การไม ประหย ดต อขนาดการผล ต ม อะไรบ าง

การตรวจลงตราสำหรับคนต่างชาติซึ่งมีอายุไม่ต่ำกว่า 50 ปีบริบูรณ์ ซึ่งประสงค์จะเดินทางเข้าประเทศไทย เพื่อการพักผ่อนต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้

• คนต่างด้าวทุกสัญชาติ อายุ 50 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป (นับถึงวันยื่นคำร้อง)

• ไม่เป็นบุคคลต้องห้ามเดินทางเข้ามาในราชอาณาจักร

• ไม่มีประวัติที่เป็นภัยต่อความมั่นคง ทั้งต่อประเทศไทย และประเทศที่ตนมีสัญชาติหรือประเทศที่ตนมีถิ่นพำนัก

• มีสัญชาติหรือมีถิ่นพำนักถาวรในประเทศที่ตนยื่นคำร้อง

• ไม่เป็นโรคต้องห้ามตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 14 (พ.ศ. 2535) ได้แก่ โรคเรื้อน วัณโรค ในระยะอันตราย โรคเท้าช้าง โรคยาเสพติดให้โทษ โรคซิฟิลิส ระยะที่ 3

• ไม่อนุญาตให้ทำงานในประเทศไทย

การตรวจลงตรา Non-Immigrant Visa รหัส “O-A” (Long Stay) สามารถยื่นคำร้องได้ที่สถานเอกอัครราชทูต หรือสถานกงสุลใหญ่ของไทยในประเทศที่คนต่างด้าวมีสัญชาติหรือในประเทศที่มีถิ่นพำนักเท่านั้น

• หนังสือเดินทางที่มีอายุใช้ได้ไม่น้อยกว่า 18 เดือน

• แบบฟอร์มการขอรับการตรวจลงตรา พร้อมรูปถ่าย และแบบฟอร์มประวัติส่วนตัว จำนวน 3 ชุด (ขอรับแบบฟอร์มได้จากสถานทูตสถานกงสุล)

• หลักฐานด้านการเงิน ได้แก่ สำเนาบัญชีเงินฝาก (Bank Statement) จำนวนเทียบเป็นเงินไทย ไม่น้อยกว่า 800,000 บาท หรือหนังสือรับรองรายได้/เงินบำนาญ (ฉบับจริง) เดือนละไม่น้อยกว่า 65,000 บาท หรือมีบัญชีเงินฝากและรายได้/เงินบำนาญ (ต่อเดือน X 12) รวมกันไม่น้อยกว่า 800,000 บาท (กรณีแสดงสำเนาบัญชีเงินฝาก ให้แสดงหนังสือรับรองจากธนาคารฉบับจริงด้วย)

• ใบรับรองการสอบประวัติอาชญากรรม (Criminal Record) จากประเทศที่ตนมีสัญชาติ หรือจากประเทศที่ตนมีถิ่นพำนัก (ใบรับรองอายุไม่เกิน 3 เดือน)

• ใบรับรองแพทย์จากประเทศที่ยื่นคำร้องที่แสดงว่าไม่เป็นโรคต้องห้ามตามกฎกระทรวงฉบับที่ 14 พ.ศ. 2535 (ใบรับรองมีอายุไม่เกิน 3 เดือน)

• ในกรณีมีความประสงค์จะนำคู่สมรสเข้ามาพำนักในราชอาณาจักรด้วย แต่คู่สมรสไม่มีคุณสมบัติที่จะขอรับการตรวจลงตราประเภท “O-A” (Long Stay) ได้ ให้แสดงหลักฐานทะเบียนสมรส ทั้งนี้ คู่สมรสจะได้รับการพิจารณาให้ได้รับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว รหัส “O” พำนักได้ 3 เดือน

