2 ช่องทาง กว้างช่องทางละ 3.5 เมตร. มีช่องทางเดินทั้งสองข้าง ข้างละ 1.5 เมตร และช่องทางเดินรถไฟตรงกลางกว้าง 1 เมตร ช่วงแม่น้ำประกอบด้วยตอม่อ 6 ตอม่อ ระยะห่างระหว่างตอม่อสะพานช่วงกลางแม่น้ำ 105 เมตร ช่วงบนฝั่งทั้ง 2 ข้าง ประกอบด้วยตอม่อ 8 ตอม่อในฝั่งไทย และ 7 ตอม่อในฝั่งลาว

ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ

สะพานมิตรภาพไทย - ลาว แห่งแรกนี้มีความสำคัญเป็นอย่างมากในการสนับสนุนการพัฒนาทางเศรษฐกิจของประเทศไทยและลาว และยังส่งเสริมสายสัมพันธ์อันแนบแน่นระหว่างสองประเทศ สะพานแห่งนี้อำนวยความสะดวกในการขนส่งสินค้าซึ่งแต่เดิมขนถ่ายกันโดยใช้แพขนานยนต์ และยังเป็นการเปิดทางออกสู่ทะเลโดยสะดวกให้กับประเทศลาว สะพานแห่งนี้ยังคงความสำคัญในด้านการค้า และยังเป็นสัญญลักษณ์แห่งเจตจำนงของออสเตรเลียในการให้ความร่วมมือเพื่อพัฒนาภูมิภาคลุ่มน้ำโขง

ก่อนการเปิดใช้สะพาน สถิติการนำเข้า - ส่งออกผ่านด่านศุลกากรหนองคาย ในปีงบประมาณ 2536 มีมูลค่ารวม 3.6 พันล้านบาท ในปี 2537 มูลค่าได้เพิ่มขึ้น 34 เปอร์เซ็นต์ เป็น 4.8 พันล้านบาท และเพิ่มเป็น 5.3 พันล้านบาทในปี 2538 สถิติล่าสุดในปีงบประมาณ 2554 แสดงมูลค่ารวมการนำเข้า-ส่งออกผ่านด่านศุลกากรหนองคายซึ่งสูงถึง 43 พันล้านบาท

ด้านการคมนาคม ในปีงบประมาณ 2537 มีพาหนะเข้าประเทศไทยผ่านด่านมิตรภาพไทย - ลาว จำนวน 13,518 คัน และออกจำนวน 13,455 คัน ต่อมาภายหลังจากเปิดใช้สะพานแห่งนี้ จำนวนพาหนะเข้า-ออก ได้เพิ่มขึ้นอย่างมาก โดยในปีงบประมาณ 2538 มีพาหนะเข้า 47,293 คัน และออก 48,658 คัน สถิติล่าสุดประจำปีงบประมาณ 2554 มีพาหนะเข้าถึง 419,659 คันและออก 424,841 คัน

ด้านจำนวนจำนวนคนเข้า - ออก ผ่านด่านสะพานมิตรภาพไทย - ลาว ในปีงบประมาณ 2537 มีคนเดินทางเข้าจำนวน 55,085 คน และ ออก 50,100 คน ต่อมาในปีงบประมาณ 2538 ตัวเลขเพิ่มสูงขึ้นโดยมีคนเดินทางเข้าถึง 293,126 คน และออก 292,462 คน สำหรับในปีงบประมาณ 2554 มี คนเดินทางเข้าจำนวน 2,713,495 คน และออก 2,657,100 คน

สะพานแห่งนี้ได้ทำพิธีเปิดเมื่อวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2537 โดยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระมหากษัตริย์แห่งประเทศไทย และนายหนูฮัก พูมสะหวัน ประธานประเทศลาว

ลักษณะของสะพาน[แก้]

