ข อกฎหมายการขอข อม ลข าวสารก บ อบต.ม กำหนดหร อไม

หัวหน้าส่วนราชการ

ข อกฎหมายการขอข อม ลข าวสารก บ อบต.ม กำหนดหร อไม

ส.ต.ท.สมพร พลลาภ

ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล

ข อกฎหมายการขอข อม ลข าวสารก บ อบต.ม กำหนดหร อไม

พ.จ.อ.สายชัน พันธ์ดงยาง

รองปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล

ข อกฎหมายการขอข อม ลข าวสารก บ อบต.ม กำหนดหร อไม

นายพนากรณ์ ประทุมขันธุ์

หัวหน้าสำนักปลัด

ข อกฎหมายการขอข อม ลข าวสารก บ อบต.ม กำหนดหร อไม

นางกานญาดา ทัพธานี

ผู้อำนวยการกองคลัง

ข อกฎหมายการขอข อม ลข าวสารก บ อบต.ม กำหนดหร อไม

นายวชิระ แก้วคนตรง

ผู้อำนวยการกองช่าง

ข อกฎหมายการขอข อม ลข าวสารก บ อบต.ม กำหนดหร อไม

น.ส.สุภาวดี ฉัตรจรัสกุล

ผู้อำนวยการกองการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ข อกฎหมายการขอข อม ลข าวสารก บ อบต.ม กำหนดหร อไม

น.ส.วรินทร นาสมใจ

ผู้อำนวยการกองส่งเสริมการเกษตร

ข อกฎหมายการขอข อม ลข าวสารก บ อบต.ม กำหนดหร อไม

นางสุภาพร ดวงประทุม

ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

ข อกฎหมายการขอข อม ลข าวสารก บ อบต.ม กำหนดหร อไม

น.ส.ไพวัลย์ เอื้อกิจ

ผู้อำนวยการกองสวัสดิการสังคม

ภาพกิจกรรมและผลงาน

ช่องทางการเข้าตอบแบบประเมินระดับการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (IIT) และภายนอก (EIT)

ข่าว / ประกาศ / ประชาสัมพันธ์

ประกาศจัดซื้อ จัดจ้าง

ประกาศราคากลาง

ประกาศผู้ชนะการเสนอราคา

รายงานรายรับ-รายจ่ายเงินงบประมาณขององค์การบริหารส่วนตำบลเขวา

ประกาศบัญชีรายการที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง

ประกาศเจตจำนงสุจริตของผู้บริหาร

ประกาศรับโอน (ย้าย) พนักงานส่วนตำบล

ประกาศผู้อำนวยการการเลือกตั้งประจำองค์การบริหารส่วนตำบลเขวา

ข อกฎหมายการขอข อม ลข าวสารก บ อบต.ม กำหนดหร อไม

ข อกฎหมายการขอข อม ลข าวสารก บ อบต.ม กำหนดหร อไม

ข อกฎหมายการขอข อม ลข าวสารก บ อบต.ม กำหนดหร อไม

เว็บไซต์ที่น่าสนใจ

ข อกฎหมายการขอข อม ลข าวสารก บ อบต.ม กำหนดหร อไม

ข อกฎหมายการขอข อม ลข าวสารก บ อบต.ม กำหนดหร อไม

มาตรา 66 องค์การบริหารส่วนตำบลมีอํานาจหน้าที่ในการพัฒนาตําบลทั้งในด้าน เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม มาตรา 67 ภายใต้บังคับแห่งกฏหมาย องค์การบริหารส่วนตําบล มีหน้าที่ต้องทําในเขต องค์การบริหารส่วนตําบล ดังต่อไปนี้

(๑) จัดให้มีและบํารุงรักษาทางน้ำและทางบก

(๒) รักษาความสะอาดของถนน ทางน้ํา ทางเดิน และที่สาธารณะ รวมทั้งกําจัดมูลฝอย และสิ่งปฏิกูล

(๓) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ

(๔) ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

(๕) ส่งเสริมการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

(๖) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ

(๗) คุ้มครอง ดูแล และบํารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

(๘) บํารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น

(๙) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ทางราชการมอบหมายโดยจัดสรรงบประมาณหรือบุคลากรให้ ตามความจําเป็นและสมควร มาตรา 68 ภายใต้บังคับแห่งกฏหมาย องค์การบริหารส่วนตําบลอาจจัดทํากิจการใน เขตองค์การบริหารส่วนตําบล ดังต่อไปนี้

4. การดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่ของกระทรวง ทบวง กรม หรือองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ ในอันที่จะดำเนินกิจการใด ๆ เพื่อประโยชน์ของประชาชนในตำบลต้องแจ้งให้ อบต. ทราบล่วงหน้าตามสมควร หาก อบต. มีความเห็นเกี่ยวกับการดำเนินกิจการดังกล่าว ให้นำความเห็นของ อบต. ไปประกอบการพิจารณา ดำเนินกิจการนั้นด้วย (มาตรา 69)

5. การปฏิบัติงานตามอำนาจหน้าที่ของ อบต. ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนโดยใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และให้คำนึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนา อบต. การจัดทำงบประมาณ การจัดซื้อจัดจ้าง การตรวจสอบ การประเมินผลการปฏิบัติงาน และการเปิดเผยข้อมูล ข่าวสาร ทั้งนี้ให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับว่าด้วยการนั้น และหลักเกณฑ์และวิธีการที่ กระทรวงมหาดไทยกำหนด (มาตรา 69/1)

6. มีสิทธิได้รับทราบข้อมูลและข่าวสารจากทางราชการในเรื่องที่เกี่ยวกับการดำเนินกิจการของทางราชการในตำบล เว้นแต่ข้อมูลหรือข่าวสารที่ทางราชการถือว่าเป็นความลับเกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงแห่งชาติ (มาตรา 70)

7. ออกข้อบัญญัติ อบต. เพื่อใช้บังคับในตำบลได้เท่าที่ไม่ขัดต่อกฎหมายหรืออำนาจหน้าที่ของ อบต. ในการจะกำหนดค่าธรรมเนียมที่จะเรียกเก็บและกำหนดโทษปรับผู้ฝ่าฝืนด้วยก็ได้แต่ให้กำหนดโทษปรับไม่เกิน 1,000 บาท เว้นแต่จะมีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น (มาตรา 71)

8. อาจขอให้ข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้าง ของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นไปดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติกิจการของ อบต. เป็นการชั่วคราวได้โดยไม่ขาดจากต้นสังกัดเดิม (มาตรา 72)

9. อาจทำกิจการนอกเขต อบต. หรือร่วมกับสภาตำบล อบต. อบจ. หรือหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นอื่นเพื่อกระทำกิจการร่วมกันได้ (มาตรา 73)

อำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542

1. มีอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง ดังนี้ (มาตรา 16)

  1. การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง
  2. การจัดให้มีและบำรุงรักษาทางบก ทางน้ำ และทางระบายน้ำ
  3. การจัดให้มีและควบคุมตลาด ท่าเทียบเรือ ท่าข้าม และที่จอดรถ
  4. การสาธารณูปโภคและการก่อสร้างอื่น ๆ
  5. การสาธารณูปการ
  6. การส่งเสริม การฝึก และประกอบอาชีพ
  7. การพาณิชย์ และการส่งเสริมการลงทุน
  8. การส่งเสริมการทอ่ งเที่ยว
  9. การจัดการศึกษา
  10. การสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวติ เด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส
  11. การบำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
  12. การปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดและการจัดการเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย
  13. การจัดให้มีและบำรุงรักษาสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ
  14. การส่งเสริมกีฬา
  15. การส่งเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสิทธิเสรีภาพของประชาชน
  16. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของราษฎรในการพัฒนาท้องถิ่น
  17. การรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบา้ นเมือง
  18. การกําจัดมูลฝอย สิ่งปฏิกูล และน้ำเสีย
  19. การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล
  20. การจัดให้มีและควบคุมสุสานและฌาปนสถาน
  21. การควบคุมการเลี้ยงสัตว์
  22. การจัดให้มีและควบคุม การฆ่าสัตว์
  23. การรักษาความปลอดภัย ความเป็นระเบียบเรียบร้อย และการอนามัย โรงมหรสพ และ สาธารณสถานอื่น ๆ
  24. การจัดการ การบำรุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากป่าไม้ ที่ดินทรัพยากรธรรมชาติ และ สิ่งแวดล้อม
  25. การผังเมือง
  26. การขนส่งและการวิศวกรรมจราจร
  27. การดูแลรักษาที่สาธารณะ
  28. การควบคุมอาคาร
  29. การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
  30. การรักษาความสงบเรียบร้อย การส่งเสริมและสนับสนุน การป้องกันและรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
  31. กิจการอื่นใดที่เป็นผลประโยชน์ของประชาชนในท้องที่ตามที่คณะกรรมการประกาศกำหนด

2. อำนาจหน้าที่ของ อบต. ตามข้อ 1 ต้องดำเนินการตาม “แผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนและการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น”