• สำเนาหลักฐานการมีประกันสุขภาพ (ตามที่สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) กำหนด) และสำเนาเอกสารกรมธรรม์ประกันสุขภาพของไทยหรือต่างประเทศ หรือการมีสวัสดิการภาครัฐ หรือหลักประกันอื่น ๆ โดยมีจำนวนเงินเอาประกันสำหรับค่ารักษาพยาบาลโรคทั่วไป รวมทั้งโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) รวมไม่น้อยกว่า 3,000,000 บาท ซึ่งผู้ประสงค์ที่จะขอรับการตรวจลงตราสามารถศึกษาและซื้อกรมธรรม์ผ่านช่องทางออนไลน์ได้ที่เว็บไซต์ longstay.tgia.org

• เมื่อเดินทางเข้ามาในราชอาณาจักรเจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมืองจะประทับอนุญาตให้อยู่ได้ไม่เกิน 1 ปี นับตั้งแต่วันที่เดินทางเข้า

• เมื่อเดินทางเข้ามาพำนักในราชอาณาจักรครบ 90 วัน จะต้องรายงานตนต่อเจ้าหน้าที่ และครั้งต่อไปต้องรายงานตนทุกๆ 90 วัน ซึ่งสามารถรายงานตนต่อเจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมือง ณ ท้องที่ที่ตนพักอาศัย หรือกรณีที่ไม่มีด่านตรวจคนเข้าเมือง ให้รายงานที่สถานีตำรวจในท้องที่ที่ตนพักอาศัย

• การรายงานตนสามารถรายงานโดยส่งทางไปรษณีย์ได้ โดยปฏิบัติดังนี้

  1. ส่งแบบฟอร์มการแจ้งที่กำหนด (แบบ ตม. 47) พร้อมด้วยสำเนาหนังสือเดินทางหน้าที่มีรูปถ่ายและรายละเอียดเกี่ยวกับบุคคลต่างด้าว และหน้าที่ปรากฏการตรวจลงตราประทับขาเข้าครั้งล่าสุด
  2. หากเป็นการแจ้งครั้งที่ 2 ขึ้นไป ให้แนบใบตอบรับการแจ้งครั้งก่อนมาแสดงด้วย
  3. สอดซองเปล่าติดแสตมป์จ่าหน้าซองถึงบุคคลต่างด้าวผู้แจ้ง
  4. ส่งเอกสารทั้งหมดมาทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับ ภายใน 7 วันล่วงหน้าก่อนครบกำหนดทุก 90 วัน มายังงาน กก. 1 งานตรวจคนเข้าเมือง 120 หมู่ 3 ถนนแจ้งวัฒนะ ซอย 7 หลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 ทั้งนี้ สำนักงานตรวจคนเข้าเมืองจะส่งใบตอบรับการแจ้งให้แก่คนต่างด้าวผู้แจ้งไว้ใช้อ้างอิงในครั้งต่อไปด้วย

• เมื่อพำนักในราชอาณาจักรครบ 1 ปี หากประสงค์จะพำนักอยู่ต่อไป ให้ยื่นคำขออยู่ต่อที่สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง โดยแสดงหลักฐานการโอนเงินหรือการมีเงินฝากในราชอาณาจักร จำนวนไม่น้อยกว่า 800,000 บาท หรือหนังสือรับรองรายได้หรือบำนาญเดือนละไม่น้อยกว่า 65,000 บาท อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือรวมกันปีละไม่น้อยกว่า 800,000 บาท หากมีคุณสมบัติครบถ้วนถูกต้องจะได้รับอนุญาตให้อยู่ต่ออีกคราวละ 1 ปี

แต่ถึงแม้ว่าผลการลงทะเบียน K-ETA ของเราจะผ่านแล้ว ก็ยังไม่ใช่ตัวการันตีว่าเราจะเข้าเกาหลีได้แน่นอน จะต้องผ่านการพิจารณาจากเจ้าหน้าที่ตม.ที่เกาหลีอีกครั้ง เราจึงต้องเตรียมตัวในส่วนอื่นๆ ให้พร้อมเสมอ