สะพานมิตรภาพไทย-ลาว 1แห่งนี้เป็นแบบคอนกรีตอัดแรง เสริมเหล็กแบบ Box Girder มีความยาวทั้งสิ้น 1174 เมตร พื้นผิวจราจรประกอบด้วยช่องจราจร 2 ช่องทาง กว้างช่องทางละ 3.5 เมตร. มีช่องทางเดินทั้งสองข้าง ข้างละ 1.5 เมตร และช่องทางเดินรถไฟตรงกลางกว้าง 1 เมตร ช่วงแม่น้ำประกอบด้วยตอม่อ 6 ตอม่อ ระยะห่างระหว่างตอม่อสะพานช่วงกลางแม่น้ำ 105 เมตร ช่วงบนฝั่งทั้ง 2 ข้าง ประกอบด้วยตอม่อ 8 ตอม่อในฝั่งไทย และ 7 ตอม่อในฝั่งลาว

  • ประว ต สะพาน ม ตรภาพ ไทย ลาว หนองคาย
    ภาพตอนพระอาทิตย์ตกดิน
  • ประว ต สะพาน ม ตรภาพ ไทย ลาว หนองคาย
    ภาพความยาวสะพาน
  • ประว ต สะพาน ม ตรภาพ ไทย ลาว หนองคาย

ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ[แก้]

สะพานมิตรภาพไทย - ลาว แห่งแรกนี้มีความสำคัญเป็นอย่างมากในการสนับสนุนการพัฒนาทางเศรษฐกิจของประเทศไทยและลาว และยังส่งเสริมสายสัมพันธ์อันแนบแน่นระหว่างสองประเทศ สะพานแห่งนี้อำนวยความสะดวกในการขนส่งสินค้าซึ่งแต่เดิมขนถ่ายกันโดยใช้แพขนานยนต์ และยังเป็นการเปิดทางออกสู่ทะเลโดยสะดวกให้กับประเทศลาว สะพานแห่งนี้ยังคงความสำคัญในด้านการค้า และยังเป็นสัญญลักษณ์แห่งเจตจำนงของออสเตรเลียในการให้ความร่วมมือเพื่อพัฒนาภูมิภาคลุ่มน้ำโขง ก่อนการเปิดใช้สะพาน สถิติการนำเข้า - ส่งออกผ่านด่านศุลกากรหนองคาย ในปีงบประมาณ 2536 มีมูลค่ารวม 3.6 พันล้านบาท ในปี 2537 มูลค่าได้เพิ่มขึ้น 34 เปอร์เซ็นต์ เป็น 4.8 พันล้านบาท และเพิ่มเป็น 5.3 พันล้านบาทในปี 2538 สถิติล่าสุดในปีงบประมาณ 2554 แสดงมูลค่ารวมการนำเข้า-ส่งออกผ่านด่านศุลกากรหนองคายซึ่งสูงถึง 43 พันล้านบาท ด้านการคมนาคม ในปีงบประมาณ 2537 มีพาหนะเข้าประเทศไทยผ่านด่านมิตรภาพไทย - ลาว จำนวน 13,518 คัน และออกจำนวน 13,455 คัน ต่อมาภายหลังจากเปิดใช้สะพานแห่งนี้ จำนวนพาหนะเข้า-ออก ได้เพิ่มขึ้นอย่างมาก โดยในปีงบประมาณ 2538 มีพาหนะเข้า 47,293 คัน และออก 48,658 คัน สถิติล่าสุดประจำปีงบประมาณ 2554 มีพาหนะเข้าถึง 419,659 คันและออก 424,841 คัน ด้านจำนวนจำนวนคนเข้า - ออก ผ่านด่านสะพานมิตรภาพไทย - ลาว ในปีงบประมาณ 2537 มีคนเดินทางเข้าจำนวน 55,085 คน และ ออก 50,100 คน ต่อมาในปีงบประมาณ 2538 ตัวเลขเพิ่มสูงขึ้นโดยมีคนเดินทางเข้าถึง 293,126 คน และออก 292,462 คน สำหรับในปีงบประมาณ 2554 มี คนเดินทางเข้าจำนวน 2,713,495 คน และออก 2,657,100 คน

