กล องพลาสต กกล องพ ว ซ ท ม ฝาป ด

                  90 คูมือ การเฝาระวัง ปองกัน ควบคุมโรคพษสารปรอท 2.4) ใชแผนพลาสติกคลุมทับพื้นที่ปนเปอน หรือสวมทับอุปกรณหรือสิ่งของปนเปอนไว เพื่อลดการแพรกระจายของไอปรอท 2.5) ปดประตู หนาตาง พัดลมระบายอากาศ และเครื่องปรับอากาศที่เชื่อมตอระหวางหอง ทมี่ สี ารปรอทรวั่ ไหลกบั สว นทเี่ หลอื ของบา นหรอื อาคารทอี่ าจทําใหเ กดิ การถา ยเทอากาศภายในอาคารจากบรเิ วณ ที่มีการปนเปอนสารปรอทไปยังพื้นที่อื่น ๆ เพื่อปองกันการปนเปอนของไอปรอทไปยังบริเวณพื้นที่อื่น 2.6) เปดประตู หนาตาง พัดลมระบายอากาศออกสูภายนอกตัวอาคาร เพื่อใหมีการระบาย อากาศออกสูภายนอกอาคาร 2.7) ในกรณีสารปรอทหกปนเปอนปริมาณเล็กนอย เชน เทอรโมมิเตอรวัดไขตกแตก ใหดําเนินการเก็บกําจัดตามขั้นตอนขางตนอยางรวดเร็วที่สุด เพื่อใหมีไอปรอทนอยที่สุด 2.8) เตรียมอุปกรณที่จําเปนในการทําความสะอาดสารปรอทที่รั่วไหล ดังนี้ - กลองพลาสติกที่มีฝาปดสนิทหรือถุงซิปหลายๆถุง - ถุงขยะอันตรายหรือถุงขยะหนา2-6มิลลิเมตร - ถุงมือยางแพทยหรือถุงมือไนไตรลปองกันสารเคมีและหนากากปองกัน(ถามี) - กระดาษแข็งหรือแผนลังกระดาษ - กระดาษซับ - หลอดหยอดยาหรือกระบอกฉีดยา - เทปผา - ไฟฉาย - ผงกํามะถัน(เลือกใชไดถามี) 2.9) ควรถอดเครื่องประดับที่เปนโลหะทุกประเภท เชน สรอย กําไล นาิกา แหวน ออกจาก มือและขอมือใหหมด 2.10) สวมใสอ ปุ กรณค มุ ครองความปลอดภยั สว นบคุ คล ไดแ ก หนา กากชนดิ ทปี่ อ งกนั ไอสารเคมี ถงุ มอื ยางหรอื ถงุ มอื ไนไตรลป อ งกนั สารเคมี เสอ้ื คลมุ แวน ตานริ ภยั และ สวมรองเทา ทป่ี ด มดิ ชดิ และสวมถงุ พลาสตกิ หุมรองเทาอีกชั้นหนึ่ง (ถามี) 2.11) เปดไฟเพื่อใหมีแสงสวางภายในพื้นที่ปนเปอน แลวใชไฟฉายสองเพื่อตรวจดูพื้นที่ ของสารปรอทที่ปนเปอน เมื่อสารปรอทกระทบกับแสงจากไฟฉายจะทําใหมีแสงสะทอนใหมองเห็นไดงาย 2.12) ใชปากคีบเก็บเศษแกวของมีคมที่ปนเปอนอยางระมัดระวังใสภาชนะพลาสติกมีฝาปด สนิทปองกันการแทงทิ่มทะลุ 2.13) เกบ็ เศษแกว และรวบรวมไวบ นกระดาษซบั แลว หอ และนําใสถ งุ ซปิ หรอื ภาชนะพลาสตกิ ปดใหสนิท 2.14) ใชก ระดาษแขง็ คอ ย ๆ เขยี่ หยดปรอทเลก็ ๆ มารวมกนั ใหเ ปน หยดใหญข นึ้ เพอื่ ลดพนื้ ทผี่ วิ ของการระเหิดกลายเปนไอ 2.15) หากหยดปรอทที่อยูหางไกลกันมาก ๆ ไมสามารถใชกระดาษแข็งเขี่ยมารวมกันได ใหใชกระบอกฉีดยาพลาสติกดูดเก็บหยดปรอท 2.16) นําหยดปรอทที่เก็บมาในหลอดหยอดยาหรือกระบอกฉีดยา แลวถายเทปรอทลงใน กระดาษที่ชื้นดวยนํ้า หรือใสลงในขวดพลาสติกที่มี Calcium Hydroxide และผงกํามะถันภายใน (ถามี) แลวปดฝาใหสนิทรวบรวมใสถุงซิปและติดฉลากที่เขียนวา “ของเสียสารปรอทปนเปอนอันตราย” ไวที่ขางถุงให มองเห็นชัดเจน                                  

พลาสติกประเภทที่ 4 มีอะไรบ้าง

พลาสติกหมายเลข 4 คือ พอลิเอทิลีนความหนาแน่นต่ำ (Low Density Polyethylene) หรือ LDPE. เป็นพลาสติกที่มีความนิ่ม เหนียว มีความยืดหยุ่น ใส ไม่ทนความร้อน นิยมนำมาทำเป็นฟิล์มห่ออาหารแช่แข็ง ห่อขนมปัง ถุงเย็นบรรจุอาหาร เป็นต้น

พลาสติกประเภทที่ 6 มีอะไรบ้าง

สัญลักษณ์เบอร์ 6: โพลีสไตรีน (PS) เป็นพลาสติกมีลักษณะแข็งและมันวาว แต่เปราะแตกง่าย ยกตัวอย่างเช่น ช้อน ส้อมพลาสติกตามร้านสะดวกซื้อ ภาชนะโฟม ฝาแก้วกาแฟ

พลาสติกกลุ่ม 3 (PVC) จะมีลักษณะเช่นใด

เบอร์ 3 PVC คือ โพลีไวนิลคลอไรด์ (Polyvinylchloride) เป็นพลาสติกที่ทนทานต่อสารเคมีและการขัดถู ใช้ทำท่อน้ำประปา สายยาง แผ่นฟิล์มห่ออาหาร แผ่นพลาสติกทำประตู หน้าต่างและหนังเทียม เฟอร์นิเจอร์ ของเล่น ถุงหูหิ้วขนาดเล็ก ไปจนถึงอุปกรณ์สำนักงาน พลาสติกชนิดนี้มีสารเคมีที่เป็นพิษปะปนอยู่ เมื่อถูกเผาไหม้จะปล่อยสารพิษออกมาจึงไม่ ...

ประเภทของพลาสติกมีกี่ประเภทอะไรบ้าง

ประเภทของพลาสติก 7 ประเภท.

1. PET / PETE /PEพอลิเอทธิลีนเทเรฟธาเลท (Polyethylene Terephthalate) ... .

2. HDPE พอลิเอธิลีนความหนาแน่นสูง (High Density Polyethylene) ... .

3. PVC โพลีไวนิล คลอไรด์ (Polyvinylchloride) ... .

4. LDPE พอลิเอทิลีนความหนาแน่นต่ำ (Low Density Polyethylene) ... .

5. PP พอลิโพรพิลีน (Polypropylene).