2. เตรียมเอกสารการเดินทางให้ครบ

การไม ประหย ดต อขนาดการผล ต ม อะไรบ าง
Credit : ammza12 / canva.com

การเตรียมเอกสารการเดินทางแต่ละทริป นับเป็นเรื่องสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่ง ไม่ว่าจะเดินทางไปประเทศไหนก็ตาม ยิ่งเป็นการผ่านด่าน ตม เกาหลี ด้วยแล้วล่ะก็…ยิ่งต้องเตรียมให้พร้อม สิ่งที่ต้องเตรียมก่อนออกเดินทางแต่ละทริปนั้น ก็คือ เช็คพาสปอร์ตว่าใกล้หมดอายุหรือยัง? จะเข้าประเทศนี้ต้องใช้อะไรบ้าง? ส่วนคนที่ไปเที่ยวกับบริษัททัวร์ก็จะมีเจ้าหน้าที่คอยให้คำแนะนำ และช่วยดำเนินการด้านเอกสารให้ค่ะ

เอกสารที่ต้องเตรียมเข้าเกาหลี มีดังนี้

• พาสปอร์ต : เปรียบเสมือนบัตรประชาชนระหว่างที่เราอยู่ต่างประเทศ และต้องมีอายุพาสปอร์ตเหลือมากกว่า 6 เดือน ถึงจะเดินทางได้ ส่วนใครที่มีพาสปอร์ตเล่มเก่าที่เคยใช้เข้าเกาหลีมาก่อนก็พกไปด้วยนะคะ จะได้โชว์เจ้าหน้าที่ได้ ว่าฉันเคยมาเที่ยวแล้วนะ • ใบลงทะเบียน K-ETA : เมื่อผลการลงทะเบียนผ่านแล้วเราจะได้รับใบอนุญาตเดินทาง ส่งมาที่ E-mail หรือเข้าไปเช็คผลการสมัครได้ที่เว็บไซต์ และปริ้นท์ใบอนุญาตออกมาได้เลย • ใบตม. หรือ Arrival Card : ถึงจะลงทะเบียน K-ETA มาแล้วก็ยังต้องกรอกใบตม.นะคะ เป็นใบสำคัญที่ระบุข้อมูลของเรา เช่น ชื่อ-นามสกุล ไฟล์ทบิน ข้อมูลที่พักในทริปนี้ จำนวนวันที่มา อาชีพ รวมถึงจุดประสงค์ในการเข้าเกาหลี ซึ่งเราจะต้องกรอกให้เรียบร้อย และกรอกให้ตรงกับข้อมูลตอนลงทะเบียน K-ETA สามารถรับใบตม.ได้จากแอร์โฮสเตสตอนอยู่บนเครื่องบิน หรือรับที่สนามบินปลายทางเมื่อเดินทางถึง แต่ถ้าใครเดินทางกับทัวร์ก็จะมีเจ้าหน้าที่ของบริษัทจัดการกรอกให้เรียบร้อยเลยค่ะ เราแค่เซ็นชื่อให้เหมือนในพาสปอร์ตเท่านั้นเอง • ใบลงทะเบียน Q-CODE : คือการลงทะเบียนเพื่อขอยกเว้นการกักตัวเกี่ยวกับโรคโควิด-19 ที่เกาหลี ลงทะเบียนได้ที่ >> คลิก เมื่อลงเสร็จแล้วจะได้หน้าที่เป็น QR-Code จะปริ้นท์ออกมา หรือแคปหน้าจอจากมือถือไว้ก็ได้ ใช้แสดงที่ด่านตรวจโรคก่อนที่จะเข้าตม. • ตั๋วเครื่องบินไป-กลับ : สิ่งนี้จะช่วยการันตีได้ว่าเรามาท่องเที่ยว เพราะในใบจองตั๋วเครื่องบินจะระบุข้อมูลวันเดินทางไป-กลับอย่างชัดเจน เป็นการบอกว่าฉันมาเที่ยวแป๊บเดียว เดี๋ยวกลับบ้านแน่นอนจ้า • หลักฐานการจองโรงแรม : เพื่อการันตีว่าเราพักอยู่ที่นี่ • หลักฐานการทำงาน (ควรเป็นภาษาอังกฤษ) : กรณีเป็นข้าราชการ หรือ พนักงานเอกชน สามารถแสดงบัตรประจำตัวพนักงานได้ • สำเนาบัญชีออมทรัพย์ : พร้อมโชว์ยอดเงินคงเหลือ • เอกสารประจำตัว : บัตรประจำตัวประชาชน, ใบขับขี่รถยนต์, สำเนาทะเบียนสมรส • เอกสารเปลี่ยนชื่อ – นามสกุล (ถ้ามี) • เงินวอน : แนะนำว่าควรแลกเงินวอนพกติดตัวไว้ประมาณ 300,000-700,000 วอน (ประมาณ 10,000-20,000 บาท)