การเฉลิมฉลอง[แก้]

ในระหว่างวันที่ 4 ถึง 8 เมษายน พ.ศ. 2557 ณ หาดจอมมณี จังหวัดหนองคายได้ร่วมมือกับนครหลวงเวียงจันทน์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และประเทศออสเตรเลีย จัดงานเฉลิมฉลองครบรอบ 20 ปี สะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 1 ทางจังหวัดหนองคาย กำหนดจัดการเฉลิมฉลองวันครบรอบ 20 ปี สะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 1 เพื่อเป็นการส่งเสริมความสัมพันธ์ และการท่องเที่ยวระหว่างจังหวัดหนองคายกับนครหลวงเวียงจันทน์ โดยในงานมีการจุดดอกไม้ไฟอย่างยิ่งใหญ่ โดยมีการจุดดอกไม้ไฟตรงกึ่งกลางสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 1 ระหว่างเขตประเทศไทยและเขตประเทศลาว และการแสดงต่าง ๆ ภายในงานด้วย เช่น การแสดงศิลปะวัฒนธรรมของไทย และลาว เป็นต้น

สะพานมิตรภาพไทยลาวใครเป็นคนสร้าง

ตุลาคม พ.ศ. 2534 - รัฐบาลออสเตรเลียคัดเลือกบริษัทออสเตรเลีย John Holland Construction Pty Ltd ให้ดำเนินการเป็นผู้รับเหมาก่อสร้างสะพานร่วมกับบริษัท Kin Sun ประเทศไทย พฤศจิกายน พ.ศ. 2534 – พิธีเปิดโครงการก่อสร้างสะพาน สะพานใช้เวลาก่อสร้างประมาณสองปีครึ่ง

ทำไมถึงสร้างสะพานมิตรภาพไทยลาว

สะพานมิตรภาพไทย - ลาว แห่งแรกนี้มีความสำคัญเป็นอย่างมากในการสนับสนุนการพัฒนาทางเศรษฐกิจของประเทศไทยและลาว และยังส่งเสริมสายสัมพันธ์อันแนบแน่นระหว่างสองประเทศ สะพานแห่งนี้อำนวยความสะดวกในการขนส่งสินค้าซึ่งแต่เดิมขนถ่ายกันโดยใช้แพขนานยนต์ และยังเป็นการเปิดทางออกสู่ทะเลโดยสะดวกให้กับประเทศลาว สะพานแห่งนี้ยังคงความสำคัญใน ...

สะพานมิตรภาพไทยลาวมีเสากี่ต้น

จังหวัดเชียงรายกับประเทศลาวที่บ้านดอน เมืองห้วยทราย แขวงบ่อแก้ว ระยะทาง 2.48 กิโลเมตร รูปแบบของสะพานเป็นคอนกรีตรูปกล่อง (Segmental. Concrete Box Girder) มีเสา 4 เสา กว้าง 14.70 เมตร

สะพานมิตรภาพแห่งแรกระหว่างไทย

สะพานมิตรภาพไทย-ลาว 1 เป็นสะพานข้ามแม่น้ำโขงขนาดใหญ่แห่งแรก โดยเชื่อมต่อหมู่ที่ 1 คุ้มจอมมณี ตำบลมีชัย อำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคายของประเทศไทย เข้ากับบ้านท่านาแล้ง เมืองหาดซายฟอง นครหลวงเวียงจันทน์ของประเทศลาว ตัวสะพานมีความยาว 1,170 เมตร มีทางรถ 2 ช่องจราจร กว้างช่องละ 3.5 เมตร ทางเท้า 2 ช่องทาง กว้างช่องละ 1.5 ...