นอกนั้นก็อาจจะเตรียมเอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวกับทริปของเรา อย่างเช่น แผนการท่องเที่ยว ตั๋วเข้าชมสถานที่หากซื้อไว้ล่วงหน้า หนังสือข้อมูลท่องเที่ยว โบรชัวร์ต่างๆ ซึ่งเอกสารมากมายที่เราเตรียมไว้นี้ ทางเจ้าหน้าที่อาจจะขอดูหรือไม่ก็ได้ แต่พี่เห็ดแนะนำว่าเตรียมไว้ก่อนเพื่อความสบายใจ ถ้าขอดูก็โชว์ได้ทันที

3. แต่งตัวดี มีชัยไปกว่าครึ่ง

การไม ประหย ดต อขนาดการผล ต ม อะไรบ าง
Credit : 89Stocker / canva.com

แว๊บแรกที่เจ้าหน้าที่จะมองเห็นและสังเกตได้ก็คือ การแต่งตัวของเรานั่นเอง ถือเป็นการตัดสินขั้นแรกแบบง่ายๆ เลยว่าเราจะผ่านหรือไม่ สำหรับการแต่งตัวขอให้ยึดความสุภาพ เรียบง่าย และแต่งตัวเตรียมพร้อมแบบนักท่องเที่ยวจริงๆ ผู้หญิงควรใส่ชุดที่ดูเรียบร้อย ทะมัดทะแมง ไม่โชว์เนื้อโชว์หนังและไม่แต่งหน้าจัดเกินไป ส่วนคุณผู้ชายก็แต่งตัวตามปกติ เสื้อยืด กางเกงขายาว อาจมีเสื้อคลุมสักตัว และสวมรองเท้าผ้าใบ เพื่อการเดินเที่ยวที่สะดวกและคล่องตัว

4. นิ่งสงบ สยบความตื่นเต้น

ดั่งสุภาษิตที่ว่า จะทำการใหญ่ใจต้องนิ่ง จะผ่านตม.เกาหลีก็ยิ่งต้องนิ่งค่ะ นิ่งในที่นี้คือการทำตัวสุขุม ไม่ลนลาน ไม่แสดงความกังวลใดๆ สบตากับเจ้าหน้าที่เวลาพูดคุยหรือตอบคำถาม ยิ้มแย้มแจ่มใส และอาจกล่าวคำทักทายสั้นๆ อย่างเช่น Good Morning ซึ่งจะทำให้คุณดูมีความน่าเชื่อถือ น่าไว้วางใจ และมีบุคลิกที่ดี

5. เตรียมพร้อมตอบคำถาม

สำหรับการเตรียมตัวผ่านด่าน ตม. นั้น เจ้าหน้าที่ก็อาจจะมีการถามคำถามเราบ้าง เพื่อความมั่นใจว่าเรามาเที่ยวจริงๆ ใครอยากผ่าน ตม เกาหลี ไปได้ง่ายๆ ก็ต้องเตรียมตัวกันไว้ก่อน และตอบคำถามด้วยความมั่นใจ ไม่ลังเล โดยคำถามที่เจ้าหน้าที่จะถามก็เป็นคำถามทั่วไปเกี่ยวกับทริปการเดินทางของเรานี่แหละค่ะ อย่างเช่น

• มากับใคร? • มาอยู่กี่วัน? • ไปเที่ยวที่ไหนบ้าง? • ทำงานอะไร? • แลกเงินมาเท่าไหร่?

สิ่งสำคัญอยู่ที่การตอบคำถามกับเจ้าหน้าที่นี่แหละค่ะ พี่เห็ดแนะนำว่า ไม่ว่าจะเดินทางไปเที่ยวประเทศไหนก็ตาม ไม่จำเป็นว่าจะต้องเป็นเกาหลีเท่านั้น ทั้งไปเที่ยวด้วยตัวเอง และ ไปเที่ยวกับบริษัททัวร์ ก็ต้องเตรียมตัวเรื่องการตอบคำถามให้ดี อย่างเช่น

1. ต้องรู้ว่าทริปนี้เราจะเดินทางไปเที่ยวที่ไหนบ้าง อาจจะไม่ต้องละเอียดมาก แต่อย่างน้อยต้องตอบได้ว่า วันแรกจะไปเที่ยวที่ไหน พักโรงแรมอะไร ถ้าตอบไม่ได้แล้วมองหาหัวหน้าทัวร์เพื่อให้มาตอบคำถามแทน อาจทำให้ดูมีพิรุธได้

2. ต้องไม่หงุดหงิด หากเจ้าหน้าที่เริ่มถามเยอะ ซึ่งบางครั้งเราอาจจะเจอเจ้าหน้าที่ ตม. ที่พูดจาไม่ค่อยดีหรือเสียงดังบ้าง นั่นอาจจะเป็นการทำงานของเขา ต้องอย่าหงุดหงิดตาม พยายามยิ้มแย้มไว้ ตอบคำถามและโชว์เอกสารต่างๆ แบบภาษาอังกฤษ ให้เจ้าหน้าที่ดู เช่น โปรแกรมทัวร์ รายการของฝาก บัตรเครดิต และเงินวอนพกติดตัว

ความจริงการผ่าน ตม. ในทุกประเทศก็ไม่ได้ยากอะไร คนเตรียมตัวไปเที่ยวจริงๆ ต้องตอบคำถามได้อยู่แล้วค่ะ และที่สำคัญ อย่าพยายามพูดภาษาเกาหลีกับเจ้าหน้าที่ ถ้าคุณไม่สามารถพูดได้จริงๆ

6. ฝึกภาษาอังกฤษสักนิด

ภาษาอังกฤษ คือ ภาษาสากลที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารกันทั่วโลก และแน่นอนว่าเมื่อคุณจะไป ทัวร์เกาหลี หรือเที่ยวต่างประเทศที่ไหนก็ตาม คุณจำเป็นต้องงัดสกิลภาษาอังกฤษที่สั่งสมไว้ออกมาใช้ เพื่อฟังและตอบคำถามเจ้าหน้าที่ตม. เป็นแค่พื้นฐานภาษาอังกฤษแบบง่ายๆ ถ้าถูกถามเป็นภาษาอังกฤษสำเนียงเกาหลีที่อาจจะฟังแล้วไม่เข้าใจก็ขอ Again please แต่ส่วนใหญ่ก็จะเป็นคำถามพื้นๆ อย่างที่ได้เกริ่นไปข้างต้น และประโยคที่ไม่ควรตอบที่สุดเลยก็คือ I don’t know หากฟังไม่ออกจริงๆ ก็ให้พูดไปว่า Sightseeing หรือ Tourist ไปเลยค่ะ


ขั้นตอนการตรวจคนเข้าเมือง ตม เกาหลี

การไม ประหย ดต อขนาดการผล ต ม อะไรบ าง
Credit : TanjalaGica / canva.com

หลังจากเตรียมตัวก่อนออกเดินทางมาแล้วว่าจะรับมือกับตม.เกาหลีอย่างไรบ้าง เรามาดูขั้นตอนการตรวจคนเข้าเมืองเมื่อถึงเกาหลีกันค่ะ สำหรับมือใหม่หัดเที่ยวจะได้เรียนรู้ไว้ก่อน จะได้ไม่ตื่นเต้น เพิ่มความมั่นใจให้เต็มร้อย ช่วยคลายกังวลเรื่องตม.เกาหลีกันค่ะ

เมื่อลงจากเครื่องแล้ว ก็เดินตามป้าย Arrivals ไปเรื่อยๆ บางสายการบินอาจจะไปลงอาคารที่ต้องนั่งรถไฟไปยังอาคารหลักเพื่อเข้าด่านตม.อีกที ใครมือใหม่ก็เดินตามๆ คนอื่นไปก็ได้ค่ะ จนไปถึง ตม. หรือ ด่านตรวจคนเข้าเมือง ให้เดินไปต่อแถวที่ช่อง Foreign Passenger เมื่อถึงคิวของเราก็ปฏิบัติตามขั้นตอนต่อไปนี้

1. ยื่นใบตม. หรือ Arrival Card ที่กรอกข้อมูลแล้วเรียบร้อย และพาสปอร์ต ให้กับเจ้าหน้าที่ ควรยิ้มและสบตา อย่าหลบสายตา และนิ่งเข้าไว้

2. เมื่อเจ้าหน้าที่เช็คพาสปอร์ตและเอกสารเรียบร้อยแล้ว อาจจะมีคำถามเล็กๆ น้อยๆ หรือบางคนก็อาจจะไม่โดนถามอะไรเลย เป็นคำถามทั่วๆ ไปอย่างที่เราได้ยกตัวอย่างไป เราก็ตอบด้วยความมั่นใจได้เลยค่ะ

3. จากนั้นเจ้าหน้าที่จะบอกให้เราวางนิ้วมือลงบนเครื่องเพื่อสแกนลายนิ้วมือ สำหรับเครื่องนี้บนหน้าจอจะมีภาษาไทยอยู่ด้วย ไม่ต้องห่วงว่าจะทำไม่ถูก จากนั้นเจ้าหน้าที่จะให้เรามองกล้องเพื่อทำการถ่ายภาพใบหน้า โดยจะต้องไม่สวมแว่น ไม่สวมหมวก ยิ้มมุมปากได้นิดหน่อย ห้ามเห็นฟัน และไม่ใช้โทรศัพท์มือถือในระหว่างการตรวจนะคะ

4. เมื่อเรียบร้อยแล้วเจ้าหน้าที่ก็ติดสติ๊กเกอร์การเข้าประเทศในพาสปอร์ตของเรา ซึ่งจะบอกรายละเอียดต่างๆ รวมถึงวันที่อนุญาตให้เราอยู่เกาหลีได้ถึงวันที่เท่าไหร่ แค่นี้ก็เป็นอันเสร็จพิธีด่านตรวจคนเข้าเมืองแล้วค่ะ

และนี่ก็เป็นคำแนะนำในการเตรียมตัวก่อนเผชิญหน้ากับ ตม เกาหลี และขั้นตอนการตรวจคนเข้าเมือง ที่พี่เห็ดนำมาเล่าสู่กันฟัง หวังว่าจะช่วยให้คุณ ผ่าน ตม.เกาหลี ได้ง่ายขึ้นนะคะ บอกเลยว่าไม่ได้ยากอย่างที่คิด แล้วไปสนุกกับการ ทัวร์เกาหลี ด้วยกันนะคะ 🙂